The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวังและแนวปฏิบัติของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลสระบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anuban Saraburi School, 2021-10-27 04:48:53

แผนเผชิญเหตุ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวังและแนวปฏิบัติของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลสระบุรี

Keywords: อนุบาลสระบุรี

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

บทนา

กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ (2563, น.1) ได้กล่าวว่าโรคโควิด คือ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
หรือ โรคโควิด 19 (Coronavirus Disesse 2019 (COVID-19)) เป็นตระกูลของไวรัสที่ก่อให้อาการป่วย ต้ังแต่
โรคไข้หวัดธรรมดาไปจนถึง โรคที่มีความรุนแรงมาก เช่น โรคระบบทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS-CoV)
โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS-CoV) เป็นสายพันธุ์ใหม่ท่ีไม่เคยพบมาก่อนในมนุษย์ ก่อให้เกิด
อาการป่วยระบบทางเดินหายใจในคนและสามารถแพร่เช้ือจากคนสู่คนได้โดย เชื้อไวรัสนี้พบการระบาดคร้ังแรก
ในเมืองฮ่ัน มณฑลหูเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงปลายปี 2019 หลังจากน้ันได้มีการระบาดไปท่ัวโลก
องค์การอนามัยโลกจึงต้ังช่ือการติดเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่น้ีว่า โรคโควิด 19 ซ่ึงอาการทั่วไปของผู้ป่วย
พบว่ามีอาการระบบทางเดินหายใจ มีไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจ ล้าบากเหนื่อย หอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส
ในกรณีท่ีอาการรุนแรงมาก อาจท้าให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดอักเสบ ไตวาย หรืออาจเสียชีวิต
โรคโควิด 19 การแพร่กระจายเช้ือพบว่าโรคชนิดน้ีมีความเป็นไป ได้ท่ีมีสัตว์เป็นแหล่ง รังโรค ส่วนใหญ่
แพร่กระจายผ่านการสัมผัสกับผู้ติดเช้ือผ่านละอองเสมหะลูก การไอ น้ามูก น้าลาย ปัจจุบัน ยังไม่มีหลักฐาน
สนับสนุนการแพร่กระจายเชื้อผ่านทางการพ้ืนผิวสัมผัสที่มีไวรัสแล้ว มาสัมผัส ปาก จมูกและตา สามารถแพร่เช้ือ
ผ่านทางเช้ือที่ถูกขับถ่ายออกมากับอุจจาระเข้าสู่อีกคนหนึ่งโดย ผ่านเข้าทางปาก (Feco-oral route)
ได้ด้วยการรักษาพบว่ายังไม่มียาส้าหรับป้องกันหรือรักษาโคโควิด 19 ผู้ที่ติดเช้ืออาจต้องได้รับการรักษา
แบบประคับประคองตามอาการ โดยอาการที่มีแตกต่างกัน บางคนรุนแรง ไม่มากลักษณะเหมือนไข้หวัดทั่วไป
บางคนรุนแรงมากท้าให้เกิดปอดอักเสบได้ ต้องสังเกตอาการใกล้ชิด ร่วมกับการรักษาด้วยการประดับ ประคอง
อาการจนกว่าจะพ้นอาการช่วงน้ันและยังไม่มียาตัวใดท่ีมี หลักฐานชัดเจนว่า รักษาโรคโควิด 19 ได้ โดยตรง
กลมุ่ เสย่ี งโดยตรงที่อาจสัมผัสกับเช้ือ ได้แก่ ผู้ที่เพ่ิงกลับ จากพ้ืนที่เสี่ยง สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยสงสัยติดเช้ือ กลุ่มเส่ียง
ที่ต้องระวัง หากติดเช้ืออาจมีอาการรุนแรง ได้แก่ ผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไป ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน
โลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ ภูมิแพ้ เด็กเล็ก อายุต่้ากว่า 5 ปี ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก (2563) ได้กล่าวถึง
วิธีป้องกันการติดเชือ้ ไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ใุ หม่ ดังนี้

1. หลกี เลย่ี งการใกลช้ ิดกบั ผู้ป่วยทม่ี อี าการไอ จาม น้ามูกไหล เหนอ่ื ยหอบ เจบ็ คอ
2. หลีกเลี่ยงการเดนิ ทางไปในพืน้ ที่เสี่ยง
3. สวมหน้ากากอนามยั ทกุ ครั้งเมอ่ื อยู่ในทส่ี าธารณะ
4. ระมัดระวังการสัมผัสพ้ืนผิวท่ีไม่สะอาด และอาจมีเชื้อโรคเกาะอยู่ รวมถึงส่ิงที่มีคนจับบ่อยครั้ง
เช่น ที่จับบน BTS, MRT, Airport Link ที่เปิด-ปิดประตูในรถ กลอนประตูต่าง ๆ ก๊อกน้า ราวบันได ฯลฯ เม่ือจับ
แล้วอย่าเอามือสัมผัสหน้า และข้าวของเคร่ืองใช้ส่วนตัวต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ กระเป๋า ฯลฯ ล้างมือ
ให้สม่้าเสมอด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจล อย่างน้อย 20 วินาที ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ไม่ต้่ากว่า 70%
(ไม่ผสมนา้ )
5. งดจับตา จมูก ปากขณะทไ่ี มไ่ ด้ลา้ งมือ

1

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

6. หลกี เลย่ี งการใกลช้ ดิ สัมผัสสตั วต์ ่าง ๆ โดยที่ไมม่ ีการปอ้ งกัน
7. รบั ประทานอาหารสกุ สะอาด ไมท่ านอาหารท่ีทา้ จากสัตว์หายาก
8. ส้าหรับบุคลากรทางการแพทย์หรือผู้ท่ีต้องดูแลผู้ป่วยที่ติดเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือ
โควิด-19 โดยตรง ควรใส่หน้ากากอนามัย หรือใส่แว่นตานิรภัย เพื่อป้องกันเช้ือในละอองฝอยจากเสมหะ หรือ
สารคดั หล่ังเขา้ ตา

วิธีปฏบิ ตั หิ ากมีอาการโควิด 19 หากมีอาการของโรคที่เกิดข้ึนเกิน 5 ข้อขึ้นไป ควรพบแพทย์ เพื่อท้าการ
ตรวจอย่างละเอียด และเมื่อแพทย์ซักถามควรตอบตามความเป็นจริง ไม่ปิดบัง ไม่บิดเบือน ข้อมูลใด ๆ เพราะจะ
เป็น ประโยชน์ต่อการวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้องมากท่ีสุด และหากเดินทางไปกลับจาก พ้ืนท่ีเส่ียง ควรกักตัวเองอยู่
แต่ในบา้ น ไมอ่ อกไปขา้ งนอกเป็นเวลา 14-27 วัน เพอ่ื ใหผ้ า่ นช่วงเชือ้ ฟักตัว (ให้แนใ่ จจริง ๆ วา่ ไม่ตดิ เชื้อ)

ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ก้าหนดแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียน ที่ ๒
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เพ่ือใช้
เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานส้าหรับเตรียมความพร้อมก่อนเปิด ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพ่ือสร้าง
ความม่นั ใจให้แก่นกั เรียน ผู้ปกครอง และประชาชนทวั่ ไป ให้เกิดความพร้อม ในดา้ นบริหารจัดการของหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องในทุกระดับ ส้าหรับบทบาทและภารกิจของโรงเรียนต้องด้าเนินการตามบริบทของพื้นที่ โดยค้านึงถึง
มาตรการความปลอดภัยด้านสุขภาพของครู นักเรียนและ ผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นส้าคัญ โรงเรียนอนุบาลสระบุรี ได้
ด้าเนินในส่วนต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของการเปิดภาค ผู้บริหารโรงเรียนและครูถือเป็น
กลไกหลกั ในการบรหิ ารจัดการ ทง้ั การเรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนและการด้าเนินการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างเปดิ ภาคเรียน

2

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

ส่วนที่ ๑

แนวปฏิบตั ิการเตรยี มการกอ่ น
เปดิ ภาคเรียน

3

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

สว่ นท่ี 1
แนวปฏิบัติการเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรียน

การเตรียมการก่อนการเปิดเรียน มีความส้าคัญอย่างมากเนื่องจากมีความเก่ียวข้องกับการปฏิบัติตน
ของนักเรียน ครู บุคลากร และผู้เก่ียวข้องทุกคนในสถานศึกษา เพ่ือป้องกันไม่ให้มีการติดเชื้อโรคโควิด ๑๙
(Covid-19) ตัดความเส่ียง สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความปลอดภัยแก่ทุกคน โรงเรียนอนุบาลสระบุรี
จึงก้าหนดใหม้ ีแนวปฏิบตั กิ ารเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรยี น ดงั นี้
การประเมนิ การเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปดิ เรยี น

โรงเรยี นอนบุ าลสระบุรี ไดป้ ระเมินตนเองเตรยี มความพร้อมกอ่ นเปดิ ภาคเรยี นตามแบบประเมินตนเองใน
รูปแบบของ Digital Platform ผ่านระบบ Thai Stop Covid Plas (TSC+) กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
เมื่อวนั ที่ 23 ตลุ าคม 2564 โดยมผี ลการประเมิน ผา่ นมาตรฐาน

4

แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

การเตรยี มการกอ่ นเปิดภาคเรียน

1. อาคารสถานที่
1.1 ขอความร่วมมือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ท้าความสะอาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องพักครู

ห้องสมดุ ห้องพิเศษอน่ื ๆ ห้องสา้ นักงาน และบรเิ วณโรงเรียนทั้งหมดดว้ ยน้ายาฆ่าเช้อื โรค
1.2 ปรบั ปรงุ ภมู ทิ ัศน์โดยรอบให้สะอาด ร่มรนื่ นา่ ดู นา่ อยู่ และนา่ เรียน

2. หอ้ งเรียน ห้องปฏิบตั กิ าร
2.1 จัด โต๊ะ เก้าอ้ี หรือท่ีนั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล โดยค้านึงถึงสภาพบริบทและขนาด

พน้ื ท่ี และจัดทา้ สญั ลกั ษณ์แสดงจุดตา้ แหน่งชดั เจน จดั ใหม้ ีการสลบั วันเรยี นแต่ละชนั้ เรียน การแบ่งจา้ นวนนักเรียน
หรือการใช้พื้นที่ใช้สอยบริเวณโรงเรียน ตามความเหมาะสม ทั้งนี้อาจพิจารณาวิธีปฏิบัติอื่นตามบริบทความ
เหมาะสม โดยยดึ หลัก Social distancing

2.2 ให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง ส้าหรับห้องท่ีมี
เคร่ืองปรับอากาศ ให้มีการกา้ หนดเวลาเปิด-ปิดเคร่ืองปรับอากาศ เปิดประตู หน้าต่าง ระบายอากาศทุก 1 ชั่วโมง
และท้าความสะอาดอยา่ งสมา้่ เสมอ

2.3 จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ท้าความสะอาดมือส้าหรับนักเรียนและครู ใช้ประจ้าทุกห้องเรียนอย่าง
เพยี งพอ

2.4 มีการท้าความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อุปกรณ์ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองใช้ เคร่ืองนอน เคร่ืองปรับอากาศ
พัดลม ฯลฯ ด้วยน้ายาฆ่าเช้ือโรคและจุดสัมผัสเส่ียง เช่น ลูกบิดประตู ของใช้ร่วมกัน ราวบันได เป็นต้น ก่อนเปิด
ภาคเรียน และระหว่างเปิดภาคเรียนอย่างน้อยวันละ 3 คร้ัง เช้าก่อนเรียน พักเท่ียง และหลังเลิกเรียน หรือกรณี
ย้ายหอ้ งเรยี น ตอ้ งทา้ ความสะอาดโตะ๊ เก้าอี้ กอ่ นและหลังใชง้ านทกุ ครง้ั

3. หอ้ งสมดุ
3.1 จัดโต๊ะ เก้าอ้ี หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1.5 เมตร และจัดท้า

สัญลักษณ์แสดงจดุ ต้าแหน่งชัดเจน โดยยดึ หลกั Social distancing
3.2 ให้มีการระบายอากาศท่ีดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หากจ้าเป็นต้องใช้

เคร่ืองปรับอากาศ ให้มีการก้าหนดเวลาเปดิ -ปดิ เครื่องปรับอากาศ เปิดประตู หน้าต่าง ระบายอากาศทุก 1 ชั่วโมง
และทา้ ความสะอาดอย่างสมา้่ เสมอ

3.3 จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ท้าความสะอาดมือส้าหรับครู บรรณารักษ์ นักเรียนและผู้ใช้บริการบริเวณ
ทางเข้าดา้ นหนา้ และภายในห้องสมุดอยา่ งเพยี งพอ

3.4 มีการท้าความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู ช้ันวางหนังสือทุกวัน
วันละ 2 ครง้ั เช้าก่อนให้บริการและพักเท่ยี ง

3.5 ติดประกาศแจ้งการจ้ากัดจ้านวนคนจ้ากัดเวลาในการเข้าใช้บริหารห้องสมุด ให้นักเรียนและ
ผู้ใชบ้ ริการทุกคนต้องสวมหนา้ กาผา้ หรือหน้ากากอนามัย ขณะใชบ้ ริการหอ้ งสมดุ ตลอดเวลา

5

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรยี นและแผนเผชญิ เหตุ

ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

4. หอ้ งประชมุ
4.1 ก้าหนดระเบยี บการใช้หอ้ งประชุม ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(COVID 19)
 จัดให้มีการคัดกรองตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้าห้องประชุม หากพบผู้มีอาการไข้ ไอ
มีน้ามูก เจ็บคอหายล้าบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไม่รู้รส แจ้งงดร่วมประชุมและแนะน้าให้ไป
พบแพทยท์ นั ที
 การจัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือท่ีนั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล 1 – 2 เมตร และจัดท้า
สญั ลักษณแ์ สดงจดุ ต้าแหน่งชดั เจน
 ผเู้ ข้าประชุมทกุ คนสวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั ขณะประชุมตลอดเวลา
 จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ท้าความสะอาดมือส้าหรับผู้เข้าประชุม บริเวณทางเข้าภายในอาคาร
หอ้ งประชุม บรเิ วณทางเขา้ ดา้ นหนา้ และด้านในของห้องประชมุ อยา่ งเพยี งพอและท่ัวถงึ
 งดหรอื หลกี เลยี่ งการใหบ้ รกิ ารอาหารและเครือ่ งดืม่ ภายในห้องประชุม

4.2 ให้มีการท้าความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเส่ียงร่วม เช่น ลูกบิดประตู อุปกรณ์สื่อ
ตา่ งๆ หลังใชห้ อ้ งประชมุ ทุกครง้ั
4.3 จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง ก่อนและหลังใช้ห้องประชุม
ทุกครั้ง หากจ้าเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ ให้มีการก้าหนดเวลาเปิด-ปิดเคร่ืองปรับอากาศ เปิดประตู
หน้าตา่ ง ระบายอากาศทุก 1 ช่วั โมง และท้าความสะอาดอย่างสม่า้ เสมอ

5. สนามเด็กเล่น ทมี่ ีอปุ กรณ์เคร่อื งเลน่
5.1 ให้มกี ารท้าความสะอาดเครื่องเล่นและอุปกรณ์การเล่นก่อนเปิดภาคเรียน และท้าทุกวันระหว่างเปิด

