บทนา
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ (2563, น.1) ไดก้ ลา่ ววา่ โรคโควิด คือ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
หรือ โรคโควิด 19 (Coronavirus Disesse 2019 (COVID-19)) เป็นตระกูลของไวรัสท่ีก่อให้อาการป่วย ตั้งแต่
โรคไข้หวัดธรรมดาไปจนถึง โรคที่มีความรุนแรงมาก เช่น โรคระบบทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS-CoV)
โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS-CoV) เป็นสายพันธุ์ใหม่ที่ไม่เคยพบมาก่อนในมนุษย์ ก่อให้เกิด
อาการป่วยระบบทางเดินหายใจในคนและสามารถแพร่เชื้อจากคนสู่คนได้โดย เชื้อไวรัสนี้พบการระบาดคร้ังแรก
ในเมืองฮั่น มณฑลหูเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงปลายปี 2019 หลังจากน้ันได้มีการระบาดไปท่ัวโลก
องค์การอนามัยโลกจึงต้ังช่ือการติดเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่น้ีว่า โรคโควิด 19 ซึ่งอาการทั่วไปของผู้ป่วย
พบว่ามีอาการระบบทางเดินหายใจ มีไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจ ล้าบากเหนื่อย หอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส
ในกรณีที่อาการรุนแรงมาก อาจท้าให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดอักเสบ ไตวาย หรืออาจเสียชีวิต
โรคโควิด 19 การแพร่กระจายเชื้อพบว่าโรคชนิดน้ีมีความเป็นไป ได้ที่มีสัตว์เป็นแหล่ง รังโรค ส่วนใหญ่
แพร่กระจายผ่านการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อผ่านละอองเสมหะลูก การไอ น้ามูก น้าลาย ปัจจุบัน ยังไม่มีหลักฐาน
สนับสนุนการแพร่กระจายเชื้อผ่านทางการพื้นผิวสัมผัสท่ีมีไวรัสแล้ว มาสัมผัส ปาก จมูกและตา สามารถแพร่เช้ือ
ผ่านทางเชื้อที่ถูกขับถ่ายออกมากับอุจจาระเข้าสู่อีกคนหนึ่งโดย ผ่านเข้าทางปาก ( Feco-oral route)
ได้ด้วยการรักษาพบว่ายังไม่มียาส้าหรับป้องกันหรือรักษาโคโควิด 19 ผู้ที่ติดเชื้ออาจต้องได้รับการรักษา
แบบประคับประคองตามอาการ โดยอาการท่ีมีแตกต่างกัน บางคนรุนแรง ไม่มากลักษณะเหมือนไข้หวัดทั่วไป
บางคนรุนแรงมากท้าให้เกิดปอดอักเสบได้ ต้องสังเกตอาการใกล้ชิด ร่วมกับการรักษาด้วยการประดับ ประคอง
อาการจนกว่าจะพ้นอาการช่วงนั้นและยังไม่มียาตัวใดที่มี หลักฐานชัดเจนว่า รักษาโรคโควิด 19 ได้ โดยตรง
กลมุ่ เสย่ี งโดยตรงท่ีอาจสัมผัสกับเช้ือ ได้แก่ ผู้ที่เพ่ิงกลับ จากพ้ืนท่ีเสี่ยง สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยสงสัยติดเช้ือ กลุ่มเส่ียง
ที่ต้องระวัง หากติดเชื้ออาจมีอาการรุนแรง ได้แก่ ผู้สูงอายุ 70 ปีข้ึนไป ผู้ป่วยโรคเร้ือรัง เช่น เบาหวาน ความดัน
โลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ ภูมิแพ้ เด็กเล็ก อายุต้่ากว่า 5 ปี ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก (2563) ได้กล่าวถึง
วธิ ปี ้องกนั การติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ดงั นี้
1. หลกี เลย่ี งการใกล้ชิดกบั ผู้ป่วยที่มีอาการไอ จาม นา้ มูกไหล เหนือ่ ยหอบ เจบ็ คอ
2. หลีกเลยี่ งการเดนิ ทางไปในพนื้ ท่ีเส่ียง
3. สวมหนา้ กากอนามัยทกุ ครงั้ เมอ่ื อยใู่ นทีส่ าธารณะ
4. ระมัดระวังการสัมผัสพ้ืนผิวที่ไม่สะอาด และอาจมีเชื้อโรคเกาะอยู่ รวมถึงส่ิงที่มีคนจับบ่อยคร้ัง
เช่น ท่ีจับบน BTS, MRT, Airport Link ที่เปิด-ปิดประตูในรถ กลอนประตูต่าง ๆ ก๊อกน้า ราวบันได ฯลฯ เมื่อจับ
แล้วอย่าเอามือสัมผัสหน้า และข้าวของเคร่ืองใช้ส่วนตัวต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ กระเป๋า ฯลฯ ล้างมื อ
ให้สม้่าเสมอด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจล อย่างน้อย 20 วินาที ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ไม่ต่้ากว่า 70%
(ไม่ผสมน้า)
5. งดจับตา จมูก ปากขณะท่ีไม่ได้ลา้ งมอื
6. หลีกเล่ียงการใกล้ชดิ สัมผัสสัตวต์ ่าง ๆ โดยทไ่ี ม่มกี ารป้องกนั
7. รบั ประทานอาหารสุก สะอาด ไมท่ านอาหารท่ีทา้ จากสตั ว์หายาก
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ัติของสถานศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 1
8. ส้าหรับบุคลากรทางการแพทย์หรือผู้ท่ีต้องดูแลผู้ป่วยท่ีติดเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือ
โควิด-19 โดยตรง ควรใส่หน้ากากอนามัย หรือใส่แว่นตานิรภัย เพ่ือป้องกันเชื้อในละอองฝอยจากเสมหะ หรือ
สารคัดหลง่ั เขา้ ตา
วิธปี ฏบิ ตั หิ ากมีอาการโควิด 19 หากมีอาการของโรคท่ีเกิดข้ึนเกิน 5 ข้อขึ้นไป ควรพบแพทย์ เพื่อท้าการ
ตรวจอย่างละเอียด และเมื่อแพทย์ซักถามควรตอบตามความเป็นจริง ไม่ปิดบัง ไม่บิดเบือน ข้อมูลใด ๆ เพราะจะ
เป็น ประโยชน์ต่อการวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้องมากที่สุด และหากเดินทางไปกลับจาก พ้ืนที่เสี่ยง ควรกักตัวเองอยู่
แต่ในบ้าน ไมอ่ อกไปขา้ งนอกเป็นเวลา 14-27 วัน เพอ่ื ใหผ้ า่ นช่วงเชอ้ื ฟกั ตวั (ให้แน่ใจจริง ๆ ว่าไมต่ ิดเชอ้ื )
กระทรวงศึกษาธิการ (2564) ได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้สถานศึกษาในสังกัด
