The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by surachai, 2021-10-27 08:52:26

สมศ.รอบ4

สมศ.รอบ4

รายงานการประเมนิ คุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR
ภายใตส้ ถานการณ์ COVID – 19

การศึกษาปฐมวัยและระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

รหสั สถานศกึ ษา ๑๐๓๒๖๕๐๒๘๖ โรงเรียนบ้านทมอ (เด่ือราษฎร์บำรุง)
สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๓

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
ระดับการศกึ ษาทเ่ี ปิดสอนระดบั ชัน้ อนบุ าลศึกษาปีที่ ๒ ถึงระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓

ตงั้ อยู่ท่หี มทู่ ี่ ๔ ตำบลทมอ อำเภอปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ รหัสไปรษณยี ์ ๓๒๑๔๐
โทรศัพท์ ๐๙๐ ๓๗๐๒๐๕๔

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา
(องค์การมหาชน)



ตอนที่ ๑
สรุปข้อมูลเกี่ยวกบั สถานศกึ ษา

(ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๔)

๑. ขอ้ มูลท่วั ไปของสถานศึกษา จำนวน หมายเหตุ

ประเภท ๒๕ ไม่ระบุในSAR
๑.๑ ข้อมูลผู้เรียน ๑๙๑ ไม่ระบุในSAR
จำนวนเดก็ ไม่ระบใุ นSAR
จำนวนผู้เรียน ๑
๑.๒ ข้อมลู บคุ ลากร ไมร่ ะบุในSAR
ผู้บริหารสถานศกึ ษา ๕ ไม่ระบุในSAR
ครปู ฐมวัย
ครปู ระถมศกึ ษา ๑
ครูมัธยมศกึ ษา ๑
บคุ ลากรสนบั สนนุ
อืน่ ๆ โปรดระบุ..อตั ราจ้าง ๒
๑.๓ จำนวนหอ้ ง ๖
หอ้ งเรียนปฐมวยั ๓
หอ้ งเรียนประถมศกึ ษา
หอ้ งเรยี นมัธยมศกึ ษา
หอ้ งปฏิบัติการ
หอ้ งพยาบาล
อนื่ ๆ โปรดระบุ.............

๒. สรปุ ข้อมูลสำคญั ของสถานศกึ ษา จำนวน หมายเหตุ

ประเภท ๑ : ... ไมร่ ะบุในSAR
๒.๑ การศกึ ษาปฐมวยั ๑ : ๑๓ ไมร่ ะบใุ นSAR
อตั ราสว่ น ครู ต่อ เดก็
อัตราสว่ น หอ้ ง ตอ่ เด็ก  ครบช้นั
 ไมค่ รบชั้น ในระดบั ชัน้ ......
จำนวนครคู รบชัน้
๑ : ... ไม่ระบุในSAR
๒.๒ ระดบั ประถมศึกษา
อตั ราสว่ น ครู ต่อ ผ้เู รยี น



ประเภท จำนวน หมายเหตุ
อตั ราสว่ น หอ้ ง ตอ่ ผู้เรยี น ๑ : .๑๗.๗ ไม่ระบุในSAR

จำนวนครู ครบชนั้  ครบช้ัน
 ไมค่ รบช้ัน ในระดบั ชัน้ ......
๒.๓ ระดบั มธั ยมศกึ ษา
อตั ราส่วน ครู ตอ่ ผเู้ รยี น ๑ : ........ ไม่ระบุในSAR
อตั ราส่วนผู้เรียน ต่อ ห้อง ๑ : ๓๐ ไม่ระบใุ นSAR

จำนวนครู ครบชั้น  ครบช้ัน
 ไมค่ รบชัน้ ในระดบั ชนั้ ......
๒.๔ รอ้ ยละของผู้สำเร็จการศึกษา
อนุบาลปที ี่ ๓ ไมร่ ะบุในSAR
ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ไม่ระบใุ นSAR
มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ไมร่ ะบุในSAR
มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ไมร่ ะบุในSAR
๒.๕ จำนวนวันท่สี ถานศึกษาจัดการเรียนการสอนจริง
ในปกี ารศกึ ษาท่ีประเมิน ไมร่ ะบุในSAR
การศกึ ษาปฐมวัย ไมร่ ะบุในSAR
ระดบั ประถมศกึ ษา ไมร่ ะบุในSAR
ระดับมัธยมศกึ ษา