ภาคเรยี นอย่างน้อยวนั ละ 2 ครั้ง ทา้ ความสะอาดดว้ ยนา้ ยาทา้ ความสะอาด
5.2 ก้าหนดระเบยี บการเล่นเครอื่ งเลน่ และอุปกรณ์การเลน่ จดั ครูเวรดแู ลการเล่นของนกั เรียน
 ใหม้ ีการเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คลอยา่ งนอ้ ย 1 – 2 เมตร
 ก้ากับดูแลให้เด็กสวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามัยตลอดเวลาการเล่น
 จ้ากัดจ้านวนคน จ้ากัดเวลาการเล่นในสนามเด็กเล่น โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของครูเวร
ในช่วงเวลาพักเท่ยี งและหลงั เลิกเรยี น
 ใหน้ กั เรียนล้างมือด้วยสบ่แู ละนา้ หรือเจลแอลกอฮอล์ ก่อนและหลงั การเล่นทุกครง้ั

6. ห้องน้าห้องส้วม
6.1 จัดเตรียมอุปกรณ์ท้าความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ น้ายาท้าความสะอาด ถุงขยะ ถังน้า ไม้ถูพ้ืน

ผา้ เช็ดท้าความสะอาด ถุงมือ เปน็ ตน้
6.2 ท้าความสะอาดห้องน้า ห้องส้วม อย่างน้อย วันละ 2 คร้ัง ด้วยน้ายาท้าความสะอาด บริเวณจุด

สัมผสั เสีย่ งทา้ ความสะอาดดว้ ยน้ายาฆ่าเช้อื มีสบู่ลา้ งมือเพือ่ ให้นักเรยี นลา้ งหลังใช้หอ้ งน้าห้องสว้ ม
6.3 หลังท้าความสะอาด ซักผ้าท้าความสะอาดและไม้ถูพื้น ด้วยน้าผสมผงซักฟอกหรือน้ายาฆ่าเชื้อแล้ว

ซกั ด้วยนา้ สะอาดอีกครัง้ แล้วน้าไปผึ่งแดดให้แหง้

6

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

7. หอ้ งพยาบาล
7.1 ท้าความสะอาดเตยี งและอุปกรณ์ของใช้ทุกวัน ปลอกหมอน ผา้ ห่ม ผา้ ปทู ่นี อน จดั หามาส้ารอง

ส้าหรบั เปลี่ยนทันทกี ่อนทจี่ ะมผี ปู้ ่วยใหม่มานอน ไม่มีการใช้ซ้า
7.2 จดั เตรยี มเจลแอลกอฮอลใ์ หท้ า้ ความสะอาดมอื บริเวณทางเข้าประตูและภายในห้องพยาบาลอย่าง

เพียงพอ
7.3 จัดเตรยี มอุปกรณ์คัดกรอง เชน่ เคร่ืองมือวัดอุณหภูมิร่างกาย
7.4 แยกถงั ส้าหรบั ขยะอนั ตรายและถังส้าหรับขยะทั่วไป เพือ่ ความสะอาดปลอดภยั และมกี ารสง่ ทา้ ลาย

ขยะที่ถูกวิธี

8. โรงครวั และสถานทีป่ ระกอบอาหาร
8.๑ มีมาตรการอย่างเข้มงวดในเร่ืองอุปกรณ์ภาชนะในการรับประทานอาหาร การท้าความสะอาดอย่าง

ชัดเจน เช่น หลังจากการล้างภาชนะควรมีการน้าไปตากแสงแดดให้แห้งสนิท เพ่ือเป็นการฆ่าเชื้อโรคและจัดเก็บ
อย่างมิดชิด

8.๒ วัตถุดิบในการท้าอาหารจะต้องมีความสดใหม่ และปรุงสุก ถูกสุขลักษณะและท้าความสะอาดอย่าง
เคร่งครัดกอ่ นนา้ มาปรงุ อาหาร

8.๓ แม่ครัว ผ้ชู ว่ ยแมค่ รวั ลูกจ้างเขน็ อาหาร และล้างถาด ต้องใส่หน้ากากอนามัย และถุงมือ ตลอดเวลา
ในขณะปฏบิ ตั ิงาน

8.๔ ทา้ ความสะอาดโต๊ะและเก้าอี้ พื้นท่ีประกอบอาหารด้วยนา้ ยาฆ่าเชอ้ื ท้ังก่อนและหลังประกอบอาหาร
8.๕ มีมาตรการการท้ิงขยะ การคัดแยกขยะอย่างชัดเจน เช่น ขยะเปียก ขยะแห้ง และมีการก้าจัดขยะ
อยา่ งถูกวิธีหลังเลิกเรยี นในทุกๆ วนั
8.๖ จัดครูเวรตรวจสอบคณุ ภาพอาหาร และความสะอาดตามหลกั สุขาภิบาลทุกวนั
8.๗ จัดครู/เจ้าหน้าที่คอยดูแลอ้านวยความสะดวกในการกดน้าดื่มจากตู้ เน้นการเว้นระยะห่างทางสังคม
ในการรับบรกิ าร

9. จุดคดั กรอง เคร่อื งมือ อปุ กรณป์ ้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019

9.1 โรงเรียนก้าหนดจุดคัดกรองครอบคลุมทุกจุดที่มีการเข้า – ออก ส้าหรับนักเรียน ผู้ปกครองหรือผู้มา
ตดิ ตอ่

9.2 จัดห้องกักตัว (ห้องคลินิกภาษาอังกฤษ) และห้องพยาบาลเพื่อรองรับนักเรียนกรณีนักเรียนผ่านจุด
คัดกรองแล้วมีไข้ หรือเกิดการเจ็บป่วย และมอบหมายครูประจ้าช้ันเพ่ือเป็นท่ีปรึกษากรณีนักเรียนเกิดความ
วติ กกงั วลเกย่ี วกับการระบาดของเช้ือโรคไวรสั โคโรนา 2019

9.3 จดั เตรียมอุปกรณ์ท่จี ดุ คัดกรอง เช่น เครอื่ งวัดอณุ หภมู ิรา่ งกาย เจลแอลกอฮอล์ส้าหรับล้างมือ ส้ารอง
หน้ากากอนามัย (กรณมี กี ารรอ้ งขอจากนกั เรยี น ครู บคุ ลากร ผู้มาติดตอ่ ลมื น้าของสว่ นตวั มา)

7

แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

9.3 จัดเตรียม จัดหา วัสดุ อุปกรณ์ น้ายาฆ่าเชื้อโรค เจลแอลกอฮอล์ สบู่เหลว และเคร่ืองวัดอุณหภูมิ
ร่างกาย ให้เพียงพอพร้อมใช้งานกับนักเรียนทุกคน ทุกห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ ตลอดท้ังจัดเตรียมหน้ากาก
อนามยั และ Face Shield ส้ารองประจ้าทุกหอ้ งเรยี น
10. ครู นกั เรียน บคุ ลากร และผู้ท่ีเก่ียวข้อง

1. มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ความรู้ การป้องกันโรคโควิด 19 ประชุมช้ีแจงแนวปฏิบัติในการเปิดเรียน
ชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) ให้ครแู ละบคุ ลากรได้ทราบ

2. ครแู ละบคุ ลากรของโรงเรียนทุกคน ได้รบั การฉีดวัคซีนป้องกันเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
ครบโดส

3. ครูและบุคลากรของโรงเรียนทกุ คน ตรวจคดั กรอง ATK ในวันแรกของการเปดิ ภาคเรียน
4. นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 ทีม่ อี ายุ ๑๒ ปเี ขา้ รับการฉีดวัคซนี Pfizer ตามทรี่ ฐั บาลกา้ หนด
5. ระหว่างภาคเรียน ใหม้ ีการสมุ่ ตรวจ ATK ครู นักเรยี น และบุคลากรที่เก่ยี วข้อง เพื่อเฝ้าระวงั การตดิ
เชือ้ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19)
6. เชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา ได้แก่ ผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากร ผู้แทนกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้แทนสมาคมผู้ปกครองและครู ผู้แทนผู้ปกครอง ให้ค้าแนะน้า เสนอแนะ แนวทาง
มาตรการ และรปู แบบการบรหิ ารจัดการเรยี นการสอนเพื่อเตรียมความพร้อมรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในวันเปิดภาคเรียน ตลอดท้ังเสนอแนะ แนวทาง มาตรการ แก้ไข
ปญั หา อุปสรรคต่างๆ ที่อาจจะเกิดขน้ึ จนกวา่ สถานการณ์เข้าสู่ภาวะปกติ

8

แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

ส่วนที่ 2

แนวปฏบิ ตั ิ
ระหว่างเปดิ ภาคเรียน

9

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

ส่วนที่ 2
แนวปฏิบตั ริ ะหวา่ งเปดิ ภาคเรียน

โรงเรียนอนุบาลสระบุรีปฏิบัติตามมาตรการระหว่างเปิดเรียนตามที่กระทรวงสาธารณสุขและ
กระทรวงศึกษาธิการก้าหนดให้ครอบคลุมทุกมิติอย่างเคร่งครัด เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โดยค้านึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษาสูงสุด
โรงเรยี นอนุบาลสระบุรีแนวปฏบิ ตั ริ ะหว่างเปิดเรียน ดงั น้ี

กรณเี ปิดเรียนไดต้ ามปกติ (Onsite)

๑. สถานศกึ ษาผ่านการประเมนิ TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมนิ ผลผ่าน MOE Covid
2. ท้ากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเล่ียงการท้ากิจกรรม ข้ามกลุ่มและจัดนักเรียน
ในห้องเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘) ไม่เกิน ๒๕ คน หรือจัดให้เว้นระยะห่างระหว่างนักเรียนในห้องไม่น้อยกว่า ๑.๕
เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวัด
3. จัดระบบการให้บริการอาหารส้าหรับนักเรียน ครูและบุคลากรใน สถานศึกษาตามหลักมาตรฐาน
สุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิ เช่น การจัดซ้ือจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุงประกอบ
อาหารหรือ การสั่งซื้ออาหารตามระบบน้าส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและ ต้องมีระบบตรวจสอบทาง
โภชนาการก่อนนา้ มาบรโิ ภค ตามหลกั สุขาภบิ าล อาหารและหลักโภชนาการ
๔. จัดการด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยส่ิงแวดล้อม ในการป้องกันโรคโควิด
๑๙ ในสถานศึกษาไดแ้ ก่ การระบายอากาศภายใน อาคาร การทา้ ความสะอาดคณุ ภาพน้าดืม่ และการจดั การขยะ
๕. ให้นักเรียนท่ีมีความเส่ียงแยกกักตัวในสถานศึกษา (School Isolation) และมีการซักซ้อมแผนเผชิญ
เหตุ รองรบั การดูแลรักษาเบื้องต้น กรณี นักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีผลการตรวจพบเชื้อโรคโควิด
๑๙ หรือผล ATK เป็นบวกโดยมีการซกั ซอ้ มอย่างเคร่งครดั
๖. ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น
โดยหลกี เล่ียงการเขา้ ไปสัมผสั ในพนื้ ทต่ี า่ ง ๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง
๗. ให้จัดให้มี School Pass ส้าหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วยข้อมูล
ผลการประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วัน และประวตั ิการรบั วคั ซนี ตามมาตรการ

10

แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

กรณโี รงเรียนไม่สามารถเปิดเรยี นไดต้ ามปกติ

การจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
ซง่ึ หากกสถานศกึ ษาไม่สามารถเปดิ เรียนได้ตามปกติ เพื่อใหผ้ ู้เรียนได้รบั การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โรงเรียนนอนุบาล
สระบุรีจะเลือกรูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning )โดยพิจารณารูปแบบให้มี ความ
เหมาะสม และความพร้อมของสถานศกึ ษา ดงั น้ี

1) การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) คือการเรียนรู้ท่ีใช้สื่อวีดิทัศน์การเรียนการสอนของ มูลนิธิ
การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ตง้ั แตช่ ้ันอนุบาลปที ่ี ๑ ถงึ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

๒) การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) การจัดการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ตและ
แอปพลิเคช่ัน การจัดการเรียนการสอนแบบน้ี ส้าหรับครูและนักเรียนที่มีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์เช่น
คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต โทรศพั ท์ และมกี ารเชือ่ มตอ่ สญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็

๓) การเรียนผ่านหนังสือ เอกสารและใบงาน (ON Hand) การจัดการเรียนการสอนในกรณีที่ นักเรียน
มีทรัพยากรไม่พร้อมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบข้างต้น โดยโรงเรียนจัดท้าแบบฝึกหัด หรือให้การบ้าน
ไปท้าทบ่ี า้ น อาจใช้รว่ มกบั รูปแบบอน่ื ๆ ตามบรบิ ทของทอ้ งถนิ่

4) การจัดการเรียนการสอนแบบ (ON Demand) คือการเรียนรู้ผ่านทางเว็บไซต์ DLTV
(www.dltv.ac.th) หรือช่อง YouTube (DLTV Channel 1-15) และแอปพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟน หรือ
แท็บเล็ต

แนวปฏิบตั ิสาหรบั ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติในแผนปฏิบัติเตรียมความพร้อมในการป้องกันการแพร่ ระบาดของ
โรคโควดิ 19 ของสถานศึกษา

2. แต่งต้ังคณะกรรมการขับเคล่ือนการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID - 19) ปกี ารศึกษา 2564 ระดบั สถานศกึ ษา

3. ประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตามการประเมินผล
ผ่าน MOE Covid

4. สื่อสาร ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคโควิด 19 เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และ การจัด
การเรียนการสอนให้แก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผ่าน ช่องทางสื่อที่
เหมาะสมและติดตามขอ้ มูลขา่ วสารท่เี กยี่ วข้องกับโรคโควิด 19 จากแหลง่ ข้อมลู ท่ีเช่อื ถอื ได้

5. สนับสนุนให้นกั เรยี น ครูและบคุ ลากรไดร้ ับวคั ซนี ครบโดส ต้ังแตร่ อ้ ยละ 85 ข้นึ ไป
6. สนับสนุนให้มีการตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) ตามมาตรการของภาครัฐ 9) สนับสนุน
ส่งเสริม ให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองประเมินตนเองผ่าน Thai Save Thai (TST)
ตามเกณฑจ์ า้ แนกเขตพ้นื ทกี่ ารแพรร่ ะบาด

11

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

7. มีมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณทางเข้าไปในสถานศึกษา (Point of entry) ให้แก่ นักเรียน
ครูและบุคลากร ผู้มาติดต่อ โดยจัดให้มีพ้ืนท่ีแยก อุปกรณ์การป้องกัน เช่น หน้ากากผ้าหรือ หน้ากากอนามัย เจล
แอลกอฮอลอ์ ย่างเพยี งพอ

8. พิจารณาการจัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ เหมาะสมตามบริบท อย่าง
ต่อเน่อื ง สามารถตรวจสอบ ติดตาม กรณนี ักเรียนขาดเรียน ลาป่วย ตลอดจนการปิดสถานศึกษา หรือ การจัดให้มี
การเรยี นทางไกล สอื่ ออนไลน์ การติดตอ่ ทางโทรศัพท์ Social media โดยตดิ ตามเปน็ รายวนั หรือสปั ดาห์