และในก้ากับของกระทรวงศึกษาธิการปิดเรียนด้วยเหตุพิเศษ ความว่าเน่ืองด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดใหม่
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีการแพร่ระบาดรุนแรงหลายพื้นที่ในประเทศไทย
กระทรวงศึกษาธิการตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิต ของนักเรียน นักศึกษา ที่จะได้รับผลกระทบจาก การแพร่
ระบาดดังกล่าว อีกทั้งเพื่อลดปัจจัยเส่ียงและลดโอกาส การแพร่ระบาดใหม่ของ โรคติดเช้ือไวรัสโค โรนา 2019
(COVID-19) จึงอาศัยอ้านาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 45 วรรคหน่ึง (1) แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2556 ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 ประกอบมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดิน พ.ศ. 2534 ข้อ 9 วรรคหนึ่ง (4) ของระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการศึกษา การเปิดและปิด
สถานศึกษา พ.ศ. 2559 ซ่งึ แก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบับท่ี 2)
แผนเผชญิ เหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 2
บทบาท และภารกจิ ของโรงเรยี น การจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ในระดบั โรงเรียน
ผู้บริหารโรงเรียนและครูถือเป็นกลไกหลักในการบริหารจัดการ ท้ังการเรียมความพร้อมก่อนเปิด
ภาคเรียนและการด้าเนินการจัดการเรียนการสอนในระหว่างเปิดภาคเรียน จากการท่ีส้านักงาน คณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ได้จัดท้าแนวทางการจัดการเรียนการสอนใน สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 เพ่ือเป็นแนวทางในการ
ขับเคล่อื นนโยบายการจดั การเรียนการสอนไปสู่การปฏิบัติ ให้เกิดความพร้อม ในด้านบริหารจัดการของหน่วยงาน
ทีเ่ กย่ี วขอ้ งในทุกระดับ ส้าหรบั บทบาทและภารกิจของโรงเรียนตอ้ งด้าเนนิ การตามบริบทของพื้นที่นั้น โดยค้านึงถึง
มาตรการความปลอดภัยด้านสุขภาพของครู นักเรียนและ ผู้ที่เก่ียวข้องเป็นส้าคัญ ประกอบด้วยการด้าเนินการ
ใน 2 ระยะ ดังนี้
ระยะการเตรยี มความพร้อม (ตามแนวปฏบิ ัติของ สพฐ.) (วนั ท่ี 23 เมษายน - 31 พฤษภาคม 2564)
แบง่ บทบาทออกเปน็ 3 ช่วง ดงั นี้
ชว่ งท|ี่ 1 : ระหว่างวันท่ี 23 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2564
1. ประสานงานกับส้านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพ่ือวิเคราะห์สภาพ ปัญหา
และแนวทางการด้าเนินการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา
2019 (COVID - 19) กอ่ นเปิดภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
2. รายงานผลการส้ารวจความพร้อมการจัดการเรียนการสอนรูปแบบต่าง ๆ ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVD - 19) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ต่อส้านักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐานและสา้ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาทราบ
3. สรุปข้อมูลความพร้อมการจัดการเรียนการสอนรูปแบบต่าง ๆ ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรค
ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของโรงเรียน เพ่ือน้าเสนอต่อศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) จังหวัด (ศบค.จังหวัด) ส้านักงานสาธารณสุข จังหวัด
และหน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ งอื่น ๆ ทราบ
แผนเผชิญเหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 3
ช่วงท่ี 2 : ระหว่างวันท่ี 6 - 16 พฤษภาคม 2564
1. ประชุมช้ีแจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ให้แก่ ครู นักเรียนผู้ปกครอง
คณะกรรมการสถานศกึ ษา และผูเ้ ก่ียวข้องอื่น ๆ ไดร้ ับทราบ
2. ประสานความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพ่ือเปิด
โอกาสให้ทกุ ภาคสว่ นได้มสี ่วนรว่ มในการวางแผนและดา้ เนนิ การจดั การเรียนการสอนของโรงเรยี น
3. ก้าหนดและวางแผนการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของโรงเรียน ร่วมกับส้านักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ในชมุ ชน
4. วางแผนการจัดการเรียนการสอนในระดับช้ันเรียน โดยน้าข้อมูลผลการส้ารวจความพร้อมการจัด
การเรยี นการสอนรูปแบบต่าง ๆ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVD - 19)
ทส่ี ้านักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานดา้ เนินการส้ารวจสภาพความพร้อมของ โรงเรียน มาใช้เป็นหลักใน
การก้าหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ตามแนวทาง 5 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบ On - site,
On - air, On - demand, Online และ On - hand รวมถึงการจัด กล่มุ นักเรียน สา้ หรบั การจดั กจิ กรรมการเรียน
การสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ท้ังรูปแบบ On – site ร่วมกับรูปแบบการเรียนการสอนทางไกล