ตอนที่ ๒
ผลการประเมนิ SAR รายมาตรฐาน และข้อเสนอแนะ

การพิจารณา ใหท้ ำเคร่ืองหมาย √ หนา้ ขอ้ ทีพ่ บขอ้ มูลใน SAR
ใหท้ ำเคร่ืองหมาย X หน้าข้อทไี่ มพ่ บขอ้ มลู ใน SAR

การศึกษาปฐมวยั

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็

จุดเนน้ เด็กมีพัฒนาการท่เี หมาะสมตามวัย

ผลการพจิ ารณา ตัวชวี้ ัด สรุปผลประเมนิ
o ปรบั ปรงุ (๐-๓ ข้อ)
✓ ๑. มกี ารระบเุ ปา้ หมายคุณภาพของเดก็ ปฐมวยั o พอใช้ (๔ ขอ้ )
✓ ดี (๕ ขอ้ )
✓ ๒. มีการระบวุ ธิ พี ฒั นาคณุ ภาพของเด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบ

ตามเป้าหมายการพัฒนาเด็กปฐมวยั

✓ ๓. มพี ฒั นาการสมวัยตามเปา้ หมายการพฒั นาเด็กปฐมวัย

✓ ๔. มกี ารนำผลประเมินคุณภาพของเด็กปฐมวัยมาพฒั นาเดก็

ปฐมวัยให้มพี ัฒนาการสมวยั

✓ ๕. มีการนำเสนอผลการประเมนิ คณุ ภาพของเดก็ ปฐมวยั ต่อผู้ที่

เกีย่ วข้อง

ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ด้ผลประเมนิ ระดับสูงขน้ึ
สถานศกึ ษาควรระบวุ ธิ ีการนำผลการประเมนิ ไปพัฒนาเดก็ ให้มพี ฒั นาการสมวยั ให้มคี วามชัดเจนยง่ิ ขน้ึ เช่น

คุณภาพของเด็กทสี่ ถานศึกษาได้ระบุถึงจดุ เดน่ จุดควรพฒั นา และแนวทางพัฒนาเพอ่ื ใหม้ ีคณุ ภาพที่สูงขน้ึ ควรระบุ
เป็นแผน โครงการ กิจกรรมที่ชัดเจน เพื่อที่สถานศึกษาจะได้เห็นผลพัฒนาการและเปรียบเทียบผลการพัฒนาได้
เด่นชัด เชน่ จดุ ควรพัฒนาของเด็กปฐมวยั วยั คือ การยนื ตรงเคารพธงชาติ การใช้คำพดู ขอบคุณ ขอโทษ การใชว้ าจา
สุภาพเหมาะสมกับวัย การพัฒนา ปลูกฝังในเรื่องสุขนิสัยที่ดี สถานศึกษาจึงได้ดำเนินแผนการปรับพฤติกรรมที่
พึงประสงค์ดังกล่าวด้วยการเสริมแรงทางบวกโดยอาจให้ครู หรือนักเรียนเป็นผู้กำหนดเกณฑ์การเสริมแรง หาก
ผ้เู รยี นสามารถปฏบิ ัติไดก้ ็จะไดร้ บั รางวลั เป็นคำพูด ส่งิ ของ กจิ กรรมท่ีชอบ เปน็ ตน้ เมือ่ ครบระยะเวลา ๑ ภาคเรียน
สถานศึกษารวบรวมข้อมูล สรุปผลเพื่อวางแผนในการพัฒนาในระยะต่อไป ทั้งนี้ควรระบุข้อความหรือกิจกรรม
การแก้ปัญหาผลการประเมินคุณภาพของเด็กปฐมวัยต่อผู้ที่เกี่ยวข้องให้มีความหลากหลาย เช่นการนำเสนอใน
การจัดประชมุ ผู้ปกครอง การเผยแพร่ทางเว็บไซต์ เฟซบคุ๊ แผ่นพบั ปา้ ยประกาศ หรอื ทางกลุ่มไลน์เป็นตน้



มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

จดุ เน้น หลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทง้ั ๔ ด้าน สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถ่ิน

ผลการพิจารณา ตวั ชว้ี ัด สรปุ ผลประเมิน
o ปรบั ปรุง (๐-๓ ขอ้ )
✓ ๑. มกี ารวางแผนการดำเนินการในแตล่ ะปีการศกึ ษา o พอใช้ (๔ ข้อ)
✓ ดี (๕ ข้อ)
✓ ๒. มีการนำแผนการดำเนินการไปใช้ดำเนนิ การ