9. กรณีพบนกั เรยี น ครู บคุ ลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเส่ียงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามาใน สถานศึกษาให้
รีบแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพ้ืนที่ เพื่อด้าเนินการสอบสวนโรคและพิจารณาปิด สถานศึกษาตามแนวทางของ
กระทรวงสาธารณสขุ

10. มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม ตามสิทธิท่ีควรได้รับ กรณีพบอยู่ใน
กลุ่มเส่ยี งหรือกกั ตวั

11. ควบคุม ก้ากับ ติดตาม และตรวจสอบการด้าเนินการตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาด ของโรค
โควิด19 ในสถานศกึ ษาอย่างเคร่งครดั และตอ่ เนือ่ ง

12. มีการจัดหางบประมาณส้าหรับจัดซ้ือวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันโรคติดเช้ือโควิด 19 ให้กับนักเรียน ครู
บุคลากรตามความจ้าเปน็ และเหมาะสม

13. เย่ียมบ้าน สร้างขวัญก้าลังใจนักเรียน ทั้งนักเรียนที่มาเรียนแบบปกติ และที่ไม่สามารถมาเรียน
แบบปกตไิ ด้

แนวปฏบิ ัติของครูและบคุ ลากร

1. ร่วมก้าหนดแนวปฏิบัติในแผนปฏิบัติเตรียมความพร้อมเพ่ือการป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคโควิด
19 ของสถานศึกษา

2. ติดตามขอ้ มูลขา่ วสารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค พื้นท่เี สย่ี ง ค้าแนะน้าการป้องกัน ตนเองและ
ลดความเสีย่ งจากการแพร่กระจายของเช้อื โรคโควิด 19 จากแหลง่ ข้อมูลทีเ่ ช่ือถอื ได้

3. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจบ็ คอ หายใจล้าบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กล่ิน
ไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด 19 หรือกลับจาก
พื้นทเี่ สี่ยงและอยใู่ นชว่ งกกั ตัว ให้ปฏิบัติตามค้าแนะน้าของเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุขอยา่ ง เครง่ ครดั

4. แจ้งผู้ปกครองและนักเรียน ให้น้าของใช้ส่วนตัวและอุปกรณ์ป้องกันมาใช้เป็นของตนเอง เช่น ช้อน
ส้อม แก้วน้า แปรงสฟี ัน ยาสฟี นั ผา้ เช็ดหนา้ หนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั เปน็ ตน้

5. ส่ือสารความรู้ ค้าแนะน้าหรือจัดหาสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเสี่ยงจากการ
แพร่กระจายโรคโควิด 19 ใหแ้ กน่ กั เรียน เชน่ สอนวธิ ีการลา้ งมือท่ถี ูกต้อง การสวมหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กาก

12

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

อนามัย คา้ แนะน้าการปฏิบตั ติ วั การเว้นระยะหา่ งทางสังคม การท้าความสะอาด หลีกเล่ยี งการทา้ กจิ กรรม ร่วมกัน
จา้ นวนมากเพือ่ ลดความแออัด

6. ทา้ ความสะอาดส่อื การเรียนการสอนหรืออุปกรณ์ของใช้ร่วมท่เี ปน็ จุดสัมผัสเส่ยี งทุกครั้งหลงั ใชง้ าน

7. ควบคุมดูแลการจัดที่นั่งในห้องเรียน ระหว่างโต๊ะเรียน ท่ีนั่งในโรงอาหาร การจัดเว้น ระยะห่าง
ระหว่างบุคคลอยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร หรือเหล่ือมเวลาพักกินอาหารกลางวัน และก้ากับให้ นักเรียน สวมหน้ากาก
ผ้าหรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาและลา้ งมอื บอ่ ย ๆ

8. ตรวจสอบ ก้ากับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุ่มเสี่ยง
ตอ่ การติดโรคโควดิ 19 และรายงานตอ่ ผบู้ รหิ ารทราบเพือ่ หาแนวทางดา้ เนินการแก้ไขปัญหาตอ่ ไป

9. ท้าการตรวจคัดกรองสุขภาพทุกคนท่ีเข้ามาในสถานศึกษาในตอนเช้า ท้ังนักเรียน ครู บุคลากร
ผู้ปกครองและผู้มาติดต่อโดยใช้เคร่ืองวัดอุณหภูมิร่างกาย ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ กรณีพบนักเรียนหรือผู้มี
อาการมีไข้ อุณหภูมิร่างกายต้ังแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่าง
หนึง่ จัดให้อยู่ในพ้นื ท่ีแยกสว่ น ใหร้ ีบแจง้ ผู้ปกครองมารับ และพาไปพบแพทย์ ให้หยุดพักท่ีบ้านจนกว่าจะหายเป็น
ปกติ พร้อมแจ้งเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขเพ่ือประเมิน สถานการณ์และด้าเนินการสอบสวนโรคและแจ้งผู้บริหารเพื่อ
พจิ ารณาการปิดสถานศกึ ษาตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุขบนั ทึกผลการคัดกรองและส่งต่อประวัติการป่วย
ตามแบบบันทกึ การตรวจสุขภาพ จัดอปุ กรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้ทุก
หอ้ งเรยี นและหอ้ งปฏิบัตกิ าร สบูล่ ้างมอื บริเวณอ่างล้างมือ

10. ครูส่ือสารความรู้เกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติท่ีเกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติท่ีมี
การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และน้ากระบวนการการจัดการความเครียด การฝึกสติให้กลมกลืน และ
เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัย ร่วมกับการฝึกทักษะชีวิตที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ (Resilience) ให้กับ
นกั เรียน ไดแ้ ก่ ทักษะชวี ติ ดา้ นอารมณ์ สังคม และความคดิ เปน็ ต้น

11. กรณีครูสังเกตพบนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม เช่น เด็กสมาธิส้ัน เด็กท่ีมีความวิตกกังวลสูง อาจมี
พฤตกิ รรมดดู นิ้ว หรือกัดเล็บ ครสู ามารถติดตามอาการและนา้ เข้า ขอ้ มูล ท่ีสงั เกตพบในฐานข้อมูล ด้าน พฤติกรรม
อารมณส์ ังคมของนกั เรียน เพ่ือให้เกดิ การดูแลช่วยเหลือร่วมกับผู้เชยี่ วชาญ ดา้ นสุขภาพจิตต่อไป

12. ครสู งั เกตอารมณค์ วามเครียดของตวั ท่านเอง เนื่องจากภาระหน้าท่ีการดูแลนักเรียนจ้านวน มากและ
ก้ากับให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดโรคโควิด 19 เป็นบทบาทส้าคัญ อาจจะสร้าง ความเครียดวิตกกังวล
ทง้ั จากการเฝา้ ระวังนกั เรยี น และการปอ้ งกันตวั ท่านเองจากการสัมผัสกับเช้ือโรค ดังน้ัน เมื่อครูมีความเครียด จาก
สาเหตตุ ่าง ๆ มีขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี

12.1 ความสับสนมาตรการของสถานศึกษาที่ไม่กระจ่างชัดเจน แนะน้าให้สอบถามกับ ผู้บริหาร
หรอื เพือ่ นรว่ มงาน เพ่อื ให้เขา้ ใจบทบาทหนา้ ที่และข้อปฏิบตั ทิ ่ตี รงกนั

12.2 ความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในสถานศึกษา พูดคุยส่ือสารถึงความไม่สบายใจ ร้อง
ขอสิ่งจ้าเป็นส้าหรับการเรียนการสอนท่ีเพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคโควิด 19 เช่น สถานที่ สื่อการสอน
กระบวนการเรียนรู้ การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น หากท่านเป็นกลุ่มเสี่ยง มีโรคประจ้าตัวสามารถ เข้าสู่
แนวทางดูแลบุคลากรของสถานศกึ ษา

13

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรยี นและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

12.3 จัดให้มีการจัดการความเครียด การฝึกสติเป็นกิจวัตรก่อนเร่ิมการเรียนการสอนเพื่อลด
ความวติ กกงั วลต่อสถานการณท์ ต่ี งึ เครียดนี้

แนวปฏบิ ตั ิของนกั เรยี น

1. ติดตามข้อมลู ข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พน้ื ท่ีเส่ยี ง คา้ แนะน้าการป้องกัน ตนเองและ
ลดความเสีย่ งจากการแพรก่ ระจายของเชอ้ื โรคโควดิ 19 จากแหล่งขอ้ มูลท่เี ช่อื ถือได้

2. สงั เกตอาการป่วยของตนเอง หากมอี าการไข้ ไอ มีน้ามูก เจบ็ คอ หายใจล้าบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลิ่น
ไม่ร้รู ส รบี แจ้งครูหรอื ผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควดิ 19 หรือกลับจากพื้นท่ี
เสีย่ งและอยใู่ นช่วงกกั ตัว ให้ปฏบิ ัตติ ามคา้ แนะนา้ ของเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุขอย่าง เครง่ ครัด

3. มีและใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้ร่วมกับผู้อ่ืน เช่น ช้อน ส้อม แก้วน้า แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดหน้า
หนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั และท้าความสะอาดหรือเกบ็ ใหเ้ รยี บรอ้ ยทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน

4. กรณีนักเรียนดื่มน้าบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และท้าเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์เฉพาะ ไม่ให้
ปะปนกบั ของคนอน่ื

5. หม่ันล้างมือบ่อย ๆ ด้วยวิธีการล้างมือ 7 ขั้นตอน อย่างน้อย 20 วินาที ก่อนกินอาหาร หลังใช้ส้วม
หลีกเล่ียงใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จ้าเป็น รวมถึงสร้างสุขนิสัยท่ีดีหลังเล่นกับเพื่อน เม่ือกลับมาถึง
บ้าน ต้องรีบอาบน้า สระผม และเปล่ยี นเส้อื ผา้ ใหม่ทนั ที

6. เวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการท้ากิจกรรมระหว่างเรียน ช่วงพัก และหลัง
เลกิ เรียน เช่น นัง่ กนิ อาหาร เล่นกบั เพ่อื น เขา้ แถวต่อควิ ระหว่างเดินทางอยู่บนรถ

7. สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในสถานศึกษา และหลีกเล่ียงการไปใน สถานที่ที่
แออัดหรอื แหลง่ ชมุ ชนทเ่ี สยี่ งตอ่ การตดิ โรคโควดิ 19 หากมีความจา้ เปน็ ควรสวมหนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั

8. ดแู ลสุขภาพให้แข็งแรง ด้วยการกินอาหารปรุงสุก ร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผัก ผลไม้ 5 สี
เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ให้ผู้ปกครองจัดเตรียมอาหารเช้าแทนการมาซ้ือท่ีบริเวณหน้าโรงเรียน รวมถึงออกก้าลังกาย
อย่างน้อย 60 นาที ทุกวัน และนอนหลับอยา่ งเพยี งพอ 9 - 11 ช่ัวโมงตอ่ วัน

9. กรณีนักเรียนขาดเรียนหรือถูกกักตัว ควรติดตามความคืบหน้าการเรียนอย่างสม้่าเสมอ ปรึกษา ครู
เช่น การเรียนการสอน ส่ือออนไลน์ อา่ นหนงั สอื ทบทวนบทเรยี น และท้าแบบฝกึ หัดที่บา้ น

10. หลีกเลย่ี งการล้อเลียนความผดิ ปกติ หรอื อาการไมส่ บายของเพอ่ื นท่ีไดร้ ับผลกระทบ เน่ืองจากอาจจะ
ก่อให้เกิดความหวาดกลัวมากเกินไปต่อการป่วยหรือการติดโรคโควิด 19 และเกิดการแบ่งแยกกีดกันในหมู่
นักเรยี น

14

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

แนวปฏิบตั ิของผปู้ กครองนกั เรียน

1. ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พ้ืนที่เสี่ยง ค้าแนะน้า การป้องกัน
ตนเองและลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรคจากแหล่งข้อมูลทเ่ี ช่ือถือได้

2. ตรวจวัดไข้นักเรียนก่อนมาโรงเรียนด้วยปรอทวัดไข้ ถ้ามีอาการไข้ ไม่สบาย จาม มีน้ามูก หายใจ
เหนอ่ื ยหอบ หรือสงสัย ให้แจ้งครูประจ้าช้ันทราบในช่องทางต่างๆ ได้แก่ ระบบบริหารโรงเรียน (School Bright),
Line หรอื โทรศพั ท์ และนา้ นักเรยี นพบแพทย์ หรือเข้ารับการตรวจในสถานพยาบาลต่อไป จนกว่าจะไม่มีอาการจึง
ใหน้ ักเรยี นมาโรงเรยี นได้

3. เตรยี มอาหารเช้า ใหน้ กั เรียนรบั ประทานกอ่ นมาโรงเรยี น หลกี เลี่ยงการมาซ้ืออาหารหนา้ โรงเรียน เพอื่
ลดความแออดั

4. จดั เตรยี ม และตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน หน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์แบบพกพา Face Shield
(ถา้ มี) และน้าดื่ม ใหก้ บั นักเรียนทุกวนั ท่มี าเรียน

5. การเดินทางมาโรงเรียนของนักเรียน
5.๑) นกั เรยี นเดินทางโดยรถรบั จ้าง เช่น รถตู้ หรอื รถบัสโดยสาร โรงเรียนประสานผู้ปกครอง ขอ

ความร่วมมือกับคนขับรถให้รับนักเรียนไม่เกินร้อยละ ๗๐ ของจ้านวนที่น่ังให้ใส่หน้ากากอนามัย ทุกคร้ัง
ขณะ ขับรถ ท้าความสะอาดรถ เบาะที่นั่ง ก่อนรับนักเรียนในช่วงตอนเช้า และส่งนักเรียนในช่วงตอนเย็น
อยา่ งเครง่ ครัด โดยทางโรงเรยี นจะประสานเจ้าหนา้ ทีต่ า้ รวจ และโรงพยาบาลสระบุรีมาแนะน้าการปฏิบัติ
เพอ่ื รว่ มป้องกนั การแพรเ่ ชอ้ื ใหก้ บั คนขับรถหรือเจ้าของรถต่อไป

5.๒) ผู้ปกครองมาส่งด้วยตัวเองด้วยรถยนต์ส่วนตัว ให้จัดเตรียมกระเป๋านักเรียน และอื่นๆ ที่
เกีย่ วขอ้ งให้พร้อมที่จะลงรถได้ทนั ที และก้าชับให้บุตร-หลานใส่หน้ากากอนามัยก่อนลงรถ โดยจะมีครูเวร
และอาสาจราจรคอยรบั และอา้ นวยความสะดวก โรงเรยี นก้าหนดมาตรการขอความร่วมมือจากผู้ปกครอง
ช้ันอนุบาลปีท่ี ๒ ท่ีโรงเรียนอนุญาตให้เข้ามาส่งบุตร-หลาน ในโรงเรียนได้ให้ใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้ง
ทีม่ าสง่ นกั เรียน และท้าตามกฎระเบียบของโรงเรียน ได้แก่ ผ่านจุดคัดกรอง (Point of entry) รับการติด
สติก๊ เกอรแ์ สดงผา่ นการคัดกรอง และใหเ้ ม่ือส่งเสรจ็ แลว้ ให้รีบกลบั โดยเร็ว เพื่อลดการแออัด โดยให้ปฏิบัติ
เนน้ ระยะหา่ งทางสงั คม (Social Distancing) อยา่ งเครง่ ครัด