(Distance Learning อน่ื ๆ) โดยค้านงึ ถึงสภาพความ พรอ้ มและบริบทของโรงเรยี น
5. เตรียมความพร้อมด้านสื่อ อุปกรณ์ และเคร่ืองมือส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ส้าหรับครูและบุคลากร
ทีเ่ กี่ยวข้อง เพ่ือให้สามารถจัดการเรียนการสอนตามรปู แบบการเรยี นการสอนท่ีก้าหนดไว้
6. จัดเตรียมทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอนให้กับครูและนักเรียน ส้าหรับใช้ในการจัดการเรียน
การสอนใหม้ ีประสิทธิภาพ เช่น สอื่ การเรยี นการสอน ใบงาน แบบฝึกหดั เปน็ ต้น
7. ติดตาม ดูแลนักเรียนให้เป็นไปตามมาตรการเฝ้าระวังแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) ของกระทรวงสาธารณสุข
8. ซักซ้อมความเข้าใจ ครู นักเรียน และผู้ปกครองถึงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เพื่อทบทวนและตรวจสอบการเตรียมความ
พร้อมในการจัดการเรียนการสอนก่อนเปิดภาคเรยี น
9. จัดท้าช่องทางสื่อสารและประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ครู นักเรียน ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการ
จัดการเรียนการสอน ให้สามารถเข้าถึงแหล่งบริการสื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อใช้จัดการเรียนการสอน
ในช้ันเรียน และเรียนรู้ด้วยตนเองจากที่บ้าน (Learn From Home) หรือการตอบ ค้าถาม ให้ค้าปรึกษาการ
จดั การเรยี นการสอนของนักเรียนทีบ่ ้าน โดยโรงเรียนจัดช่องทางการตดิ ตอ่ สื่อสาร
แผนเผชญิ เหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ัติของสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 4
ชว่ งท่ี 3: ระหวา่ งวันที่ 17 พฤษภาคม - 13 มิถนุ ายน 2564 การดาเนนิ การกอ่ นเปิดภาคเรียน
1. ประสานการด้าเนินงานระหว่างหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมในการ
ดา้ เนนิ การก่อนเปิดภาคเรียน โดยมกี ารด้าเนนิ การดังน้ี
1.1 ประสานงานกับ ศบค.จังหวัด ส้านักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล และหน่วยงาน
ท่ีเก่ียวข้องอ่ืนๆ เพื่อน้าข้อมูลมาใช้วางแผนและเตรียมการด้าเนินการภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) และเตรียมแนวทางการรับมือสถานการณ์ฉุกเฉิน
ทอี่ าจเกดิ ข้นึ ภายในโรงเรียน
1.2 ประชมุ ชแ้ี จงผบู้ รหิ าร ครู บคุ ลากรทีเ่ กย่ี วขอ้ งในโรงเรียนให้มีความเข้าใจและด้าเนินการไป
ในทิศทาง เดียวกัน พร้อมทั้งทบทวนความเข้าใจ รับฟังปัญหาการด้าเนินงานของทุกภาคส่วนเพ่ือเตรียม
ความพรอ้ ม และเตรียมการวางแผนการจดั การเรยี นการสอนใหแ้ ล้วเสรจ็ กอ่ นเปิดภาคเรียน
1.3 ก้าหนดช่องทางการติดต่อสื่อสารและประสานงานกับระหว่างหน่วยงาน เช่น ระบบ Line
Group, Facebook, เว็บไซต์โรงเรยี น หรอื ช่องทางอื่น ๆ
- เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือจัดท้าสารสนเทศด้านการบริหารการจัดการ
ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) อย่างเป็น
ระบบ ให้สะดวกต่อการใช้งาน พร้อมท้ัง สรุปผลการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน
เพอื่ น้าเสนอไปยงั ตน้ สงั กดั
2. จัดหาทรพั ยากรในการจดั การเรียนการสอนส้าหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เพียงพอต่อการใช้
งานของครแู ละนักเรียนตามความจา้ เป็น เชน่ สือ่ การเรียนการสอน ใบงาน แบบฝกึ หัด เป็นตน้
3. ด้าเนินการประชาสัมพันธ์ และส่ือสารข้อมูลท่ีจ้าเป็นต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
ผา่ นช่องทางการส่อื สารของโรงเรยี นท่ีจดั ท้าข้ึน เพ่อื ใหค้ รู นักเรียน ผู้ปกครองและผทู้ ีเ่ ก่ยี วข้องกับการ จัดการเรียน
การสอน ได้รับทราบ และชี้แจง แนะน้าแหล่งบริการสื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัลส้าหรับเป็น เครื่องมือเพื่อใช้
จัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนและเรียนรู้ด้วยตนเองจากท่ีบ้าน (Learn From Home) เช่น ครูพร้อม.com,
OBEC Content Center, และแหลง่ เรียนร้อู น่ื ๆ
4. ด้าเนินการพัฒนาครูและบุคลากรโดยการจัดให้มีการอบรมครูและบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะดิจิทัล
และเทคนิคเกยี่ วกบั การใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน Online ผ่านโปรแกรมหรือ Application ต่าง ๆ
เพ่ือรองรับการจัดการเรียนการสอนในกรณีที่ไม่สามารถเปิดเรียนแบบ on-site ได้ รวมท้ังการใช้คลังสื่อดิจิทัล
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBEC Content Center) ที่จัดหมวดหมู่ไว้ตามระดับช้ัน/ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ทพ่ี ร้อมใหบ้ รกิ ารแกผ่ ู้บริหารโรงเรยี น ครู นกั เรยี นและผ้ปู กครอง โดยสามารถใชง้ านผ่านเวบ็ ไซต์ครูพรอ้ ม.Com
5. รายงานผลการบริหารจัดการตามบทบาทและภารกิจของโรงเรียน ตลอดจนความพร้อมในการจัดการ
เรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ต่อส้านักงาน
เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา
แผนเผชิญเหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 5
ระยะการจัดการเรียนการสอน (ต้ังแต่วนั ที่ 14 มิถนุ ายน 2564 เปน็ ต้นไป)
1. ด้าเนินงานการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) ตามการวางแผนการจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นเรียนด้วยรูปแบบการจัดการ เรียนการสอน
ตามแนวทาง 5 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบ On - site, On - air, On - demand, Online และ On - hand รวมถึง
รปู แบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) อน่ื ๆ
2. วเิ คราะห์ สภาพปัญหาและก้าหนดแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการจัดการเรียนการสอนในระดับช้ัน
เรียนเพื่อใหไ้ ด้ข้อมูลมาใชใ้ นปรบั ปรงุ กระบวนการจดั การเรียนการสอน
3. จดั ท้าปฏิทินการเย่ียมบ้านนักเรียนและผู้ปกครอง พร้อมท้ังก้าหนดวิธีการท่ีหลากหลายและเหมาะสม
เพ่อื ใหส้ ามารถสนบั สนุนการเรยี นรูข้ องนกั เรยี นได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
4. ก้าหนดเกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องนักเรียน ตามบรบิ ทของการจัดการเรียนการสอน
5. กา้ หนดเคร่ืองมือที่ใช้ในเก็บรวบรวมข้อมูลการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ในระดับช้ันเรียน และส้าหรับนักเรียนรายบุคคล ตลอดจนเก็บ
รวบรวมขอ้ มูลตามสภาพจริง และสรปุ ผลรายงานผลต่อผ้บู ริหารโรงเรียนและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
6. รับฟังปัญหา อุปสรรค ตลอดจนความคิดเห็น เพ่ือน้ามาปรับปรุงและพัฒนาการด้าเนินการของ
โรงเรยี น โดยจดั ใหม้ ชี อ่ งทางการสื่อสารท่ีหลากหลายและมีประสิทธภิ าพ
7. ให้ค้าปรึกษา ค้าแนะน้าและแก้ปัญหาในการด้าเนินงานการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ใหแ้ ก่ครู นกั เรียนและผูป้ กครอง
8. รวบรวมข้อมูล ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการด้าเนินการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เพ่ือน้ามาวิเคราะห์ สรุปและรายงานผล
การด้าเนินงานของโรงเรียน ตลอดจนปรับปรุงและพัฒนาการด้าเนินการของส้านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาอย่าง
ต่อเนอื่ ง
บทบาทของผูบ้ ริหารสถานศึกษา ครู นกั เรียนและผู้ปกครอง
บทบาทของผ้บู ริหารสถานศึกษา
1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติในแผนปฏิบัติเตรียมความพร้อมในการป้องกันการแพร่
ระบาดของโรคโควิด 19 ของสถานศึกษา
2. แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคล่ือนการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ปกี ารศึกษา 2564 ระดบั สถานศกึ ษา
3. สื่อสาร ประชาสมั พันธ์การป้องกนั โรคโควิด 19 เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และ
การจัด การเรียนการสอนให้แก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผ่าน
ช่องทางส่ือทีเ่ หมาะสมและติดตามข้อมลู ข่าวสารท่เี กย่ี วข้องกับโรคโควดิ 19 จากแหล่งขอ้ มูลทเี่ ชอ่ื ถือได้
แผนเผชญิ เหตุ การเฝา้ ระวังและแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 6
4. มีมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณทางเข้าไปในสถานศึกษา (Point of entry) ให้แก่
นักเรียน ครูและบุคลากร ผู้มาติดต่อ โดยจัดให้มีพ้ืนท่ีแยก อุปกรณ์การป้องกัน เช่น หน้ากากผ้าหรือ
หนา้ กากอนามัย เจลแอลกอฮอลอ์ ย่างเพยี งพอ
5. พิจารณาการจัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพ เหมาะสมตามบริบท
อย่างต่อเนื่อง สามารถตรวจสอบ ติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย ตลอดจนการปิดสถานศึกษา
หรือ การจัดให้มีการเรียนทางไกล สื่อออนไลน์ การติดต่อทางโทรศัพท์ Social media โดยติดตามเป็น
รายวนั หรอื สปั ดาห์
6. กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเส่ียงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามาใน
สถานศึกษาให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อด้าเนินการสอบสวนโรคและพิจารณาปิด
สถานศึกษาตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข
7. มีมาตรการใหน้ กั เรียนไดร้ ับอาหารกลางวนั และอาหารเสริมนม ตามสิทธทิ ี่ควรได้รบั กรณพี บ
อยู่ในกลมุ่ เสยี่ งหรือกักตัว
8. ควบคุม ก้ากับ ตดิ ตาม และตรวจสอบการด้าเนนิ การตามมาตรการป้องกนั การแพร่ระบาด
ของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษาอยา่ งเครง่ ครัดและต่อเน่ือง
บทบาทของครแู ละบคุ ลากร
1. ร่วมก้าหนดแนวปฏิบัติในแผนปฏิบัติเตรียมความพร้อมเพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดของ
โรคโควิด 19 ของสถานศกึ ษา
2. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พ้ืนที่เสี่ยง ค้าแนะน้าการป้องกัน
ตนเองและลดความเส่ยี งจากการแพร่กระจายของเช้ือโรคโควดิ 19 จากแหล่งขอ้ มูลที่เชื่อถือได้
3. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจล้าบาก เหน่ือยหอบ