✓ ๓. มีการประเมินผลสัมฤทธิข์ องการดำเนนิ การตามแผน

✓ ๔. มีการนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขในปี

การศึกษาตอ่ ไป

✓ ๕. มีการนำเสนอผลการบริหารจัดการของสถานศึกษาใหผ้ มู้ ีสว่ น

ไดส้ ว่ นเสียได้รับทราบ

ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมินระดบั สูงขน้ึ
สถานศึกษาควรมีการระบุข้อมูลในรายงานการประเมินตนเอง (SAR) เพิ่มเติมในประเด็น การพัฒนา

หลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นให้ชัดเจนทั้งปริมาณและคุณภาพใน
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ควรมีการประเมินผลการใช้หลักสูตร การปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
บริบทของท้องถิ่นอย่างตอ่ เน่อื ง จดั ให้มหี ลักสตู รท้องถนิ่ ท่ีเหมาะสมกับเด็ก จดั ทำโครงการปรบั ปรุงพัฒนาหลักสูตร
ปฐมวัย การส่งเสรมิ ครูให้มคี วามเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ที่นอกเหนือการเข้าอบรม เช่น การไปศึกษาดู
งาน การใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้กับโรงเรียนอื่นเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ควรมีการวางแผนยกระดับคุณภาพ
ของครู โดยจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการเร่ืองเทคนคิ วิธีการจัดประสบการณใ์ ห้เด็กมพี ฒั นาการอย่างต่อเน่ือง
โครงการพัฒนาจดั ทำแผนจดั ประสบการณ์ของครูอย่างมืออาชพี ส่งเสริมครูเข้ารว่ มอบรม สัมมนาพัฒนาวิชาชพี ท่ี
หน่วยงานเกีย่ วข้องจดั อย่างต่อเนือ่ ง โดยกำหนดไวใ้ นแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี ในการดำเนนิ โครงการหรือกิจกรรม
ควรระบุมีการวางแผน ดำเนินงานตามแผน ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการดำเนินการตามแผน สรุปผลการ
ดำเนินงานทกุ โครงการ/กิจกรรม และนำผลการประเมินไปปรบั ปรงุ ให้มีคุณภาพอย่างมีรอ่ งรอยหลักฐานท่ีชัดเจน
ยิ่งขึ้น และมีการนำเสนอผลการดำเนินงานต่อผู้เกี่ยวข้องในการประชุมครู ประชุมผู้ปกครองหรือการประชุม
คณะกรรมการสถานศึกษา และควรใช้การนำเสนอหลายรูปแบบหรอื หลายชอ่ งทาง เป็นต้น



มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เปน็ สำคัญ
จุดเนน้ การจัดประสบการณ์ที่เนน้ การพฒั นาเด็กอยา่ งสมวยั และเป็นรายบคุ คล

ผลการพจิ ารณา ตัวชี้วัด สรุปผลประเมนิ
✓ ๑. ครูมีการวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายปีครบ o ปรบั ปรงุ (๐-๓ ขอ้ )
✓ o พอใช้ (๔ ข้อ)
ทกุ หน่วยการเรียนรทู้ กุ ชน้ั ปี ✓ ดี (๕ ข้อ)
✓ ๒. ครูทุกคนมีการนำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ไปใช้ใน

✓ การจัดประสบการณ์โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและ
แหล่งเรียนร้ทู เี่ อือ้ ต่อการเรยี นรู้
๓. มีการตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั ประสบการณ์อย่างเปน็
ระบบ
๔. มีการนำผลการประเมินมาพฒั นาการจดั ประสบการณ์ของครู
อย่างเปน็ ระบบ
๕. มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรูแ้ ละใหข้ อ้ มลู ปอ้ นกลบั เพอ่ื พฒั นา
ปรับปรงุ การจดั ประสบการณ์

ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ด้ผลประเมนิ ระดับสงู ขนึ้
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลเพิ่มเติมในรายงานการประเมินตนเอง (SAR ) ให้ชัดเจนในประเด็น