5.๓) เม่ือนักเรียนเดินทางถึงโรงเรียน กรณีที่ผู้ปกครองมาส่งท่ีโรงเรียน และมีความประสงค์ขอ
เข้าบริเวณโรงเรียน (นอกเหนือจากชั้นอนุบาลปีท่ี ๒) แจ้งเหตุผลความจ้าเป็นกับครูเวรประจ้าวัน หรือ
ยาม เม่อื ได้รับอนุญาตแล้วให้ผ่านจุดคัดกรอง (Point of entry) จะได้รับ การติดสต๊ิกเกอร์แสดงผ่านการ
คัดกรอง และให้ท้าภารกิจให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว โดยให้ปฏิบัติเน้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing)
อยา่ งเคร่งครดั
๖. หลีกเล่ียงการพานักเรียนไปในสถานเส่ียงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) สถานท่ี
แออัดที่มีการรวมกันของคนจ้านวนมาก หากจ้าเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ
๗ ขัน้ ตอน ด้วยสบู่และน้านาน ๒๐ วนิ าที หรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์

15

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

7. กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการ ดูแล
จัดการเรยี นการสอนแก่นักเรยี น เช่น การสง่ การบ้าน การร่วมทา้ กจิ กรรม เป็นตน้

แนวปฏบิ ตั กิ ารดูแลดา้ นอนามัยและส่ิงแวดล้อมของโรงเรียนในระหว่างเปดิ ภาคเรยี น

1. เมื่อมาถึงโรงเรียนนักเรียนต้องใส่หน้ากากอนามัย เดินเป็นแถวผ่านประตูโรงเรียน (Point of entry)
ประตูท่ี ๑ และประตูที่ ๒ ซึ่งจะมีประตูละ ๓ ช่องทาง คุณครูเวรประจ้าวันด้าเนินการตรวจคัดกรอง โดยเดินผ่าน
ตามจุดที่มีการเว้นระยะ ตามทางเดิน จุดท่ี ๑ ตรวจวัดอุณหภูมิ และจุดที่ ๒ ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์
และแสกนคิวอาร์โคด้ หรอื ลงทะเบยี นก่อนเข้าโรงเรียน

ท้ังน้ีขณะท้าการคัดกรองหากพบนักเรียนมีอาการไข้ จาม มีน้ามูก หายใจเหน่ือยหอบ ให้กักตัวไว้
ในสถานท่ที ่ีจดั เตรียมไว้ (หอ้ งคลนิ กิ ภาษาองั กฤษ) ประสานงานแจ้งผู้ปกครองรบั นกั เรยี นกลับไปพบแพทย์

2. เมื่อผ่านจุดคัดกรองแล้ว นักเรียนสามารถเดินไปยังห้องเรียนได้เอง ยกเว้น นักเรียนชั้นอนุบาลปีท่ี ๒
อนุญาตใหผ้ ูป้ กครองทผี่ ่านการคดั กรองและมีสต๊ิกเกอร์แสดงการคดั กรองเข้ามาส่งนักเรียนได้ และเม่ือส่งเรียบร้อย
แล้วใหร้ ีบกลับทนั ที

3. ขา้ ราชการครู และบุคลากร ท่ีขับรถยนต์ส่วนตัวมาในช่วงเช้า ให้เข้าประตูด้านข้าง (ซอยวัดดาวเสด็จ)
ประตจู ะเปดิ -ปิด เวลา ๐๖.๔๕ - ๐๗.๔๕ น. ส่วนตอนเย็นจะเปิด - ปิด เวลา ๑๖.๔๕ - ๑๗.๓๐ น. และเม่ือมาถึง
สถานท่ีสแกนเวลาปฏิบัติงาน ให้ตรวจวัดไข้ก่อน แล้วจึงสแกนเวลาปฏิบัติงาน ถ้ามีไข้ ไม่สบาย จาม มีน้ามูก
หายใจเหนื่อยหอบ หรอื สงสัย ใหก้ ลับบ้านได้

กรณีครูชาวตา่ งชาติ ซ่งึ เดนิ ทางกลับประเทศตนเองในช่วงปิดภาคเรียน และเป็นประเทศท่ีอยู่ในกลุ่มเส่ียง
เมื่อเดินทางกลบั มาตอ้ งผา่ นกระบวนการการคัดกรอง การเฝ้าระวงั และการกักตวั ของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยมี
หลกั ฐานเอกสารมายืนยันกบั ทางโรงเรยี นก่อน จึงอนญุ าตใหท้ ้าการสอนได้

หมายเหตุ ประตูใหญ่ ประตูท่ี ๑ จะปิดช่วงเช้านักเรียนเข้ามาโรงเรียนถึงเวลา ๐๘.๑๕ น. และช่วงหลัง
เลิกเรียนเวลา ๑๔.๓๐ - ๑๗.๓๐ น. จะเปิดเวลา ๐๘.๑๕ - ๑๔.๓๐ น. โดยผู้ท่ีจะน้ารถยนต์เข้ามาต้องผ่านจุด
คัดกรอง (Point of entry) ก่อน ทั้งน้ีโรงเรียนอนุญาตให้ผู้ปกครองน้ารถยนต์เข้ามารับบุตร-หลานได้ หลังเวลา
๑๘.๐๐ น. เป็นตน้ ไป

4. กจิ กรรมหน้าเสาธง โรงเรยี นสามารถจดั กจิ กรรมหน้าเสาธง ได้หลายรปู แบบแล้วแต่สถานการณ์ ดงั น้ี
๔.๑ จัดนักเรียนเข้าแถว และมีกิจกรรมหน้าเสาธงตามปกติ แต่ต้องมีมาตรการเว้นระยะทาง

สงั คม (Social Distancing)
๔.๒ จัดนักเรยี นเขา้ แถวบนถนน แตต่ อ้ งมีมาตรการเวน้ ระยะทางสงั คม (Social Distancing)
๔.๓ ให้นักเรียนเข้าแถว ท่ีโต๊ะเรียนในห้องเรียน โดยดูและร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงผ่านโทรทัศน์

วงจรปิด หรือให้นักเรียนเข้าแถว หน้าห้องเรียน มีกิจกรรมหน้าเสาธงผ่านทางเครื่องขยายเสียง เน้นเว้นระยะห่าง
ทางสงั คม (Social Distancing)

16

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ

ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

๕. การจัดสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรยี น และหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร
๕.๑. จัดห้องเรียนโดยมโี ต๊ะเรยี น จา้ นวนไม่เกนิ ๒๐ - ๒๕ ตวั โดยแต่ละตัวให้มีการเว้นระยะห่าง

ทางกายภาพ ตามสภาพของห้อง ถ้ามีความจ้าเป็นที่จะต้องจัดโต๊ะเรียนมากกว่าที่ก้าหนด ต้องมีมาตรการป้องกัน
เพิม่ เตมิ ไดแ้ ก่ บนโต๊ะเรียนต้องมีฉากพลาสตกิ ใสกน้ั ใส่ Face Shield เป็นตน้

๕.๒ ท้าความสะอาดห้องเรียน โต๊ะเรียน และเก้าอ้ีทุกครั้งด้วยน้ายาฆ่าเช้ือ ท้ังก่อนเรียน
พักกลางวัน และหลงั เรียน โดยมีการบนั ทึกขอ้ มลู อยา่ งเคร่งครัด

๕.๓ ตั้งจดุ วางเจลแอลกอฮอล์ลา้ งมอื ในห้องเรยี น (บริเวณโต๊ะครู หรอื จุดท่เี ห็นสมควร)
๕.๔ ขณะท้าการสอน ครูผู้สอน และนักเรียนต้องใส่หน้ากากอนามัย หรือ Face Shield
ตลอดเวลา
๕.๕ ใหน้ กั เรียนเล่ียงการยมื สิ่งของต่างๆ เชน่ อปุ กรณก์ ารเรียนและของเล่นจากเพอื่ น
๕.๖ งดการสมั ผสั ร่างกายซ่งึ กันและกันในทกุ กรณี

๖. การใชห้ ้องนา้ โรงเรยี น
๖.๑ มีครูและเจ้าหน้าที่คอยดูแลนักเรียนในการใช้ห้องน้าเป็นระยะๆ ทั้งในช่วงเวลาเรียนและ

นอกเวลาเรยี น
๖.๒ ใหน้ ักเรียนสลับกันใช้ห้องน้า ตามความเหมาะสมของโรงเรียน โดยรอคิวและมีจุดเว้นระยะ

อย่างชัดเจน โดยโรงเรยี นเตรียมสบู่เหลววางไวบ้ ริเวณอา่ งลา้ งมอื หรอื ตามจดุ ท่ีก้าหนด
๖.๓ มีมาตรการในการท้าความสะอาด ฆ่าเช้ือ และบันทึกเวลาในการท้าความสะอาดห้องน้า

ทุกๆ ชั่วโมง โดยมอบหมายครูเวรประจ้าวนั แม่บา้ น ลกู จ้างประจ้า ลกู จ้างชวั่ คราว ดา้ เนินการอยา่ งเครง่ ครัด
๗. การล้างมือของนกั เรียน
เนน้ ให้นักเรียนล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่เหลว ท้ังก่อนและหลังการรับประทานอาหาร หลังการเข้า

หอ้ งน้า และก่อนกลับบา้ น จนติดเป็นนสิ ยั ครูต้องสอนนกั เรยี นล้างมือโดยเน้นวิธีการล้างมือ ๗ ข้ันตอน ๒๐ วินาที
ของกรมอนามยั โดยโรงเรยี นจัดเตรียมไว้ตามจดุ ต่างๆอยา่ งทัว่ ถึง

๘. การรับประทานอาหารกลางวัน
๘.๑ นักเรียนโครงการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สูตรกระทรวงศกึ ษาธิการเปน็ ภาษาองั กฤษ

(English Program) รับประทานอาหารท่ีโรงอาหารโดยเหลื่อมเวลาเป็น ๓ รอบ ดังน้ี รอบท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี ๑/๘-๒/๘ เวลา ๑๑.๑๐ น. รอบท่ี ๒ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓/๘-๔/๘ เวลา ๑๑.๓๐ น. และรอบที่ ๓
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๕/๘-๖/๘ เวลา ๑๑.๕๐ น. เนน้ ระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing) อย่างเคร่งครดั

๘.๒ นักเรยี นโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑/๗ -
๔/๗ รบั ประทานอาหารกลางวันทห่ี อ้ งเรยี น ส่วนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๕/๗ และ ๖/๗ รับประทานอาหารกลางวัน
ทชี่ น้ั ล่าง อาคารนลิ ุบล เนน้ ระยะหา่ งทางสงั คม (Social Distancing) อยา่ งเคร่งครัด

๘.๓ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๒ - ๓ เหลื่อมเวลาการรับประทานอาหารกลางวันท่ีโรงอาหารของ
ปฐมวัย ดังนี้ รอบท่ี ๑ ชั้นอนุบาลปีที่ ๒ เวลา ๑๐.๓๐ น.- ๑๑.๓๐ น. และรอบท่ี ๒ ช้ันอนุบาลปีท่ี ๓ เวลา
๑๑.๓๐ น.- ๑๒.๐๐ น. เน้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) อย่างเครง่ ครัด

๘.๔ นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ - ๖ หอ้ งเรียนปกติ รับประทานอาหารกลางวันที่ห้องเรียน
เน้นระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing) อยา่ งเคร่งครัด

17

แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

๘.๕ นักเรียนใช้ชอ้ น สอ้ ม และแกว้ นา้ ส่วนตวั
๘.๖ ท้าความสะอาดโต๊ะและเกา้ อ้ที ่รี บั ประทานอาหาร หลังรับประทานอาหารทุกคร้งั

9. การใช้บริการรา้ นคา้ สวสั ดิการโรงเรียน
9.๑ จดั ทา้ จุดสัญลักษณก์ ารใชบ้ รกิ ารเวน้ ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing)
9.๒ นกั เรียนเขา้ แถวรบั บรกิ ารเวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม (Social Distancing) อยา่ งเคร่งครดั
9.๓ ให้นักเรียนเข้าไปใช้บริการในจ้านวนที่ไม่แออัดจนเกินไป หรือนักเรียนแจ้งรายการสินค้า

แล้วให้ผูข้ ายหยบิ สนิ คา้ ให้ ทงั้ นแี้ ลว้ แตส่ ถานการณ์ในเวลาน้ันๆ เน้นเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing)
และลดความแออดั (Reducing)

9.๔ เมื่อนักเรยี นใช้บริการแลว้ ใหล้ า้ งมอื ด้วยเจลแอลกอฮอลท์ รี่ า้ นคา้ สวัสดิการได้เตรียมไว้
9.๕ ผู้ขายต้องใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลา และล้างมือด้วยเจลแอลกอฮลเ์ ปน็ ระยะๆ

๑0. อปุ กรณก์ ารแปรงฟันและแกว้ นา้ ส่วนตวั
10.๑ ครูประจา้ ช้นั จัดระเบยี บการเวน้ ระยะในการจดั วางอุปกรณ์
10.๒ งดการใชข้ องรว่ มกันของนักเรียนและหลงั รับประทานอาหารกลางวัน
10.๓ ครูประจ้าช้นั /ครเู วรประจา้ วัน น้านักเรียนแปรงฟนั โดยเน้นการเว้นระยะหา่ งทางสงั คม

๑1. การนอนของนักเรยี นปฐมวัย
11.๑ จดั ห้องนอนให้มีอากาศถ่ายเท เวน้ ระยะหา่ งทางสังคม
๑1.๒ งดใช้เครอ่ื งปรบั อากาศ
๑1.๓ ครูประจ้าชั้น/ครูพี่เลี้ยง ก้ากับไม่ให้นักเรียนเล่นกันขณะนอน (นักเรียนถอดหน้ากาก

อนามยั )

๑2. การมารับนักเรียนกลับบา้ น
๑2.๑ ผู้ปกครองนกั เรียนช้นั อนุบาลปีท่ี ๒ - ๓ ให้เขา้ ประตู ๒ ผา่ นจุดคดั กรอง (Point of entry)

ของโรงเรียน โดยครูเวรประจ้าวัน หรือพ่ีเล้ียง ท้าหน้าท่ีคัดกรอง ผู้ปกครองรับนักเรียน ณ จุดรับ–ส่งท่ีแต่ละสาย
ช้ันก้าหนด เมือ่ รับแล้วให้รีบกลบั ทนั ที

๑2.๒ ผู้ปกครองนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๔ ให้เข้าประตู ๑ และ ๒ ตามอาคาร
ทบ่ี ตุ ร – หลานเรยี น ผา่ นจุดคัดกรอง (Point of entry) ของโรงเรียน โดยครูเวรประจ้าวัน ติดต่อครูประจ้าช้ันทาง
Line หรือโทรศัพท์ แจง้ ใหน้ กั เรียนลงมาจากห้องเรียนพบผูป้ กครองและเดนิ ทางกลบั ทนั ที

๑2.๓ นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ – ๖ ตดิ ตอ่ กบั ผปู้ กครองโดยตรง
๑2.๔ ในกรณที นี่ ักเรยี นมาเรยี นวนั เว้นวนั โรงเรยี นปล่อยนักเรียนกลับบ้านโดยมีการเหล่ือมเวลา
ระหว่างนักเรียนช้ันปฐมวัย กับนักเรียนช้ันประถมศึกษา โดยชั้นปฐมวัย เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. ส่วนช้ัน
ประถมศึกษา เวลา ๑๖.๓๐-๑๗.๓๐ น. ทางเข้า ๑ ช่องทาง และทางออก ๑ ช่องทาง ส่วนในกรณีท่ีเปิดเรียนเต็ม
รปู แบบ โรงเรียนปลอ่ ยนกั เรียนกลับบ้านโดยมีการเหลอ่ื มเวลา ระหว่างนักเรยี นช้ันปฐมวยั กบั นกั เรยี น