ไม่ได้กล่ินไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด
19 หรือกลับจากพื้นท่ีเส่ียงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามค้าแนะน้าของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่าง
เครง่ ครัด
4. แจ้งผู้ปกครองและนักเรียน ให้น้าของใช้ส่วนตัวและอุปกรณ์ป้องกันมาใช้เป็นของตนเอง เช่น
ช้อน ส้อม แก้วน้า แปรงสีฟนั ยาสฟี นั ผ้าเชด็ หนา้ หน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัย เป็นตน้
5. สอื่ สารความรู้ คา้ แนะนา้ หรือจดั หาสอื่ ประชาสัมพนั ธใ์ นการป้องกันและลดความเสี่ยงจากการ
แพร่กระจายโรคโควิด 19 ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือ
หน้ากาก อนามยั ค้าแนะนา้ การปฏิบัตติ ัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การท้าความสะอาด หลีกเลี่ยงการ
ท้ากจิ กรรม ร่วมกนั จ้านวนมากเพือ่ ลดความแออัด
6. ท้าความสะอาดส่ือการเรียนการสอนหรืออุปกรณ์ของใช้ร่วมที่เป็นจุดสัมผัสเส่ียงทุกคร้ังหลัง
ใช้งาน
แผนเผชญิ เหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 7
7. ควบคุมดูแลการจัดท่ีนั่งในห้องเรียน ระหว่างโต๊ะเรียน ที่นั่งในโรงอาหาร การจัดเว้น
ระยะห่าง ระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร หรือเหลื่อมเวลาพักกินอาหารกลางวัน และก้ากับ
ให้ นกั เรียน สวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามัยตลอดเวลาและล้างมือบอ่ ย ๆ
8. ตรวจสอบ ก้ากับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุ่มเส่ียง
ตอ่ การติดโรคโควดิ 19 และรายงานต่อผบู้ ริหารทราบเพ่ือหาแนวทางดา้ เนินการแก้ไขปัญหาต่อไป
9. ท้าการตรวจคดั กรองสขุ ภาพทุกคนที่เข้ามาในสถานศึกษาในตอนเช้า ท้ังนักเรียน ครู บุคลากร
ผู้ปกครองและผู้มาติดต่อโดยใช้เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกาย ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ กรณีพบนักเรียน
หรือผมู้ ีอาการมไี ข้ อุณหภมู ริ ่างกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสข้ึนไป ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจ
อย่างใดอย่างหน่ึง จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วน ให้รีบแจ้งผู้ปกครองมารับ และพาไปพบแพทย์ ให้หยุดพัก
ท่ีบ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ พร้อมแจ้งเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขเพ่ือประเมิน สถานการณ์และด้าเนินการ
สอบสวนโรคและแจ้งผู้บริหารเพื่อพิจารณาการปิดสถานศึกษาตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข
บันทึกผลการคัดกรองและส่งต่อประวัติการป่วยตามแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ จัดอุปกรณ์การล้างมือ
พร้อมใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้ทุกห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ สบู่ล้างมือบริเวณ
อ่างล้างมอื
10. ครูส่ือสารความรู้เกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติท่ีเกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติที่มี
การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และน้ากระบวนการการจัดการความเครียด การฝึกสติให้กลมกลืน
และ เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัย ร่วมกับการฝึกทักษะชีวิตที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ
(Resilience) ใหก้ บั นกั เรยี น ไดแ้ ก่ ทกั ษะชวี ิตด้านอารมณ์ สงั คม และความคิด เป็นต้น
11. กรณคี รูสังเกตพบนักเรียนท่ีมีปัญหาพฤติกรรม เช่น เด็กสมาธิส้ัน เด็กที่มีความวิตกกังวลสูง
อาจมีพฤติกรรมดูดนิ้ว หรือกัดเล็บ ครูสามารถติดตามอาการและน้าเข้า ข้อมูล ท่ีสังเกตพบในฐานข้อมูล
ดา้ น พฤติกรรมอารมณ์สงั คมของนักเรียน เพื่อใหเ้ กดิ การดแู ลชว่ ยเหลือร่วมกบั ผเู้ ชี่ยวชาญ ด้านสุขภาพจิต
ตอ่ ไป
12. ครสู ังเกตอารมณ์ความเครียดของตัวท่านเอง เนื่องจากภาระหน้าท่ีการดูแลนักเรียนจ้านวน
มากและก้ากับให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดโรคโควิด 19 เป็นบทบาทส้าคัญ อาจจะสร้าง
ความเครียดวิตกกังวล ทั้งจากการเฝ้าระวังนักเรียน และการป้องกันตัวท่านเองจากการสัมผัสกับเชื้อโรค
ดงั นน้ั เมื่อครูมคี วามเครียด จากสาเหตุต่าง ๆ มขี อ้ เสนอแนะ ดงั นี้
12.1 ความสับสนมาตรการของสถานศึกษาท่ีไม่กระจ่างชัดเจน แนะน้าให้สอบถามกับ
ผ้บู รหิ าร หรอื เพือ่ นร่วมงาน เพื่อให้เขา้ ใจบทบาทหนา้ ที่และข้อปฏบิ ตั ิทตี่ รงกัน
12.2 ความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในสถานศึกษา พูดคุยส่ือสารถึงความไม่สบายใจ
ร้อง ขอสิ่งจ้าเป็นส้าหรับการเรียนการสอนท่ีเพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคโควิด 19
เช่น สถานที่ ส่ือการสอน กระบวนการเรียนรู้ การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น หากท่าน
เปน็ กลมุ่ เส่ยี ง มีโรคประจา้ ตวั สามารถ เขา้ สู่แนวทางดแู ลบุคลากรของสถานศกึ ษา
แผนเผชิญเหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 8