จุดเน้น“การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัยและเน้นการพัฒนาเป็นรายบุคล ”
โดยระบุการวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายปีครบทุกหน่วยการเรียนรู้ทุกชั้นปี ระบุหน่วยการเรียนรู้
ระบุการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ สื่อ แหล่งเรียนรู้ ระบุวิธีการตรวจสอบประเมินผลการจัดประสบการณ์ที่
หลากหลายว่ามีการดำเนินการอย่างไร ระบุวิธีการพัฒนาเดก็ ตามโครงการกิจกรรมให้ชัดเจนระบขุ ้อมูลการนำผล
ประเมินมาพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือกิจกรรมให้เด็กมีคุณลักษณะให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องเดก็ ปฐมวยั มกี ารยกตวั อยา่ งกจิ กรรมการเรียนรู้ให้ชัดเจนเป็นรูปธรรม เช่น การจัดทำ
แผนจัดประสบการณ์แบบบูรณาการและส่งเสริมพัฒนาการตอบสนองการเรียนรู้ของเด็ก โดยใช้กิจกรรมหลัก ๖
กิจกรรม มีการนำแผนจัดประสบการณ์ไปใช้ นอกจากนี้ควรระบุการดำเนินกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือ
กิจกรรมการนเิ ทศ กจิ กรรมการให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลับเพื่อพฒั นาการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรูว้ ่ามกี ารดำเนินการเร่ือง
ใด ไดผ้ ลอยา่ งไร อกี ทัง้ ควรระบุวิธีการแจ้งผลการดำเนินการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูให้ผู้ปกครอง ชุมชน
ได้รับทราบผ่านการประชุมครู การประชุมผู้ปกครอง และการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา รวมทั้งผ่าน
เครือข่ายสังคมออนไลนท์ ่ีหลากหลาย เช่น เวบ็ ไซต์ แอปพลิเคชนั ตา่ ง ๆ (เฟซบุ๊ก,ไลน์) หรือนำเสนอผลการประเมิน
ตนเองใหต้ ้นสังกดั และผู้มสี ่วนเก่ียวขอ้ งได้รับทราบตอ่ ไป เปน็ ต้น



ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น

จุดเนน้ ผู้เรียนเปน็ ผู้รจู้ กั ใช้กระบวนการคิดและนำความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้

ผลการพิจารณา ตัวชีว้ ัด สรุปผลประเมิน

✓ ๑. มกี ารระบุเป้าหมายคุณภาพของผ้เู รียน o ปรบั ปรุง (๐-๓ ข้อ)

✓ ๒. มกี ารระบุวิธีพฒั นาคุณภาพของผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบตาม o พอใช้ (๔ ข้อ)

เปา้ หมายการพฒั นาผ้เู รียน ✓ ดี (๕ ข้อ)

✓ ๓. มีผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนตามเปา้ หมายการพฒั นาผู้เรยี น

✓ ๔. มีการนำผลประเมนิ คณุ ภาพของผู้เรียนมาพฒั นาผู้เรียน

ด้านผลสมั ฤทธิ์ให้สูงข้นึ

✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการประเมินคณุ ภาพของผเู้ รยี นตอ่ ผูท้ ี่

เกยี่ วขอ้ ง

ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ไดผ้ ลประเมินระดบั สงู ข้ึน
สถานศึกษาควรกำหนดแนวทางการพัฒนาเพื่อให้มีคุณภาพที่สูงขึ้น ให้สอดคล้องกับจุดที่ควรพัฒนาของ

ผู้เรียน เช่นจุดที่ควรพัฒนาของผู้เรียนคือผลการทดสอบระดับชาติในวิชาภาษาอังกฤษมีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าระดับ
ประเทศ และความสามารถด้านการส่อื สารภาษาอังกฤษของผู้เรียน สถานศึกษาจึงได้กำหนดแผน โครงการกจิ กรรม
ทส่ี ง่ เสริมทกั ษะภาษาอังกฤษของผู้เรียน เช่นกิจกรรม THAMO MORNING JA ใหน้ กั เรยี นแต่ละระดบั ช้ันได้ออกมา
พูดภาษาอังกฤษในกิจกรรมหลังเข้าแถวเคารพธงชาติตอนเช้า ระยะเวลา ๑ ปีการศึกษา เมื่อสิ้นสุด ดำเนินการ
ประเมินเด็ก และวางแผนในการจัดโครงการ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องในปีการศึกษาต่อไป เมื่อสิ้นสุดโครงการ
ควรนำเสนอขอ้ มูลผ่านชอ่ งทางออนไลน์ต่าง ๆ ท้ังทางเวบ็ ไซต์ เฟซบคุ๊ ของสถานศึกษา ไลน์กล่มุ ผปู้ กครอง ในการ
จัดประชมุ ผปู้ กครอง หรอื เผยแพร่ทาง แผ่นพับ ปา้ ยประกาศ เป็นต้น



มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

จดุ เน้น การบรหิ ารและการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ

ผลการพจิ ารณา ตัวชีว้ ัด สรปุ ผลประเมิน
o ปรบั ปรงุ (๐-๓ ขอ้ )
✓ ๑. มีการวางแผนการดำเนินการในแตล่ ะปกี ารศึกษา o พอใช้ (๔ ข้อ)
✓ ดี (๕ ข้อ)
✓ ๒. มกี ารนำแผนการดำเนนิ การไปใช้ดำเนินการ

✓ ๓. มีการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ขิ องการดำเนินการตามแผน

✓ ๔. มีการนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงแกไ้ ขในปี

การศึกษาตอ่ ไป

✓ ๕. มีการนำเสนอผลการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาใหผ้ มู้ ี

ส่วนได้สว่ นเสยี ไดร้ ับทราบ

ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ไดผ้ ลประเมนิ ระดบั สูงข้ึน
สถานศึกษาควรมีการระบขุ ้อมูลในรายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) เพิ่มเติมในประเดน็ จุดเน้น รูปแบบ

การบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ บรรยายขยายความเกี่ยวกับการที่โรงเรียนไดร้ ับรางวลั สถานศึกษาที่มี
ระบบกลไกการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา เพ่ือการประกนั คุณภาพ (IOA AWARD) ระดับยอด
เยี่ยม ประเภทสถานศึกษาขนาดเล็ก ระดับสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปี ๒๕๖๒ ซี่งเปน็
แบบอย่างใหแ้ ก่สถานศึกษาอื่น ๆ ได้ นำเสนอผลการบริหารจดั การของสถานศกึ ษาใหผ้ มู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี ไดร้ ับทราบ
ในการประชุมครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา นอกจากนี้ยังสามารถใช้การนำเสนอในรูปแบบอืน่ ๆ อีก
เป็นต้น และควรมีการจัดทำแบบอย่างที่ดี (Best Practice) หรือนวัตกรรม (Innovation) ด้านระบบสารสนเทศที่
เพอ่ื พฒั นาผ้เู รยี นโดยตรงในรปู แบบต่าง ๆ ให้ชดั เจนยงิ่ ขน้ึ



มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ
จุดเน้น การจดั กระบวนการเรียนร้ผู า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ และนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวันได้

ผลการพจิ ารณา ตัวชี้วัด สรปุ ผลประเมนิ

✓ ๑. ครมู ีการวางแผนการจดั การเรยี นรู้ครบทกุ รายวชิ าทุกชน้ั ปี o ปรบั ปรงุ (๐-๓ ข้อ)
✓ ๒. ครทู กุ คนมกี ารนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใชใ้ นการจดั การ o พอใช้ (๔ ข้อ)

เรยี นการสอนโดยใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่ง ✓ ดี (๕ ข้อ)
เรียนรทู้ ี่เออื้ ตอ่ การเรยี นรู้
✓ ๓. มกี ารตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรยี นการสอน
อย่างเปน็ ระบบ
✓ ๔. มกี ารนำผลการประเมนิ มาพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน
ของครูอยา่ งเป็นระบบ
✓ ๕. มีการแลกเปลย่ี นเรียนรูแ้ ละใหข้ อ้ มลู ป้อนกลับเพ่ือพัฒนา
ปรับปรงุ การจดั การเรียนการสอน

ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมินระดบั สูงข้ึน
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลเพิ่มเติมในรายงานการประเมินตนเอง (SAR ) ให้สะท้อนจุดเน้นให้ชัดเจนมาก