18

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

ชั้นประถมศกึ ษา โดยชั้นปฐมวัย เวลา ๑๕.๐๐-๑๗.๐๐ น. ส่วนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1-๒ เวลา ๑5.๓๐-๑6.๓๐ น.
และชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓-6 เวลา ๑๖.๓๐-๑๗.๓๐ น. ทางเข้า ๑ ช่องทาง และทางออก ๑ ช่องทาง

หมายเหตุ ในช่วงระยะเวลาท่ีมารับนักเรียน นักเรียนอาจจะหิว เนื่องจากเลิกเรียนเวลา ๑๖.๓๐ น.
ขอใหผ้ ปู้ กครองไดเ้ ตรยี มอาหารหรือของว่างให้นักเรียน หลีกเล่ียงการซ้ืออาหารบริเวณหน้าโรงเรียน เพื่อลดความ
แออดั (Reducing)

๑3. การทาความสะอาดห้องเรียนและอาคารเรยี น
ก้าหนดมาตรการการท้าความสะอาดหอ้ งเรียน และอาคารเรียน ๓ เวลา คือ ชว่ งเช้ากอ่ นเรยี น

พักกลางวัน และหลังเลิกเรียน เมื่อท้าความสะอาดหลังเลิกเรียนแล้วต้องปิดอาคารเรียน และไม่อนุญาตให้ข้ึน
อาคารเรยี น

๑4. การสื่อสารทาความเข้าใจเพื่อลดการรังเกียจและลดการตีตราทางสังคม (Social stigma) กรณี
อาจพบบคุ ลากรในสถานศกึ ษา นักเรยี น หรือผ้ปู กครองติดเชือ้ โควดิ ๑๙ โดยครูส่ือสารความรู้เก่ียวกับความเครียด
ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติท่ีมีการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ และกระบวนการจัดการ
ความเครียด การฝึกสมาธิให้มีสติเหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัย พูดคุยส่ือสารถึงความไม่สบายใจ เพื่อลดความ
วิตกกังวล ร่วมกับการฝึกทักษะชีวิตที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ (Resilience) ให้กับนักเรียน ได้แก่ ทักษะ
ชีวิตด้านอารมณ์ สังคม และความคิด เป็นต้น ส่วนครูและบุคลากรอาจจะมีความเครียด วิตกกังวล เน่ืองจาก
ภาระหน้าที่ที่จะต้องจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์ท่ีไม่ปกติแล้ว ยังต้องควบคุม ดูแล ก้ากับนักเรียนจ้านวน
มาก ให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ตลอดท้ังต้องป้องกันตนเองจากการสัมผัสเช้ือโรค
ดังนั้น ครูและบุคลากรทุกคนต้องศึกษาและท้าความเข้าใจรูปแบบ มาตรการ และแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนตรงกัน
ฝึกการบริหารจัดการความเครียดในรูปแบบต่างๆ และถ้ายังไม่ดีขึ้นให้ปรึกษาแพทย์ด้วยตนเอง หรือทางโทรศัพท์
สายด่วนสุขภาพจติ ๑๓๒๓ ตอ่ ไป

19

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นและแผนเผชิญเหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

ส่วนที่ 3

แนวทางการจดั การเรยี นการสอน
ในสถานศึกษาการแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019

(COVID 19)

20

แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

ส่วนที่ ๓
แนวทางการจดั การเรียนการสอนในสถานศกึ ษาการแพร่ระบาด

ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19)

การเตรยี มความพร้อมการจัดการเรียนการสอนในวนั เปดิ ภาคเรียน

๑. ให้ข้าราชการครู เตรียมการจัดท้าเอกสารงานธุรการประจ้าช้ันเรียน จัดเตรียมห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ จัดเตรียมท้าข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน เพ่ือวางแผนการจัดการเรียนการสอนทางไกลหรือ
ออนไลน์ หรอื วิธกี ารอื่นๆ ตามทีเ่ หน็ สมควร โดย นกั เรียนทกุ คนต้องไดเ้ รยี นอย่างเทา่ เทยี มกัน

2. ประชุมหัวหน้าสายชั้น หัวหน้าโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็น
ภาษาอังกฤษ (English Program) และห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มอบนโยบายไปประชุม
ปรึกษาหารือ ระดมความคิดเพ่ือวางแผน และก้าหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายตามบริบทและความพร้อมของ
นกั เรียน โดยครอบคลุมนักเรยี นทุกคน ตลอดทัง้ จัดทาตารางเรียนพรอ้ มท่จี ะจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในวัน
เปดิ เรียนในทุกกรณีได้ทันที โดยหากไม่สามารถมาเรียน On-site เต็มรูปแบบได้ ตารางเรียนให้เน้น ๕ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ส่วนอีก ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ จัดการเรียนการสอนแบบ
บรู ณาการ และสอนเสริม โดยให้แตล่ ะสายช้ันรว่ มกันออกแบบตารางเรยี นตามบรบิ ท และความเหมาะสม

3. ให้งานวัด และประเมินผลฯ จัดท้าข้อมูลนักเรียนรายห้องเรียนให้เป็นปัจจุบันส่งถึงครูประจ้าชั้น
ให้เร็วที่สุด เพื่อประสานงานเข้าร่วมกลุ่ม Line และวิธีการอื่นๆ สะดวกต่อการติดต่อสื่อสาร และประสานงาน
ในเรอื่ งตา่ งๆ

4. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการวัดและประเมินผลฯ ซึ่งประกอบด้วยวิชาการสายชั้น และ ICT
สายชั้น เพื่อจัดท้าข้อมูลนักเรียน โครงสร้างเวลาเรียน ตารางเรียน รหัสวิชา และหน่วยกิต ลงในระบบบริหาร
School Bright พร้อมใช้ในวนั เปดิ ภาคเรยี น

5. จัดท้าแบบส้ารวจความพร้อมของผู้ปกครอง นักเรียน ในกรณีท่ีจ้าเป็นจะต้องเรียนทางไกล
และออนไลน์ และน้าข้อมูลที่ได้ให้ครูประจ้าช้ัน และครูประจ้าวิชา ได้จัดการเรียนรู้บนพื้นฐาน นักเรียนทุกคน
ต้องได้เรยี นอย่างเทา่ เทียมกนั ตามบรบิ ทของแต่ละคน

6. แต่งต้ังคณะกรรมการขับเคล่ือนการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ระดับสถานศึกษา เพ่อื วางแผน พิจารณา ตัดสินใจ การเปิด-ปิด
เรียน รูปแบบการจัดการเรียนการสอน การนิเทศ ก้ากับ ติดตาม การรายงานผลการด้าเนินงาน การตอบ
แบบสอบถาม แบบส้ารวจต่างๆ ให้หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดท้ังอ้านวยความสะดวก
และแกไ้ ขปัญหา อุปสรรคต่างๆ ที่อาจจะเกดิ ข้นึ ให้กบั ครูประจ้าช้นั และครปู ระจา้ วชิ า

21

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

7. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูประจ้าช้ัน และครูประจ้าวิชา ได้เข้ารับการพัฒนาตนเองในการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ในรูปแบบตา่ งๆ เพอ่ื นา้ ไปประยุกตใ์ ชใ้ ห้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดกบั นักเรยี นต่อไป

รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียน

เรียนรู้ คือ ช้นั อนุบาลปที ี่ ๒

กรณีที่ 1 กรณที ่ีไมส่ ามารถเปิดเรยี น ON-SITE ได้ ใชร้ ูปแบบการจัดการประสบการณก์ าร

1. แบบ ONLINE ผา่ นระบบอินเตอรเ์ นต็ / ระบบ Zoom/ ระบบวดี โิ อคอลผ่าน LINE,
Facebook

2. แบบ ON-AIR ผา่ นโทรทัศนท์ ีบ่ า้ น ในช่อง DLTV ตามตารางออกอากาศ
3. แบบ ON-HAND สา้ หรับนกั เรยี นทไ่ี มม่ ีความพร้อมทางเทคโนโลยใี ดๆ โดยทางคณะครจู ะ

จัดทา้ ใบกจิ กรรม และใบความรู้ซ่ึงใหส้ อดคล้องกับหนว่ ยการเรียนรู้

กรณที ่ี ๒ เปิดเรยี นแบบ ON Site มาเรียนแต่ไม่เตม็ รูปแบบ รปู แบบ โดยให้นกั เรยี นสลับกนั

มาเรียนโดย แบ่งเปน็ 2 กลุ่ม มแี นวทาง ดังนี้

2.1 แต่ละหอ้ งเรยี นแบง่ นักเรียนเป็น 2 กล่มุ คอื กลุม่ A กลุ่ม B โดยจัดเรียงตามเลขค่ี
เลขคู่ ดังน้ี

สมาชกิ กลมุ่ A กลมุ่ B

1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24

27 29 26 28 30

2.2 จัดตารางมาโรงเรยี น ดังน้ี
นักเรียนจะมาเรียนสลบั วนั ให้เรียนตามหน่วยการเรียนรู้ที่ก้าหนด และเรียนแบบ ON-HAND ใน
ทไ่ี ม่ไดม้ าเรยี น จะมใี บกจิ กรรมตามหนว่ ย ให้เรยี นรู้
การเรยี นแบบ ON–HAND จะจัดใบกจิ กรรมตามหน่วยการเรยี นรู้ ที่สอดคล้องกบั พฒั นาการของ
นักเรยี น และให้ผู้ปกครองบันทกึ พฤตกิ รรมตามแบบที่ให้ เพอ่ื นา้ มาประเมนิ ผลการเรยี นรูใ้ นแต่ละหน่วย
ใน 2 สัปดาห์ นักเรียนจะมาเรียนกลุ่มละ 5 วัน ใน 1 เดือน นักเรียนจะมาเรียนกลุ่มละ 10
วันเท่ากัน

22

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรยี นและแผนเผชิญเหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

วนั ทม่ี า รร. สปั ดาหท์ ี่ 1 สัปดาห์ท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 3 สปั ดาห์ท่ี 4
จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ
กล่มุ ท่มี า รร. กลุ่ม A กลุ่ม B กลุม่ B กลุ่ม A กล่มุ A กลมุ่ B กลุ่ม B กลุ่ม A
วันทม่ี า รร.
สปั ดาหท์ ี่ 5 สัปดาห์ท่ี 6 สปั ดาหท์ ี่ 7 สปั ดาหท์ ี่ 8
กลุ่มที่มา รร. จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ
กลุ่ม B กลมุ่ A กล่มุ A กล่มุ B กลมุ่ B กลุ่ม A กลมุ่ A กลุม่ B

กรณีท่ี ๓ เปิดเรยี นแบบ ON Site เตม็ รูปแบบ มาเรียนทกุ ห้องเรียน 100 % จัดตารางเรยี น
ตามวันทมี่ าเรยี นปกติ ชว่ งนอนพกั ผอ่ น แบ่งนกั เรยี นให้ไปนอนทห่ี ้องวทิ ยาศาสตร์และห้องสมุดปฐมวยั อาคาร
บวั แก้ว จ้านวน 36 คน เพอื่ ลดความแออัด และเวน้ ระยะหา่ งขณะนอนพกั ผ่อน ดังนี้

ช้ันอนุบาลปีที่ 2/1 จา้ นวน 5 คน ชนั้ อนบุ าลปที ี่ 2/2 จ้านวน 4 คน
ชั้นอนุบาลปที ่ี 2/3 จ้านวน 5 คน ช้ันอนบุ าลปีที่ 2/4 จ้านวน 5 คน
ชั้นอนุบาลปีที่ 2/5 จา้ นวน 5 คน ชัน้ อนุบาลปีที่ 2/6 จ้านวน 5 คน
ชน้ั อนุบาลปีท่ี 2/7 จ้านวน 4 คน ช้ันอนุบาลปีที่ 2/8 จ้านวน 3 คน
โดยให้ทุกหอ้ งเรียนด้าเนินการคัดกรองตามมาตรการการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้
ไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเครง่ ครดั ดังน้ี
๑) มีจดุ คดั กรองกอ่ นเขา้ หอ้ งเรียน
๒) จดั ท้าจุดเว้นระยะห่างท้ังใน นอกหอ้ งเรยี น และโรงอาหารปฐมวัย
๓) สลับเวลารับประทานอาหารกลางวนั โดยนกั เรียนชัน้ อนบุ าลปีท่ี ๒ จะรับประทาน
อาหารเวลา ๑๐.๓๐ น.
๔) ลา้ งมอื ด้วยสบ่หู รอื เจลแอลกอฮอลอ์ ยา่ งถูกวิธที ้งั กอ่ น และหลงั การท้ากิจวตั ร
ประจา้ วนั กจิ กรรมการเรียนรู้ ทุกคร้ัง
๕) ให้นักเรียน (ถอดเวลานอนพักผ่อน) ครู และพ่ีเลี้ยงทุกคนสวมใส่หน้ากากผ้า หรือ
หน้ากากอนามยั ตลอดเวลา
๖) ใหท้ ้าความสะอาดอปุ กรณ์ ของเล่น หอ้ งเรยี น และห้องวทิ ยาศาสตรแ์ ละหอ้ งสมุด
ปฐมวยั ทุกวนั หลงั เลิกเรียน
๗) จดั พ่ีเล้ยี งมาดูแลความปลอดภัย ความเรียบร้อยของนักเรียนทแ่ี ยกไปนอนพักผอ่ นที่
หอ้ งวทิ ยาศาสตรแ์ ละห้องสมดุ ปฐมวัย ขณะนอนพกั ผ่อนในทุกวัน อยภู่ ายใต้มาตรการป้องไวรัสโคโรน่า 2019

23

แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

ตารางกิจกรรมประจาวนั ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

เวลา กจิ กรรม
07.30 – 08.00 น. รับเด็ก ตรวจคัดกรองก่อนเข้าห้องเรียน
08.00 – 08.30 น. กจิ กรรมเคารพธงชาติ
08.30 – 08.40 น. เดก็ เข้าห้องนา้ ล้างมือ ดม่ื น้า
08.40 - 09.00 น. กจิ กรรมเคลอื่ นไหวและจังหวะ
09.00 – 09.10 น. รบั ประทานอาหารวา่ ง
09.10 – 09.30 น. กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์
09.30 – 10.00 น. กิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ (กจิ กรรมเดี่ยว)/เสรี
10.00 - 10.30 น. กจิ กรรมกลางแจ้ง

เวลา กิจกรรม
10.30 - 11.30 น. รบั ประทานอาหารกลางวัน แปรงฟนั เข้าห้องนา้
11.30 – 14.๓0 น. นอนพักผ่อน
14.๓0 – 1๕.๐0 น. ตืน่ นอน เกบ็ ทน่ี อน เข้าหอ้ งน้า ดม่ื นม เกมการศึกษา(เด่ยี ว)
กลบั บ้าน
1๕.๐0 น.