12.3 จัดให้มีการจัดการความเครียด การฝึกสติเป็นกิจวัตรก่อนเร่ิมการเรียนการสอน
เพอื่ ลด ความวติ กกังวลตอ่ สถานการณ์ทตี่ งึ เครยี ดน้ี
บทบาทของนักเรยี น
1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พ้ืนท่ีเสี่ยง ค้าแนะน้าการป้องกัน
ตนเองและ ลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของเชอ้ื โรคโควดิ 19 จากแหล่งข้อมลู ท่เี ชื่อถอื ได้
2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจล้าบาก เหน่ือยหอบ
ไม่ได้กลิน่ ไมร่ ูร้ ส รบี แจ้งครหู รือผู้ปกครองใหพ้ าไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด 19
หรือกลับจากพื้นท่ีเส่ียงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามค้าแนะน้าของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขอย่าง
เคร่งครดั
3. มีและใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้ร่วมกับผู้อ่ืน เช่น ช้อน ส้อม แก้วน้า แปรงสีฟัน ยาสีฟัน
ผ้าเชด็ หน้า หนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัย และทา้ ความสะอาดหรือเก็บให้เรยี บร้อยทุกคร้งั หลังใช้งาน
4. กรณีนักเรียนดื่มน้าบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และท้าเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์
เฉพาะ ไม่ให้ปะปนกบั ของคนอืน่
5. หมั่นล้างมือบ่อย ๆ ด้วยวิธีการล้างมือ 7 ข้ันตอน อย่างน้อย 20 วินาที ก่อนกินอาหาร
หลัง ใช้ส้วมหลีกเลี่ยงใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จ้าเป็น รวมถึงสร้างสุขนิสัยท่ีดีหลังเล่นกับ
เพอื่ น เมอ่ื กลบั มาถึงบา้ น ต้องรบี อาบนา้ สระผม และเปลยี่ นเสอื้ ผ้าใหม่ทนั ที
6. เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการท้ากิจกรรมระหว่างเรียน ช่วงพัก
และหลังเลิกเรยี น เช่น นงั่ กนิ อาหาร เลน่ กับเพื่อน เข้าแถวตอ่ ควิ ระหว่างเดินทางอยบู่ นรถ
7. สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยู่ในสถานศึกษา และหลีกเลี่ยงการไป
ใน สถานทที่ แี่ ออัดหรือแหล่งชมุ ชนที่เสี่ยงต่อการติดโรคโควิด 19 หากมีความจ้าเป็นควรสวมหน้ากากผ้า
หรอื หนา้ กากอนามัย
8. ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ด้วยการกินอาหารปรุงสุก ร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผัก
ผลไม้ 5 สี เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ให้ผู้ปกครองจัดเตรียมอาหารเช้าแทนการมาซื้อที่บริเวณหน้าโรงเรียน
รวมถงึ ออกกา้ ลงั กาย อยา่ งน้อย 60 นาที ทุกวัน และนอนหลับอย่างเพยี งพอ 9 - 11 ช่ัวโมงตอ่ วนั
9. กรณีนักเรียนขาดเรียนหรือถูกกักตัว ควรติดตามความคืบหน้าการเรียนอย่างสม้่าเสมอ
ปรึกษา ครู เชน่ การเรยี นการสอน สอื่ ออนไลน์ อ่านหนังสอื ทบทวนบทเรยี น และทา้ แบบฝกึ หัดทบ่ี า้ น
10. หลีกเลี่ยงการล้อเลียนความผิดปกติ หรืออาการไม่สบายของเพื่อนที่ได้รับผลกระทบ
เน่ืองจากอาจจะก่อให้เกิดความหวาดกลัวมากเกินไปต่อการป่วยหรือการติดโรคโควิด 19 และเกิด
การแบ่งแยกกีดกนั ในหมนู่ กั เรยี น
แผนเผชญิ เหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 9
บทบาทของผู้ปกครองนกั เรยี น
1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พื้นท่ีเสี่ยง ค้าแนะน้า
การป้องกันตนเองและลดความเสย่ี งจากการแพร่กระจายของโรคจากแหลง่ ข้อมลู ท่เี ชื่อถือได้
2. ตรวจวัดไข้นักเรียนก่อนมาโรงเรียนด้วยปรอทวัดไข้ ถ้ามีอาการไข้ ไม่สบาย จาม มีน้ามูก
หายใจเหน่ือยหอบ หรือสงสัย ให้แจ้งครูประจ้าชั้นทราบในช่องทางต่างๆ ได้แก่ ระบบบริหารโรงเรียน
(School Bright), Line หรือโทรศัพท์ และน้านักเรียนพบแพทย์ หรือเข้ารับการตรวจในสถานพยาบาล
ต่อไป จนกว่าจะไมม่ อี าการจงึ ใหน้ กั เรียนมาโรงเรียนได้
3. เตรยี มอาหารเช้า ให้นกั เรียนรบั ประทานก่อนมาโรงเรยี น หลกี เล่ียงการมาซ้ืออาหารหน้า
โรงเรยี น เพ่ือลดความแออัด
4. จัดเตรียม และตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน หน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์แบบพกพา
Face Shield (ถา้ ม)ี และน้าด่ืม ให้กบั นักเรียนทุกวันที่มาเรยี น
5. การเดนิ ทางมาโรงเรียนของนกั เรยี น
5.๑) นักเรียนเดินทางโดยรถรับจ้าง เช่น รถตู้ หรือรถบัสโดยสาร โรงเรียนประสาน
ผู้ปกครอง ขอความร่วมมือกับคนขับรถให้รับนักเรียนไม่เกินร้อยละ ๗๐ ของจ้านวนที่น่ังให้ใส่
หน้ากากอนามัย ทุกครั้งขณะ ขับรถ ท้าความสะอาดรถ เบาะที่น่ัง ก่อนรับนักเรียนในช่วงตอน
เช้า และส่งนักเรียนในช่วงตอนเย็นอย่างเคร่งครัด โดยทางโรงเรียนจะประสานเจ้าหน้าที่ต้ารวจ
และโรงพยาบาลสระบุรีมาแนะน้าการปฏิบัติเพ่ือร่วมป้องกันการแพร่เชื้อให้กับคนขับ รถหรือ
เจ้าของรถตอ่ ไป
5.๒) ผู้ปกครองมาส่งด้วยตัวเองด้วยรถยนต์ส่วนตัว ให้จัดเตรียมกระเป๋านักเรียน
และอื่นๆ ที่เก่ียวข้องให้พร้อมท่ีจะลงรถได้ทันที และก้าชับให้บุตร-หลานใส่หน้ากากอนามัยก่อน
ลงรถ โดยจะมีครูเวร และอาสาจราจรคอยรบั และอา้ นวยความสะดวก โรงเรียนก้าหนดมาตรการ