ยิ่งขึ้นในประเด็น “ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติจริง (Active learning)” โดยการวางแผนการจัดการ
เรียนรคู้ รบทุกรายวิชา ทุกชั้นปี และประเดน็ การตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอนอย่างเปน็ ระบบ
ว่ามีวิธีหรือขั้นตอนดำเนินการอย่างไร เช่น มีการประชุมปฏิบัติการเพื่อเตรียมการจัดการเรียนการสอน ที่เน้น
กระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นใน
ตนเอง ดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ัติจริง ระบสุ ่ือหรอื กจิ กรรมการเรียนรู้ทน่ี ำมาใช้ การทำโครงงานเพ่อื นำเสนอผลงานด้วย
ตนเอง การประกวดโครงงานของผู้เรียน กิจกรรมทัศนศึกษา เป็นต้น ระบุวิธีที่ครูผู้สอนใช้แนะนำ กระตุ้น หรือ
อำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ระบุวิธีการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินโครงการ กิจกรรม
และสรปุ ผลการดำเนินงานเพอ่ื สะท้อนใหเ้ หน็ วา่ ผ้เู รยี นมีการวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินคา่ จากสงิ่ ทไี่ ดร้ บั
จากกิจกรรมการเรยี นรู้ ระบุวิธีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ร่วมกันของครแู ล้วนำผลมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและ
ปรับปรุงแผนจัดการเรียนรู้ต่อไป มีการเผยแพร่ผลการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ ในการประชุมครูการ
ประชุมผู้ปกครอง และการประชุมกรรมการสถานศึกษา หรือผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่หลากหลาย เช่น
เว็บไซต์ แอปพลิเคชนั ต่าง ๆ (เฟซบกุ๊ , ไลน)์ เปน็ ตน้



ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม
สถานศกึ ษาควรมกี ารจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาระยะสั้น ระยะยาว และแผนปฏิบัติการประจำปี

การศึกษา โครงการหรือกิจกรรม หลักสูตรของสถานศึกษา แยกตามระดับการศึกษาที่เปิดสอนได้อย่างเหมาะสม
ชัดเจน และสามารถนำไปสู่การปฏบิ ตั ิไดจ้ ริง โดยจะต้องสอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนตามความสามารถของของ
แต่ละบุคคล เพื่อให้เห็นถึงพัฒนาการของผลการพัฒนาผู้เรียนที่เกิดขึ้น สถานศึกษาและครูผู้สอนควรนำเสนอผล
การจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบออนไลน์และเอกสาร เพื่อให้ผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือผู้ที่สนใจ มีช่องทางให้สามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าว รวมทั้งเอกสารอื่น ๆ
ทส่ี ถานศกึ ษาจัดทำเพื่อเผยแพร่ได้ง่ายข้ึน และควรมีการจดั ทำแนวทางรกั ษาผลการพฒั นาที่สงู ข้ึนที่เหมาะสม และ
อาจจะมีการจัดทำแบบอยา่ งที่ดี (Best Practice) หรอื นวตั กรรม (Innovation) ใหค้ รอบคลมุ ทกุ มาตรฐาน

สถานศึกษาควรเขียนรายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ในครั้งต่อไปใหม้ ีความสมบูรณ์ยิ่งข้ึน โดยมีข้อมลู
หลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนทั้งระดับปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน ข้อมูลบุคลากร ระบุจำนวน ครูปฐมวัย ครู
ประถมศึกษา ครูมัธยมศึกษาและบุคลากรสนับสนุนแยกให้ชัดเจน ระบุร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษา (อนุบาล ๓
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ และมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ) ระบจุ ำนวนวันที่สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอนจรงิ ในปที ่ีประเมินท้ัง
ปฐมวัย ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ระบุได้มีการเผยแพร่รายงานการประเมินตนเอง (SAR ) ให้ผู้เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการสถานศึกษา ต้นสังกัด ได้ทราบทั้งในรูปแบบออนไลน์ เอกสาร ช่องทางให้ผู้สนใจเข้าถึงข้อมูล เช่น
การจดั ทำลิงก์ หรอื QR Code ทเ่ี ชอ่ื มโยงกับฐานขอ้ มลู เป็นต้น

๑๐

คำรับรอง

คณะผปู้ ระเมนิ ขอรบั รองว่าได้ทำการประเมนิ SAR ตามเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพภายนอกของสำนักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ซึ่งตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกบน
ฐานความโปรง่ ใส และยตุ ธิ รรมทกุ ประการ ลงนามโดยคณะผูป้ ระเมินดงั นี้

ตำแหนง่ ชื่อ - นามสกลุ ลายมือชอ่ื
ประธานกรรมการ นางธนญั ญพฒั น์ ฤาชา
กรรมการ นางสาวศิริวฒั นาพร พรง้ิ เพราะ
กรรมการและเลขานกุ าร นางบวั กนก วัชรปรดี า

วันที่ ๑๙ เดือน กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๔

๑๑

๑๒


Click to View FlipBook Version