หมายเหตุ เวลาและกิจกรรม สามารถยืดหยนุ่ หรอื เปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม

ช้ันอนุบาลปที ี่ 3

กรณที ่ี 1 กรณีทไี่ มส่ ามารถเปิดเรียน ON-SITE ได้
1.1 นักเรยี นในสายชน้ั อนุบาลปีท่ี 3 ไมส่ ามารถเข้าเรยี นในระบบออนไลน์ได้ทุกคน เนื่องจากไม่
มีสื่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ครบทุกคน ผู้ปกครองบางครอบครัวต้องเตรียมสื่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ไว้ส้าหรับพี่
ของนักเรยี นทีอ่ ยูใ่ นระดับชั้นประถมศึกษา หรอื บางครอบครัวก็มีเพียงของผู้ปกครองเท่านั้น จึงได้ค้านึงถึงนักเรียน
ท่ีไม่มีส่ือเทคโนโลยี ต้องได้รับการเรียนรู้ที่เท่าเทียมกัน ดังน้ันในสายชั้นเลือกวิธีการเรียนการสอนแบบ ON-AIR
โดยเลือกใช้ส่ือระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ซ่ึงทุกครอบครัวสามารถเปิดรับสัญญาณได้
โดยครูประจ้าช้ันท้าการจัดส่งตารางเวลาในการออกอากาศให้ผู้ปกครองล่วงหน้า และผู้ปกครองสามารถเปิด
ย้อนหลังได้จากแอพพลเิ คชัน่ เมอ่ื ผ้ปู กครองกลบั ถึงบา้ น

24

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

1.2 ยังคงใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ ON Hand โดยครปู ระจ้าชั้นจดั ทา้ ใบงานให้
ตรงกับหนว่ ยการเรียนรู้ (DLTV) และแจกตามความตอ้ งการของผู้ปกครอง เช่น ผู้ปกครองบางท่านต้องการรับเป็น
ไฟล์เวิร์ดเพ่ือน้าไปปริ้นเอกสารเอง หรือผู้ปกครองบางท่านต้องการรับเป็นเอกสาร ครูประจ้าช้ันสามารถนัดเยี่ยม
บา้ นเพ่อื น้าเอกสารไปให้ และได้พบปะพดู คยุ สอบถามปัญหาอุปสรรคต่างๆ ดา้ นการเรยี นของนักเรียน

กรณีที่ 2. เปิดเรียนแบบ ON Site มาเรียนแตไ่ ม่เตม็ รปู แบบ ให้นักเรียนสลับกนั มาเรียนโดย
แบง่ เป็น 2 กลุ่ม

2.1 แตล่ ะห้องเรียนแบ่งนักเรียนเปน็ 2 กลุม่ กลุ่ม A และกล่มุ B โดยจดั เรียงตามเลขคี่ เลขคู่
ดังน้ี

สมาชกิ กลุ่ม A กลุ่ม B

1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22

23 25 27 29 24 26 28 30

2.2 จัดตารางมาโรงเรียน ดงั น้ี

วันทีม่ าร.ร. สัปดาห์ที่ 1 สปั ดาห์ที่ 2 สปั ดาห์ที่ 3 สปั ดาห์ท่ี 4
จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ
กลุ่ม B กลุ่ม A กลมุ่ A กลมุ่ B กลมุ่ B กลุ่ม A
กลุ่มทม่ี า ร.ร. กล่มุ A กลุ่ม B
วนั ทีม่ าร.ร. สปั ดาห์ท่ี 5 สปั ดาหท์ ี่ 6 สปั ดาห์ที่ 7 สัปดาหท์ ี่ 8
จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ
จ. พ. ศ. อ. พฤ กลุ่ม A กลุ่ม B กลมุ่ B กลมุ่ A กลุ่ม A กลุม่ B
กล่มุ ทมี่ า รร. กล่มุ B กลมุ่ A

โดยนักเรียน 2 กลุ่มน้ีมาเรียนสลับวันเว้นวัน ในวันท่ีนักเรียนไม่ได้มาเรียนก้าหนดให้เรียนจาก
ส่ือการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) เป็นการเรียนแบบคู่ขนาน

ซึ่งใน 2 สัปดาห์ นักเรียนจะมาเรียนกลุ่มละ 5 วัน เท่าเทียมกัน ใน 1 เดือน นักเรียนจะมา
เรียนกลุ่มละ 10 วันเท่าเทียมกัน

กรณีที่ 3 เปดิ เรยี นแบบ ON Site เตม็ รูปแบบ
รปู แบบท่ีสายชัน้ ก้าหนด จะมีมาตรการปอ้ งกนั การระบาดดังน้ี

3.1 โรงเรยี นจดั หาเครื่องวัดอุณหภมู ิใหก้ บั นักเรยี นทุกห้องเรียน เพื่อท้าการวดั ไข้ก่อน
เข้าหอ้ งเรยี น และขอความร่วมมอื ผปู้ กครองถา้ บตุ รหลานเป็นไข้ไม่สบายใหห้ ยุดเรยี น

- กรณที ี่ผ้ปู กครองพานกั เรยี นไปพนื้ ท่ีเสี่ยงควรแจง้ ให้ครูประจ้าช้ันทราบ และควรกักตัวอยู่ท่ีบ้าน
14 วนั โดยไม่ถือเป็นวันลา

3.2 ใหน้ ักเรียนลา้ งมือด้วยแอลกอฮอลเ์ จลทกุ คร้ัง กอ่ นเข้าห้องเรยี นและกอ่ นท้ากิจกรรม
25

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรยี นและแผนเผชิญเหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

3.3 ให้นักเรียนสวมหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาในระหวา่ งเข้ารว่ มกจิ กรรม แตส่ ามารถถอด
หนา้ กากอนามัยไดใ้ นระหว่างนอนหลับพกั ผ่อน

3.4 ใหน้ กั เรียนนัง่ เวน้ ระยะเพือ่ รักษาระยะหา่ ง ทั้งในหอ้ งเรียนและในโรงอาหาร

3.5 แบ่งชว่ งเวลาการรบั ประทานอาหารกลางวนั โดย
อนบุ าล 2 ช่วงเวลา 10.30 – 11.๓0 น.
อนุบาล 3 ช่วงเวลา 11.๓0 – 1๒.๐0 น.

3.6 เพ่มิ หอ้ งเรยี นพิเศษจา้ นวน 2 หอ้ ง หอ้ งเรียนท่ี 9 และ 10 เพ่อื ลดการแออัดของนกั เรียน
ดงั นี้

นักเรยี นจ้านวนเต็ม 30 คน ตอ่ หอ้ ง ให้แบ่งออกมาเหลอื หอ้ งเรยี นละ 25 คน ในห้องเรยี นปกติ
- หอ้ ง อ.3/1 - 3/4 เดก็ หอ้ งละ 5 คน x 4 ห้อง = 20 คน หอ้ งเรยี นท่ี 9 เรียนท่ีหอ้ งอังกะลงุ
- ห้อง อ.3/5 - 3/8 เด็กหอ้ งละ 5 คน x 4 ห้อง = 20 คน หอ้ งเรยี นที่ 10 เรียนท่ีหอ้ งศูนย์สอื่
โดยจัดตารางเวรใหค้ รูประจา้ ชน้ั เข้าดแู ลห้องเรียนที่ 9 และ 10 ในช่วงเวลาทีน่ กั เรียนตนเองไป
เข้าเรียนวชิ าพิเศษ หรอื ตามความเหมาะสม

3.7 รบั -ส่งนกั เรยี นกลบั บ้านในหอ้ งเรยี นตนเอง เพ่ือเว้นระยะห่าง งดการนงั่ รวมกันทุกห้องท่ี
ดา้ นลา่ งของโถงอาคาร โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี

- นักเรียนทกี่ ลบั เวลา 15.00 น.เป็นประจา้ ให้ผ้ปู กครองติดตอ่ กบั คณุ ครูประจ้าชนั้ ไวล้ ่วงหนา้
เพือ่ น้านักเรยี นมาสง่ ให้ครเู วรประจา้ วนั

- ครูประจา้ ชน้ั นา้ นักเรียนท่ีผู้ปกครองยงั ไม่มารบั สง่ ให้ครูเวรประจ้าวันเวลา 16.30 น.เพื่อให้ครู
เวรประจา้ วนั ดแู ลทีจ่ ดุ รบั -ส่ง จนถงึ เวลา 17.๓0 น.

3.8 ไม่อนุญาตผูป้ กครองเข้าภายในอาคารเรียนหรือห้องเรียน มเี หตจุ า้ เป็นตดิ ต่อทีเ่ บอร์
โทรศัพท์ครปู ระจา้ ชนั้

ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑

กรณที ี่ 1 กรณีทีไ่ มส่ ามารถเปดิ เรียน ON-SITE ได้ จดั ให้เรยี น Online ดังนี้
๑.๑ ครูผู้สอนแต่ละรายวิชาจัดการสอนตามเนื้อหาในบทเรียน โดยใช้โปรแกรมต่างๆตามความ
เหมาะสมและความถนัดของตนเอง เช่น จัดท้าคลิปวิดิโอการสอนผ่านยูทูป เป็นต้น หรือให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสื่อ
ออนไลนท์ ผ่ี สู้ อนจดั ท้าหรือจดั หาให้ โดยสง่ ผา่ นไลนก์ ลุ่มหอ้ งของแตล่ ะหอ้ ง

๑.๒ ครูผ้สู อนใชว้ ธิ กี ารตรวจงานโดยให้ผู้เรียนท้าลงในแบบฝกึ หดั หรอื สมุดของแต่ละรายวชิ าตาม
ภาระงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย

26

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นและแผนเผชิญเหตุ
ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

กรณีที่ 2. เปิดเรยี นแบบ ON Site มาเรยี นแตไ่ ม่เตม็ รปู แบบ ดังน้ี
๒.๑ ใหแ้ ต่ละห้องแบง่ กลุ่มผู้เรยี นในห้องของตนเองออกเป็น ๒ กลมุ่ โดยใชเ้ ลขท่คี ู่ และเลขท่คี ่ี
และมาเรียนสลับวันกัน เร่ิมจากเลขที่คี่มาเร่ิมเรียนก่อน สลับกันไป เม่ือครบ ๒ สัปดาห์ ผู้เรียนทุกคนจะได้เรียน
เนือ้ หาครบถ้วนเทา่ กันทั้ง ๒ กลุม่
๒.๒ เรยี นรู้ตามตารางการจัดการเรยี นรู้ของหอ้ งเรียนตนเอง
กรณีที่ 3 เปดิ เรียนแบบ ON Site เต็มรูปแบบ มาเรียนตามตารางเรียนปกติ โดยแตล่ ะห้องใช้
มาตรการการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรน่า 2019 เลิกเรียนเวลา ๑๕.๓๐ น.

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2

กรณีที่ 1 กรณีทไี่ ม่สามารถเปดิ เรียน ON-SITE ได้ จัดใหเ้ รียน Online ดงั นี้
๑.๑ จัดตารางเรียนออนไลน์ ในช่วงเดอื นมิถนุ ายนกอ่ น หากยังเปิดไม่ไดใ้ หจ้ ัดตารางเรยี นเดอื น
ตอ่ ไป โดยกา้ หนดให้ ๑ วนั เรียน ๒ วิชา แบง่ เปน็ ชว่ งเชา้ และบ่าย ช่วงเช้าเป็นวิชาหลัก ภาษาไทย คณิตฯ วิทย์
ฯ องั กฤษ สว่ นชว่ งบา่ ยเป็นวิชาอ่ืนๆ จัดให้ครบทกุ วชิ า ใน ๑ เดือน เพอื่ ไม่ใหง้ าน และการบ้าน อดั แน่นจนเกินไป
๑.๒ ครูผูส้ อนอดั คลิปวดี ีโอสอนตามเน้อื หาในบทเรียน โดยใช้โปรแกรมตา่ งๆที่ตนเองถนัด หรอื
จัดหาคลปิ วดี โี อท่ีสอดคล้องกบั เน้ือหาทที่ า้ การสอนและเสรมิ สร้างการเรยี นรู้
๑.๓ ส่งคลปิ วดี โี อตามข้อ ๒ ลงในระบบ หอ้ งเรยี นออนไลน์ School bright ของโรงเรยี น หรอื
ในไลนช์ ัน้ เรียน ตามเวลาในตารางเรียน ทีไ่ ด้จดั ตง้ั ไว้
๑.๔ ครูผสู้ อนมอบหมายงาน/การบา้ น ในแต่ละวนั ตามตารางเรียน ในระบบ School bright
อาจจะเป็นแบบฝึกหัดจากแบบเรียนหรือใบงาน (ในกรณีที่มีใบงาน ได้มอบหมายให้ครูผู้สอนจัดเตรียมไว้ได้เลย
หากไมส่ ามารถเปดิ เรียนได้ จะท้าการเยบ็ เลม่ และอาจน้าไปใหต้ อนเยย่ี มบา้ น)
ครูประจ้าช้ัน อาจจะใช้โปรแกรม ZOOM ในการพูดคุยทักทาย กระตุ้นนักเรียนในการเรียน
Online และให้เร่ิมรู้จักการใช้โปรแกรม ZOOM ในการเรียน อาจจะทุกวัน หรือสัปดาห์ละ ๒ - ๓ ครั้ง ข้ึนอยู่กับ
ครปู ระจ้าชัน้ เพราะ ป.๒ ยงั เปน็ วัยท่ีตอ้ งอาศัยผู้ปกครอง ยังไมส่ ามารถเรียนรดู้ ว้ ยตนเองได้
กรณีที่ 2. เปดิ เรียนแบบ ON Site มาเรยี นแตไ่ ม่เต็มรูปแบบ มาเรียนแบบหอ้ งเว้นห้อง ดังนี้
๒.๑ แบง่ ห้องมาเรียนวันเวน้ วัน โดยแบ่งเป็นเลขท่ีคู่ และเลขที่ค่ี สลับกันมาเรียน เริ่มจากเลขท่ี
คู่ มาเรยี นวนั แรกทเี่ ปิดเรียน แลว้ วนั ตอ่ ไปสลับเลขท่คี ่ี
๒.๒ จัดตารางเรียน เวลาเลกิ เรยี น ๑๖.๓๐ น. ครผู สู้ อนเขา้ สอนตามตารางเรียนของแต่ละห้อง
กรณที ่ี 3 เปดิ เรียนแบบ ON Site เต็มรูปแบบ มาเรียนตามตารางเรยี นปกติ เลิกเรยี นเวลา
๑๕.๓๐ น.