ขอความร่วมมือจากผู้ปกครองชั้นอนุบาลปีท่ี ๒ ที่โรงเรียนอนุญาตให้เข้ามาส่งบุตร-หลาน
ในโรงเรียนได้ให้ใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้ง ท่ีมาส่งนักเรียน และท้าตามกฎระเบียบของโรงเรียน
ได้แก่ ผ่านจุดคัดกรอง (Point of entry) รับการติดสต๊ิกเกอร์แสดงผ่านการคัดกรอง และให้เม่ือ
ส่งเสร็จแล้วให้รีบกลับโดยเร็ว เพื่อลดการแออัด โดยให้ปฏิบัติเน้นระยะห่างทางสังคม (Social
Distancing) อยา่ งเคร่งครดั
5.๓) เมื่อนักเรียนเดินทางถึงโรงเรียน กรณีท่ีผู้ปกครองมาส่งที่โรงเรียน และมีความ
ประสงค์ขอเข้าบริเวณโรงเรียน (นอกเหนือจากช้ันอนุบาลปีที่ ๒) แจ้งเหตุผลความจ้าเป็นกับครู
เวรประจ้าวัน หรือยาม เม่ือได้รับอนุญาตแล้วให้ผ่านจุดคัดกรอง (Point of entry) จะได้รับ
การติดสติ๊กเกอร์แสดงผ่านการคัดกรอง และให้ท้าภารกิจให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว โดยให้ปฏิบัติเน้น
ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) อย่างเครง่ ครัด
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวังและแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 10
แนวปฏบิ ตั กิ ารดูแลดา้ นอนามยั และส่ิงแวดล้อมของโรงเรยี นในระหว่างเปิดภาคเรยี น
1. เมื่อมาถึงโรงเรียนนักเรียนต้องใส่หน้ากากอนามัย เดินเป็นแถวผ่านประตูโรงเรียน (Point of entry)
ประตทู ่ี ๑ และประตูที่ ๒ ซ่ึงจะมีประตูละ ๓ ช่องทาง คุณครูเวรประจ้าวันด้าเนินการตรวจคัดกรอง โดยเดินผ่าน
ตามจุดที่มีการเว้นระยะ ตามทางเดิน จุดที่ ๑ ตรวจวัดอุณหภูมิ และจุดที่ ๒ ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์
และแสกนควิ อารโ์ คด้ หรือลงทะเบียนก่อนเขา้ โรงเรียน
ท้ังน้ีขณะท้าการคัดกรองหากพบนักเรียนมีอาการไข้ จาม มีน้ามูก หายใจเหนื่อยหอบ ให้กักตัวไว้
ในสถานทที่ ่จี ัดเตรียมไว้ (ห้องคลินกิ ภาษาองั กฤษ) ประสานงานแจ้งผปู้ กครองรบั นกั เรียนกลับไปพบแพทย์
2. เม่ือผ่านจุดคัดกรองแล้ว นักเรียนสามารถเดินไปยังห้องเรียนได้เอง ยกเว้น นักเรียนชั้นอนุบาลปีท่ี ๒
อนญุ าตใหผ้ ปู้ กครองทผี่ า่ นการคดั กรองและมสี ต๊ิกเกอร์แสดงการคดั กรองเข้ามาส่งนักเรียนได้ และเม่ือส่งเรียบร้อย
แลว้ ให้รีบกลับทันที
3. ข้าราชการครู และบุคลากร ที่ขับรถยนต์ส่วนตัวมาในช่วงเช้า ให้เข้าประตูด้านข้าง (ซอยวัดดาวเสด็จ)
ประตจู ะเปิด-ปิด เวลา ๐๖.๔๕ - ๐๗.๔๕ น. ส่วนตอนเย็นจะเปิด - ปิด เวลา ๑๖.๔๕ - ๑๗.๓๐ น. และเมื่อมาถึง
สถานท่ีสแกนเวลาปฏิบัติงาน ให้ตรวจวัดไข้ก่อน แล้วจึงสแกนเวลาปฏิบัติงาน ถ้ามีไข้ ไม่สบาย จาม มีน้ามูก
หายใจเหน่อื ยหอบ หรอื สงสยั ให้กลบั บ้านได้
กรณีครูชาวต่างชาติ ซึ่งเดินทางกลบั ประเทศตนเองในช่วงปิดภาคเรียน และเป็นประเทศท่ีอยู่ในกลุ่มเส่ียง
เมื่อเดนิ ทางกลับมาตอ้ งผ่านกระบวนการการคดั กรอง การเฝา้ ระวงั และการกกั ตวั ของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยมี
หลักฐานเอกสารมายนื ยันกับทางโรงเรยี นกอ่ น จงึ อนุญาตใหท้ ้าการสอนได้
หมายเหตุ ประตูใหญ่ ประตูที่ ๑ จะปิดช่วงเช้านักเรียนเข้ามาโรงเรียนถึงเวลา ๐๘.๑๕ น. และช่วงหลัง
เลิกเรียนเวลา ๑๔.๓๐ - ๑๗.๓๐ น. จะเปิดเวลา ๐๘.๑๕ - ๑๔.๓๐ น. โดยผู้ที่จะน้ารถยนต์เข้ามาต้องผ่านจุด
คัดกรอง (Point of entry) ก่อน ท้ังนี้โรงเรียนอนุญาตให้ผู้ปกครองน้ารถยนต์เข้ามารับบุตร-หลานได้ หลังเวลา
๑๘.๐๐ น. เปน็ ต้นไป
4. กจิ กรรมหนา้ เสาธง โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมหนา้ เสาธง ไดห้ ลายรูปแบบแลว้ แตส่ ถานการณ์ ดังน้ี
๔.๑ จัดนักเรียนเข้าแถว และมีกิจกรรมหน้าเสาธงตามปกติ แต่ต้องมีมาตรการเว้นระยะทาง
สังคม (Social Distancing)
๔.๒ จดั นกั เรยี นเข้าแถวบนถนน แต่ต้องมมี าตรการเวน้ ระยะทางสงั คม (Social Distancing)
๔.๓ ให้นักเรียนเข้าแถว ที่โต๊ะเรียนในห้องเรียน โดยดูและร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงผ่านโทรทัศน์
วงจรปิด หรือให้นักเรียนเข้าแถว หน้าห้องเรียน มีกิจกรรมหน้าเสาธงผ่านทางเครื่องขยายเสียง เน้นเว้นระยะห่าง
ทางสงั คม (Social Distancing)
๕. การจดั สภาพแวดล้อมในหอ้ งเรียน และห้องปฏิบัตกิ าร
๕.๑. จัดห้องเรยี นโดยมโี ตะ๊ เรียน จ้านวนไมเ่ กิน ๒๐ - ๒๕ ตัว โดยแต่ละตัวให้มีการเว้นระยะห่าง
ทางกายภาพ ตามสภาพของห้อง ถ้ามีความจ้าเป็นที่จะต้องจัดโต๊ะเรียนมากกว่าที่ก้าหนด ต้องมีมาตรการป้องกัน
เพม่ิ เติม ไดแ้ ก่ บนโต๊ะเรียนต้องมีฉากพลาสตกิ ใสก้ัน ใส่ Face Shield เป็นตน้
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 11
๕.๒ ท้าความสะอาดห้องเรียน โต๊ะเรียน และเก้าอ้ีทุกครั้งด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ ท้ังก่อนเรียน
พักกลางวัน และหลงั เรียน โดยมีการบนั ทกึ ข้อมูลอย่างเคร่งครดั
๕.๓ ต้งั จุดวางเจลแอลกอฮอล์ลา้ งมอื ในหอ้ งเรยี น (บริเวณโต๊ะครู หรือจุดท่เี หน็ สมควร)
๕.๔ ขณะท้าการสอน ครูผู้สอน และนักเรียนต้องใส่หน้ากากอนามัย หรือ Face Shield
ตลอดเวลา