27

แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3

กรณที ี่ 1 กรณที ี่ไม่สามารถเปิดเรยี น ON-SITE ได้
1.1 จดั ใหม้ ีการเรยี นการสอนออนไลน์ DLTV โดยครูประจา้ ชัน้ จะจดั สง่ ลงิ ค์การเรยี นรู้ ดังน้ี

๑.๒ ส่งคลปิ วดี ีโอลงในระบบ หอ้ งเรียนออนไลน์ School bright ของโรงเรยี น หรือ
ในไลนช์ น้ั เรียน ตามเวลาในตารางเรียน ท่ีได้จดั ตง้ั ไว้

๑.๓ การมอบหมายงานทางกลมุ่ ไลน์ ตามเนอ้ื หาใน DLTV โดยใหท้ ้าแบบฝึกหดั ตามหนงั สอื
หมายเหตุ ลงิ คก์ ารเรียนรู้ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p3 โดยเป็นเน้อื หาวิชา
วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

กรณที ่ี ๒ เปิดเรียนแบบ ON Site มาเรยี นแต่ไม่เตม็ รปู แบบ จัดการเรียนการสอนดงั น้ี

๒.๑ การจดั การเรยี นการสอนของนักเรียนภาคปกติ จะให้นกั เรยี นสลับวนั กนั มาเรียน คอื
สัปดาห์ที่ ๑ นกั เรยี นเลขท่ีคี่ของแต่ละห้องจะมาเรียนในวนั จันทร์ วนั พุธ และวนั ศกุ ร์ ส้าหรบั
นักเรยี นเลขทค่ี ขู่ องแตล่ ะหอ้ งจะมาเรยี นในวนั อังคาร และวนั พฤหัสบดี
สปั ดาหท์ ่ี ๒ นกั เรยี นเลขท่คี ขู่ องแตล่ ะห้องจะมาเรียนในวันจนั ทร์ วนั พธุ และวนั ศกุ ร์ ส้าหรับ
นักเรยี นเลขท่ีคขี่ องแต่ละหอ้ งจะมาเรียนในวันองั คาร และวันพฤหสั บดี และจะสลบั กนั แบบน้ีทกุ สัปดาห์

28

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรยี นและแผนเผชญิ เหตุ

๒.๒ สา้ หรับตารางสอน จะใชต้ ารางภสาอยนใตตส้ าถมาปนกกาตริณนก์ าักรเแรพียรน่รมะบาาเรดียขนองวโันรคไตหิดนเชอ้ื กไว็ใรหัส้จโคัดโตรนาราา2ง0ส1อ9น(Covid 19)
ในวนั นั้นมาเรียน เลกิ เรยี นเวลา ๑๖.๓๐ น.

๒.3 ใบงานหรอื แบบฝึกหัด เม่อื นกั เรยี นได้เรียนออนไลนว์ ิชาคณิตศาสตร์ ในแตล่ ะเรอื่ งแล้ว จะ
ให้นักเรียนท้าแบบฝึกหัดในเรื่องที่เรียนลงในแบบฝึกหัดท่ีทางโรงเรียนได้แจกให้แล้ว เม่ือเปิดเรียนค่อยน้ามาส่ง
คณุ ครูประจา้ ชั้น

กรณีที่ 3 เปิดเรียนแบบ ON Site เต็มรูปแบบ มาเรียนตามตารางเรียนปกติ เลิกเรียนเวลา
๑๖.๓๐ น.

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4

กรณที ี่ 1 กรณีที่ไมส่ ามารถเปิดเรียน ON-SITE ได้ จัดใหม้ กี ารเรียนการสอน ดงั น้ี
๑.๑ ใหค้ รทู กุ คนจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลนต์ ามตางรางสอนของแตล่ ะวัน
๑.๒ ครูประจา้ ชัน้ จัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย-คณิตศาสตร์ ในรูปแบบออนไลน์ตามความ
ถนดั เช่น zoom , line , facebook และส่งั งาน การบา้ นในแบบฝกึ หัดของนกั เรยี น
๑.๓ ครปู ระจ้าชั้นแตล่ ะหอ้ งสรา้ งกลุ่มไลน์วชิ าพิเศษของแต่ละหอ้ ง พรอ้ มเชิญครปู ระจา้ วิชาเขา้
กล่มุ ไลนแ์ ละแจง้ ให้ครูพเิ ศษทราบ
๑.๔ วชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วชิ าประวตั ศิ าสตร์ และวิชาการงานอาชีพ ใหด้ ูสอื่
การสอน ใน youtube โดยการแนบลงิ ก์ และส่ังงานในกลุ่มไลนว์ ชิ าพิเศษของแต่ละห้อง
๑.๕ วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอนในรูปแบบออนไลน์ และใหด้ สู อื่ การสอน ใน youtube
โดยการแนบลงิ ก์ และสั่งงานในกลมุ่ ไลน์วิชาพเิ ศษของแตล่ ะหอ้ ง
๑.๖ วชิ าวทิ ยาการคา้ นวณ สอนและส่ังงานในระบบ School Bright
๑.๗ ครวู ิชาพิเศษทา่ นอ่นื ๆ หากตอ้ งการสอนออนไลนใ์ น app , website, หนังสือ , แบบฝกึ หดั
อ่นื ๆ ขอใหแ้ จง้ รูปแบบการสอนใหท้ ราบด้วย เพื่อจะได้แจ้งให้นกั เรียนไดป้ ฏิบตั ิ
ทั้งนีส้ ายช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ ได้จัดการประชมุ เชิงปฏิบตั ิการเพ่ือทบทวนและเตรียมความ
พรอ้ มในการสอนออนไลน์ ณ ห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอรแ์ ล้ว

กรณที ี่ ๒ เปดิ เรยี นแบบ ON Site มาเรียนแต่ไม่เตม็ รูปแบบ จัดการเรียนการสอนดังน้ี
จัดการเรียนการสอนโดยใช้ตารางสอนท่วี ชิ าการสายช้ันแจง้ ใหน้ ักเรียนมาครบทุกห้องโดยสลับ
เลขท่ีคู่-เลขทีค่ ี่ สลับวนั มาเรยี น เลิกเรียนเวลา ๑๖.๓๐ น.
กรณีท่ี 3 เปิดเรยี นแบบ ON Site เตม็ รูปแบบ มาเรยี นตามตารางเรียนปกติ เลกิ เรยี นเวลา
๑๖.๓๐ น.

29

แนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรยี นและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5

กรณที ี่ 1 กรณีทีไ่ ม่สามารถเปิดเรยี น ON-SITE ได้ จัดใหม้ กี ารเรยี นการสอน ดงั น้ี
๑.๑ วธิ ีการสอนของครูแต่ละวิชาในสายช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เรยี นรู้ทางไกลผา่ น

ดาวเทียม (DLTV) ตามตารางทกี่ ้าหนด
๑.๒ ครปู ระจา้ วิชาคณติ ศาสตรส์ อนผ่านโปรแกรม Zoom ก่อนนกั เรยี นเรียนทางไกลผ่าน

ดาวเทียม (DLTV) (เอกสารแนบทา้ ย)
๑.๓ ครูประจ้าวิชาวิทยาศาสตร์ ส่ังงานทาง School Bright, และ (DLTV) ทางกลุ่มไลน์

และการท้างานแบบทดสอบและทดลองแบบส้ารวจโดยใช้ Google form

๑.๔ ครปู ระจา้ วิชาภาษาไทยเพมิ่ เตมิ จากการเรยี นทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV)
โดยท้าแบบทดสอบผ่าน Facebook (ระบบออนไลน์) ส่ังงานผ่านระบบ School Bright สรุปงานลงในสมุด
พร้อมส่งตอนเปดิ เรยี น

๑.๕ ครปู ระจ้าวชิ าสังคมศกึ ษาส่งคลิปวีดีโอ ผา่ นระบบ School Bright (DLTV) และ
สง่ ผา่ นระบบไลน์ประจ้าหอ้ งเรียนและให้นกั เรยี นสรปุ งานลงในสมุดพร้อมสง่ ตอนเปดิ เรยี น

๑.๖ ครูประจา้ วิชาภาษาอังกฤษสงั่ งานผ่านระบบ School Bright สอน Zoom เน้นตาม
ตวั ช้ีวัด (เอกสารแนบท้าย)

๑.๗ ครูประจา้ วิชาสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา จดั ท้า Power point ส่งงานผ่านระบบ
Facebook และตดิ ตามผ่านไลนแ์ ละระบบ School Bright

๑.๘ ครูประจ้าวิชาศิลปะใช้วิธีการบันทึกวิดีโอ ในช่องยูทูปและส่งลิงค์ให้กับนักเรียนผ่านระบบ
ทางไลนแ์ ละระบบ School Bright

หมายเหตุ ครูประจา้ วชิ าบางวิชากา้ หนดหวั ข้อ ใหน้ ักเรยี นเข้าไปศกึ ษาในเว็บไซต์แลว้ สรุป
รายงานสง่

กรณที ่ี ๒ เปิดเรยี นแบบ ON Site มาเรียนแตไ่ มเ่ ตม็ รปู แบบ จัดการเรียนการสอนดงั น้ี
๒.๑ นกั เรียนสลับวันกนั มาเรียนเลขคูแ่ ละเลขคข่ี องแต่ละห้องแล้วเรียนแบบ On Air
๒.๒ นักเรยี นสลบั วันกนั มาเรยี นแบง่ เป็น ๒ กลมุ่ เรียนตามตารางเรียนปกติ เลิกเรยี นเวลา

๑๖.๓๐ น.

กรณที ี่ 3 เปิดเรียนแบบ ON Site เตม็ รปู แบบ มาเรยี นตามตารางเรยี นปกติ เลกิ เรียนเวลา
๑๖.๓๐ น.

30

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6

กรณที ี่ 1 กรณที ีไ่ ม่สามารถเปดิ เรยี น ON-SITE ได้ จดั ใหม้ ีการเรียนการสอน ดงั น้ี
จัดการเรียนสอนโดยสอนออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM โดยมอบหมายให้ครูประจ้าวิชาเข้าสอน
ตามตาราเรียนที่จัดของแต่ละห้องและบันทึกวีดีโอท่ีสอนในแต่ละช่ัวโมงส่งเข้า YouTube และ Line เพื่อให้
นักเรียนสามารถเปิดดูท้าการทบทวนได้ และก่อนจะมีกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูประจ้าชั้นเข้าพบนักเรียน
และส่งห้อง ZOOM ของครูแต่ละวิชาที่มีตารางเรียนให้กับนักเรียนเพื่อเข้าเรียนตามตารางครูที่จัดกิจกรรมการ
เรียนสอนในแต่ละห้องแจง้ งานที่มอบหมายใหน้ กั เรยี นทา้ และแจง้ ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนเข้าไลน์ครูสาย
ช้นั เพอื่ ครูประจ้าชัน้ จะไดต้ ดิ ตามงาน และรว่ มกนั แกไ้ ขปัญหา

กรณที ี่ ๒ เปิดเรียนแบบ ON Site มาเรยี นแต่ไม่เตม็ รูปแบบ จดั การเรยี นการสอนดังน้ี
นักเรยี นสลับวันกนั มาเรยี นแบ่งเปน็ ๒ กลมุ่ เลขคู่กับเลขคี่ แต่ละห้องเรียนมาพรอ้ มกนั และ
ครผู สู้ อนเขา้ สอนตามตารางเรียนของแต่ละห้อง เลกิ เรียนเวลา ๑๖.๓๐ น.

กรณีที่ 3 เปิดเรยี นแบบ ON Site เต็มรูปแบบ มาเรียนตามตารางเรียนปกติ เลิกเรียนเวลา
๑๖.๓๐ น.

โครงการจดั การเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธกิ ารเปน็ ภาษาองั กฤษ (English Program)

กรณีที่ 1 กรณีท่ีไม่สามารถเปิดเรียน ON-SITE ได้ จัดให้มีการเรียนการสอน On-line ผ่านระบบ
ZOOM ทกุ ห้องเรยี น วิชาทเ่ี รยี น ได้แก่ ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สังคมศึกษา
วชิ าเสรมิ ศิลปะ ดนตรีสากล โดยปรับตารางเรียน ดังน้ี

เช็คชื่อ เวลา ๐๘.๕๐ น.
ชว่ั โมงท่ี ๑ เรียน ๐๙.๐๐ – ๐๙.๔๐ น. ช่วั โมงที่ ๒ เรยี น ๐๙.๕๐ – ๑๐.๓๐ น.
ชัว่ โมงที่ ๓ เรยี น ๑๐.๔๐ – ๑๑.๒๐ น. พักกลางวัน เวลา ๑๑.๒๐ – ๑๒.๓๐ น.
ชว่ั โมงท่ี ๔ เรยี น ๑๒.๓๐ – ๑๓.๑๐ น. ชวั่ โมงที่ ๕ เรียน ๑๓.๑๐ – ๑๔.๐๐ น.

31

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

ตารางการจดั การเรยี นรู้ โครงการ English Program
โดยระบบ ZOOM

32

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

33

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

34

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรยี นและแผนเผชญิ เหตุ

ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

กรณีท่ี ๒ เปดิ เรยี นแบบ ON Site มาเรียนแตไ่ มเ่ ตม็ รปู แบบ
จดั การเรยี นการสอนแบบ On – Site และแบบผสมผสาน
๒.๑ นักเรียนมาโรงเรียนทกุ คน เรียนในหอ้ งเรียนเดียวกัน (ส้าหรับนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่
๑/๘ ,๒/๘ ,๔/๘ และ ๕/๘)

นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑/๘ จ้านวน ๓๐ คน
นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒/๘ จ้านวน ๓๑ คน
นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔/๘ จ้านวน ๓๒ คน
นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕/๘ จ้านวน ๓๓ คน
๒.๒ นกั เรียนมาเรยี นที่โรงเรียนทกุ คน แตส่ ลบั กล่มุ นกั เรยี นโดยแบ่งนักเรียนในห้องเรยี น เป็น 2
กลมุ่ (สา้ หรับนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓/๘ และ ๖/๘)
นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓/๘ จา้ นวน ๓๖ คน
นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖/๘ จ้านวน ๓๙ คน
๒.๓ รปู แบบและแนวทางการบรหิ ารจัดการเรียนการสอนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓/๘ และ ๖/๘

๑) จดั นกั เรยี นเปน็ 2 กลมุ่ (ชั้น ป.3/8 กลมุ่ ละ 18 คน , ช้ัน ป.6/8 กลมุ่ ละ 19 คน

และ 20 คน)

กลมุ่ A1 = 18 คน

ชน้ั ป.3/8

กลมุ่ A2 = 18 คน

ชั้น ป.6/8 กลุ่ม A1 = 19 คน
กลุม่ A2 = 20 คน

๒) สัปดาหท์ ่ี 1 A1 เรยี นหอ้ งเรยี นปกติ A2 เรยี นห้องเรยี นสา้ รอง

สปั ดาหท์ ี่ 2 A2 เรียนหอ้ งเรียนปกติ A1 เรียนห้องเรยี นส้ารอง

*ในสปั ดาห์ตอ่ ไป สลบั กนั ไป เหมือนสัปดาหท์ ่ี 1 และ 2*

๓) หอ้ งเรียนปกติ สอนสดโดยครปู ระจ้าวชิ า

๔) หอ้ งเรียนสา้ รอง เรยี นดว้ ยระบบออนไลน์ Google Meet , ZOOM

๕) จดั โต๊ะเรยี นให้มีระยะหา่ งพอสมควร

๖) ให้นกั เรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลา ขณะอยใู่ นหอ้ งเรยี นและบรเิ วณโรงเรียน

๗) เปิด - ปดิ เครอ่ื งปรับอากาศเปน็ ระยะ ตามความเหมาะสม

๘) ครดู ูแลอยา่ งใกล้ชดิ ไม่ให้นักเรยี นใกลช้ ิดเพื่อนมากเกนิ ไป

35

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรยี นและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

กรณีที่ 3 เปดิ เรียนแบบ ON Site เตม็ รปู แบบ มาเรยี นตามตารางเรียนปกติ
หมายเหตุ

ส้าหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1/8 เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม ถ้าสถานการณ์มีการปรับเปลี่ยน
และมีแนวทางที่ดีขึ้น จะให้นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1/8 มาเรียนปรับพื้นฐาน ต้ังแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2564
เพราะนกั เรยี นยังไม่เคยพบครูประจ้าช้ัน และเป็นวยั ทีย่ งั ไม่สามารถใชค้ อมพิวเตอรไ์ ด้ดว้ ยตนเอง ผ่านระบบ ZOOM
ในชว่ งแรกของการเปดิ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564

หอ้ งเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์

กรณที ่ี 1 กรณที ี่ไม่สามารถเปิดเรยี น ON-SITE ได้ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1/7 - 6/7 จัดการ

เรยี นการสอน ดงั น้ี
1. แบบ ON-LINE ผา่ นระบบอินเตอรเ์ นต็ / ระบบ Zoom
2. แบบ ON-AIR ผ่านโทรทัศนท์ ่บี า้ น ในช่อง DLTV ตามตารางออกอากาศ
3. แบบ ON-HAND ส้าหรับนกั เรยี นทไ่ี มม่ ีความพร้อมทางเทคโนโลยีใดๆ โดยทาง
โครงการฯ
4. แบบ ONDEMAND ผ่านระบบ school bright

จะจัดท้าเอกสารการเรียน แบบฝึกหัดและใบงาน ซ่ึงจะมีการนัดหมายรับงานจากครูประจ้าชั้นภายใต้มาตรการ
ความปลอดภยั จากโรคโควิด-19

หมายเหตุ ส้าหรับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6/7 ครูประจ้าวิชาจะเข้าสอนตามตารางการจัดการ
เรียนการสอน ปีการศึกษา 2564 และบันทึกวีดีโอท่ีสอนในแต่ละชั่วโมงส่งเข้า Y0uTube และ Line
เพื่อให้นักเรียนสามารถเปิดเข้าดูและทบทวนได้ และก่อนจะมีกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูประจ้าช้ัน
เขา้ พบนักเรยี นและสง่ หอ้ ง Zoom ของครแู ตล่ ะวิชาที่มีตารางเรียนให้กับนักเรียนเพ่ือเข้าเรียนตามตาราง
ครูที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละห้องแจ้งงานท่ีมอบหมายให้นักเรียนท้าและแจ้งปัญหาในการ
จดั การเรียนการสอนเขา้ ไลนค์ รูสายชนั้ เพ่ือครปู ระจา้ ชัน้ จะได้ตดิ ตามงาน และร่วมกนั แกไ้ ขปญั หา

กรณีที่ ๒ เปิดเรียนแบบ ON Site มาเรียนแต่ไม่เต็มรูปแบบ จัดการเรียนการสอนแบบมา
เรียนทกุ หอ้ ง แต่สลบั เลขคู่และเลขคี่ มาเรยี น จัดตารางเรยี นตามวันที่มาเรียนปกติ เลกิ เรยี น ๑๖.๓๐ น.

กรณที ี่ 3 เปิดเรียนแบบ ON Site เตม็ รปู แบบ มาเรยี นตามตารางเรียนปกติ

ท้งั น้ใี นการจดั การเรียนการสอนนั้นได้มคี วามหลากหลายตามศักยภาพและความเหมาะสม
โดยเนน้ ความปลอดภยั เป็นสา้ คัญ ภายใต้มาตรการของคณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อจังหวัด และเพือ่ เป็นการ
เตรยี มความพรอ้ มและส่งเสริมความรคู้ วามเขา้ ใจในเรอ่ื งของการใชง้ านระบบ Zoom ของครแู ละบุคลากร
โครงการห้องเรยี นพิเศษวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ซึง่ มีครูนฤมติ ร หมืน่ อภยั พรอ้ มทมี งาน ICT ของโครงการ
เปน็ ผ้ใู ห้ความรู้

36

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

ตารางสอนออกอากาศสถานีวทิ ยุโทรทัศน์การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-6

37

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

38

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

39

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

ส่วนท่ี 4
แผนการเผชิญเหตุ

40

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

ส่วนท่ี 4
แผนเผชญิ เหตุ

โรงเรยี นอนบุ าลสระบรุ ีได้ก้าหนดให้มแี ผนเผชิญเหตุ รองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
ในสถานศึกษา เพ่ือเปน็ การเตรยี มการ และเตรยี มพรอ้ มรองรับสถานการณ์ท่ีอาจจะเกิดขึ้น อันเป็นแนวปฏิบัติตาม
มาตรการการป้องกันการแพร่ระบาด ของโรคโควิด 19 ซ่ึงสอดคล้องกับมาตรการท่ีกระทรวงสาธารณสุขและ

กระทรวงศึกษาธิการกาหนด

ระดับการแพรร่ ะบาด มาตรการป้องกัน

ในชุมชน ในสถานศึกษา ครู/นกั เรียน สถานศึกษา

ไม่มผี ู้ตดิ เชื้อ ไมพ่ บผ้ตู ิดเช้ือยืนยนั ๑. ปฏบิ ัติตามมาตรการ DMHTT ๑. เปดิ เรียน Onsite
๒. ประเมิน TST เป็นประจ้า ๒. ปฏิบตั ิตาม TST Plus
๓. เฝ้าระวงั คดั กรอง
กรณเี ดก็ ประจา้ ,เด็กพิเศษ

มผี ตู้ ดิ เช้ือ ไมพ่ บผู้ตดิ เชื้อยืนยนั ๑. ปฏิบัตติ ามมาตรการ DMHTT ๒. ๑. เปดิ เรียน Onsite
ประเมนิ TST ทุกวัน ๒. ปฏิบัตเิ ขม้ ตามมาตรการ
ประปราย TST Plus
๓. เฝา้ ระวังคดั กรอง
กรณเี ดก็ ประจ้า,เด็กพิเศษ

พบผู้ติดเชื้อยนื ยนั ใน ๑. ปฏบิ ตั ิเขม้ ตามมาตรการ DMHTT ๑. ปิดหอ้ งเรียนท่ีพบผู้ตดิ เช้ือ ๓
หอ้ งเรียน ๑ รายข้ึนไป * เน้นใสห่ นา้ กาก วนั เพื่อทา้ ความสะอาด
* เวน้ ระยะห่างระหวา่ ง บคุ คล๑- ๒ ม. ๒. เปดิ หอ้ งเรยี นอื่นๆ Onsite
ได้ตามปกติ
๒. ประเมิน TST ทุกวนั
๓. ระบายอากาศทุก ๒ ชั่วโมง กรณี ๓. สมุ่ ตรวจเฝา้ ระวงั
ใช้ เคร่อื งปรับอากาศ Sentinel Surveillance
ทกุ ๒ ครัง้ /สัปดาห์
๔. กรณี High Risk Contact :
งดเรยี น Onsite และกักตัวท่ีบา้ น ๑๔ วนั ๔. ปฏบิ ัติเข้มตามมาตรการ
TST Plus
๕. กรณี Low Risk Contact :

ให้สงั เกตอาการของตนเอง และปฏิบตั ิ

ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข

41

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

ระดบั การแพรร่ ะบาด ในชมุ ชน มาตรการปอ้ งกนั
ในชมุ ชน ในสถานศกึ ษา
ในสถานศึกษา

๕. ปดิ หอ้ งเรยี นท่ีพบผ้ตู ดิ เช้ือ ๓ วัน
เพอ่ื ท้าความสะอาดหรอื มากกว่าตาม
ข้อสงั่ การของกระทรวงศึกษาธิการ
๖. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ
TST Plus

มผี ู้ติดเชือ้ ๑. ปฏบิ ตั เิ ข้มตามมาตรการ DMHTT * ๑. พจิ ารณาการเปิดเรยี น Onsite
เป็นกลมุ่ เนน้ ใสห่ น้ากาก *เวน้ ระยะห่างระหวา่ ง โดยเข้มมาตรการทุกมติ ิ
บคุ คล ๑-๒ ม. ๒. ส้าหรับพื้นท่รี ะบาดแบบกลุ่มกอ้ น
กอ้ น ๒. ประเมนิ TST ทกุ วนั พิจารณาปิดโดย คณะกรรมการ
๓. ระบายอากาศทุก ๒ ชั่วโมง กรณี ควบคมุ การแพร่ระบาดระดบั พ้ืนที่
มีการแพร่ ใชเ้ ครื่องปรับอากาศ หากมี หลกั ฐานและความจา้ เปน็
ระบาดใน ๔. กรณี High Risk Contact : ๓. สุ่มตรวจเฝา้ ระวงั
ชมุ ชน งดเรียน Onsite และกักตัวที่บ้าน Sentinel Surveillance
๑๔ วนั ทุก ๒ สปั ดาห์
๕. กรณี Low Risk Contact :
ให้สงั เกตอาการของตนเอง ๑. พิจารณาการเปดิ เรยี น Onsite
โดยเขม้ ตามมาตรการทุกมิติ
๑. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ DMHTT ๒. ส้าหรบั พนื้ ท่รี ะบาดแบบ กล่มุ กอ้ น
๒. เฝ้าระวังอาการเสีย่ งทุกวนั Self พจิ ารณาปิดโดย คณะกรรมการ
Quarantine ควบคมุ การแพร่ ระบาดระดับพืน้ ท่ี
๓. ประเมิน TST ทุกวัน หากมี หลกั ฐานและความจ้าเปน็
๓. สุ่มตรวจเฝา้ ระวังSentinel
Surveillance ทุก ๒ สัปดาห์

42

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

ส่วนที่ ๕
การตดิ ตามประเมินผล

43

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นและแผนเผชิญเหตุ
ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

ส่วนท่ี 5
การติดตามและประเมนิ ผล

การติดตามและประเมินผลเป็นกระบวนการส้าคัญที่จะต้องด้าเนินการให้เป็นไปตาม แนวทางการ
เตรียมการเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ที่ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานก้าหนดไว้ เพ่ือติดตาม ดูแลช่วยเหลือหรือ
แก้ไขปัญหา รบั ทราบความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคของการดา้ เนนิ งาน และขอ้ เสนอแนะ

การตดิ ตามและประเมินผลของโรงเรียน
สถานศึกษาก้าหนดหรือแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้าเนินการตามแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปี

การศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โดยให้
มีการตดิ ตามและประเมนิ ผล ดังน้ี

๑) การน้าแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของส้านักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐานสกู่ ารปฏิบัติ

๒) การประเมินตนเองผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus :TSC+ และรายงานการติดตาม
การประเมนิ ผลผ่าน MOE Covid

๓) การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ทง้ั ๔ องคป์ ระกอบ
๔) การปฏบิ ัติตาม ๗ มาตรการเขม้ ของสถานศึกษาระหว่างการจัดการเรียนการสอน
๕) การทา้ และการปฏบิ ตั ิตามแผนการเผชญิ เหตทุ ก่ี า้ หนดไว้
๖) การรายงานข้อมูลสารเทศท่ีสา้ คญั ตอ่ ส้านกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาและหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง

44

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรยี นและแผนเผชิญเหตุ
ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

เอกสารอา้ งอิง

กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๓). ค่มู ือการปฏิบัตสิ าหรับสถานศึกษา ในการป้องกันการแพร่ระบาด
ของโรคโควดิ ๑๙. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.

ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน. (2564). แนวทางการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564.
กระทรวงศกึ ษาธิการ.

45

แนวทางการเตรยี มการเปิดภาคเรียนและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

คณะผจู้ ัดทา

ทปี่ รึกษา

1. นายสุริยันต์ มงิ่ ขวัญ ผู้อา้ นวยการส้านักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสระบรุ ี เขต 1

2. นายสธุ รรม เลิศนพคุณวงศ์ รองผ้อู า้ นวยการสา้ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 1

3. นางกนษิ ฐา ชา่ งถม รองผูอ้ า้ นวยการส้านักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสระบรุ ี เขต 1

4. นางสาวมยุรีย์ เนตรศิลานนท์ รองผอู้ า้ นวยการส้านกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสระบุรี เขต 1

5. นางสาวแหวนไพลนิ เยน็ สุข ผู้อา้ นวยการกลมุ่ กลมุ่ นเิ ทศติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา

6. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐานโรงเรยี นอนบุ าลสระบรุ ี

รวบรวมข้อมูล

1. นายอทิ ธริ งค์ ปานะถึก ผู้อา้ นวยการโรงเรยี น

2. นางธรี นชุ ผาสขุ รองผ้อู ้านวยการโรงเรยี น

3. นางสาวณัฐนนั ท์ ทองสุพรรณ์ รองผอู้ า้ นวยการโรงเรียน

4. นายพยนต์ เหนอื โท รองผู้อ้านวยการโรงเรยี น

5. นายกฤษฏ์ิภวิศร์ หงษ์รอ่ น รองผอู้ ้านวยการโรงเรียน

6. นางจริ าภรณ์ ปานะถกึ ผูช้ ่วยผูอ้ ้านวยการโรงเรียน

7. คณะกรรมการขับเคล่อื นการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019

(COVID - 19) ปกี ารศึกษา 2564 ระดบั สถานศกึ ษา

46

แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19)

คานา

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เล่มน้ี โรงเรียนอนุบาลสระบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสระบุรี เขต ๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดทาขึ้น
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสาหรับเตรียมความพร้อมก่อนเปิด ภาคเรียน เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่
นักเรยี น ผูป้ กครอง และประชาชนทวั่ ไปว่าโรงเรยี นอนบุ าลสระบุรีมแี นวทางการสรา้ งความปลอดภัยให้กับนักเรียน
ก่อนการเปิดภาคเรียน และระหว่างที่จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการท่ีกระทรวง
สาธารณสุขและกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนด

โรงเรียนอนุบาลสระบุรีหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนและแผนเผชิญเหตุ
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เล่มน้ี จะช่วยอานวยความ
สะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ในสถานศึกษาได้เป็นอย่างดี ขอบคุณคณะทางาน ทุกท่านท่ีได้ร่วมกันจัดทาจนสาเร็จ
บรรลุตามวัตถุประสงค์

(นายอิทธิรงค์ ปานะถกึ )
ผ้อู านวยการโรงเรยี นอนบุ าลสระบุรี

ตุลาคม 2564

47

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรยี นและแผนเผชญิ เหตุ
ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)

สารบญั หน้า

คานา ๑
สารบญั ๓
บทนา ๔
สว่ นที่ 1 แนวปฏิบัติการเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรยี น ๕
การประเมนิ ความพร้อมก่อนเปดิ เรยี น ๙
การเตรยี มการก่อนเปิดภาคเรียน ๑๐
ส่วนท่ี ๒ แนวปฏิบัตริ ะหว่างเปดิ ภาคเรียน ๑๑
กรณีเปิดเรียนไดต้ ามปกติ (Onsite) ๑๑
กรณีโรงเรยี นไมส่ ามารถเปดิ เรยี นได้ตามปกติ ๑๒
แนวปฏิบัติของผู้บริหารสถานศึกษา ๑๔
แนวปฏบิ ัตขิ องครแู ละบุคลากร ๑5
แนวปฏิบัติของนักเรยี น 16
แนวปฏิบัติของผู้ปกครอง
แนวปฏบิ ตั ิการดแู ลด้านอนามัยและส่ิงแวดล้อมของโรงเรียน ๒๐
ส่วนท่ี ๓ แนวทางการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ๒1
ของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ๒๒
การเตรยี มความพร้อมการจดั การเรยี นการสอนในวันเปิดภาคเรยี น ๔๐
รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียน ๔3
ส่วนที่ ๔ แผนการเผชญิ เหตุ ๔5
ส่วนที่ ๕ การตดิ ตามและประเมินผล ๔6
เอกสารอา้ งองิ
คณะทางาน

48


Click to View FlipBook Version