๕.๕ ให้นักเรยี นเล่ยี งการยมื สิ่งของต่างๆ เชน่ อุปกรณก์ ารเรียนและของเลน่ จากเพ่ือน
๕.๖ งดการสมั ผสั ร่างกายซ่ึงกันและกันในทกุ กรณี
๖. การใชห้ อ้ งนา้ โรงเรยี น
๖.๑ มีครูและเจ้าหน้าท่ีคอยดูแลนักเรียนในการใช้ห้องน้าเป็นระยะๆ ท้ังในช่วงเวลาเรียนและ
นอกเวลาเรียน
๖.๒ ใหน้ ักเรียนสลับกันใช้ห้องน้า ตามความเหมาะสมของโรงเรียน โดยรอคิวและมีจุดเว้นระยะ
อย่างชัดเจน โดยโรงเรยี นเตรียมสบู่เหลววางไว้บริเวณอ่างลา้ งมือ หรือตามจดุ ท่ีก้าหนด
๖.๓ มีมาตรการในการท้าความสะอาด ฆ่าเชื้อ และบันทึกเวลาในการท้าความสะอาดห้องน้า
ทุกๆ ช่ัวโมง โดยมอบหมายครูเวรประจ้าวนั แมบ่ า้ น ลกู จ้างประจา้ ลกู จา้ งชั่วคราว ดา้ เนนิ การอยา่ งเคร่งครดั
๗. การล้างมือของนักเรียน
เนน้ ให้นักเรียนล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่เหลว ท้ังก่อนและหลังการรับประทานอาหาร หลังการเข้า
ห้องนา้ และก่อนกลบั บา้ น จนติดเป็นนิสยั ครูตอ้ งสอนนักเรียนล้างมือโดยเน้นวิธีการล้างมือ ๗ ข้ันตอน ๒๐ วินาที
ของกรมอนามัย โดยโรงเรยี นจดั เตรยี มไวต้ ามจุดตา่ งๆอยา่ งทัว่ ถึง
๘. การรับประทานอาหารกลางวนั
๘.๑ นกั เรยี นโครงการจดั การเรียนการสอนตามหลักสตู รกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ
(English Program) รับประทานอาหารท่ีโรงอาหารโดยเหล่ือมเวลาเป็น ๓ รอบ ดังน้ี รอบที่ ๑ ช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี ๑/๘-๒/๘ เวลา ๑๑.๑๐ น. รอบท่ี ๒ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓/๘-๔/๘ เวลา ๑๑.๓๐ น. และรอบท่ี ๓
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕/๘-๖/๘ เวลา ๑๑.๕๐ น. เน้นระยะหา่ งทางสงั คม (Social Distancing) อย่างเครง่ ครัด
๘.๒ นกั เรยี นโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑/๗ -
๔/๗ รับประทานอาหารกลางวนั ทห่ี ้องเรียน สว่ นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕/๗ และ ๖/๗ รับประทานอาหารกลางวัน
ท่ีชั้นล่าง อาคารนิลุบล เนน้ ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) อยา่ งเคร่งครดั
๘.๓ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๒ - ๓ เหลื่อมเวลาการรับประทานอาหารกลางวันท่ีโรงอาหารของ
ปฐมวัย ดังนี้ รอบท่ี ๑ ช้ันอนุบาลปีที่ ๒ เวลา ๑๐.๓๐ น.- ๑๑.๓๐ น. และรอบท่ี ๒ ช้ันอนุบาลปีที่ ๓ เวลา
๑๑.๓๐ น.- ๑๒.๐๐ น. เนน้ ระยะหา่ งทางสงั คม (Social Distancing) อย่างเครง่ ครัด
๘.๔ นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ ห้องเรียนปกติ รับประทานอาหารกลางวันท่ีห้องเรียน
เนน้ ระยะห่างทางสงั คม (Social Distancing) อยา่ งเคร่งครัด
๘.๕ นกั เรยี นใช้ชอ้ น ส้อม และแก้วนา้ ส่วนตวั
๘.๖ ท้าความสะอาดโตะ๊ และเก้าอีท้ ี่รบั ประทานอาหาร หลงั รับประทานอาหารทุกคร้ัง
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวังและแนวปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 12
๙. โรงครัว และสถานที่ประกอบอาหาร
๙.๑ มีมาตรการอย่างเข้มงวดในเร่ืองอุปกรณ์ภาชนะในการรับประทานอาหาร การท้าความ
สะอาดอย่างชัดเจน เช่น หลังจากการล้างภาชนะควรมีการน้าไปตากแสงแดดให้แห้งสนิท เพื่อเป็นการฆ่าเช้ือโรค
และจดั เกบ็ อยา่ งมิดชดิ
๙.๒ วัตถุดิบในการท้าอาหารจะต้องมีความสดใหม่ และปรุงสุก ถูกสุขลักษณะและท้าความ
สะอาดอย่างเคร่งครัดกอ่ นน้ามาปรงุ อาหาร
๙.๓ แม่ครัว ผู้ช่วยแม่ครัว ลูกจ้างเข็นอาหาร และล้างถาด ต้องใส่หน้ากากอนามัย และถุงมือ
ตลอดเวลาในขณะปฏิบัติงาน
๙.๔ ท้าความสะอาดโต๊ะและเก้าอี้ พ้ืนที่ประกอบอาหารด้วยน้ายาฆ่าเช้ือ ท้ังก่อนและหลัง
ประกอบอาหาร
๙.๕ มีมาตรการการท้ิงขยะ การคัดแยกขยะอย่างชัดเจน เช่น ขยะเปียก ขยะแห้ง และมีการ
กา้ จัดหลงั เลกิ เรยี นในทุกๆ วนั
๙.๖ จดั ครูเวรตรวจสอบคณุ ภาพอาหาร และความสะอาดตามหลกั สุขาภบิ าลทกุ วัน
๙.๗ จัดครู/เจ้าหน้าท่ีคอยดูแลอ้านวยความสะดวกในการกดน้าดื่มจากตู้ เน้นการเว้นระยะห่าง
ทางสังคมในการรบั บริการ
๑๐. การใชบ้ ริการรา้ นค้าสวัสดกิ ารโรงเรียน
๑๐.๑ จดั ทา้ จดุ สัญลกั ษณก์ ารใชบ้ รกิ ารเวน้ ระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing)
๑๐.๒ นกั เรียนเขา้ แถวรับบริการเว้นระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing) อย่างเคร่งครัด
๑๐.๓ ให้นักเรียนเข้าไปใช้บริการในจ้านวนท่ีไม่แออัดจนเกินไป หรือนักเรียนแจ้งรายการสินค้า
แลว้ ใหผ้ ู้ขายหยบิ สนิ ค้าให้ ทง้ั นแ้ี ลว้ แต่สถานการณ์ในเวลานั้นๆ เน้นเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing)
และลดความแออัด (Reducing)
๑๐.๔ เมอ่ื นกั เรียนใช้บรกิ ารแล้ว ใหล้ ้างมือดว้ ยเจลแอลกอฮอล์ที่รา้ นคา้ สวัสดิการไดเ้ ตรยี มไว้
๑๐.๕ ผู้ขายตอ้ งใสห่ น้ากากอนามัยตลอดเวลา และลา้ งมือด้วยเจลแอลกอฮลเ์ ปน็ ระยะๆ
๑๑. อปุ กรณ์การแปรงฟนั และแก้วนา้ ส่วนตัว
๖.๑๑.๑ ครูประจ้าช้นั จัดระเบียบการเว้นระยะในการจัดวางอปุ กรณ์
๖.๑๑.๒ งดการใช้ของร่วมกันของนกั เรียนและหลงั รบั ประทานอาหารกลางวนั
๖.๑๑.๓ ครปู ระจ้าช้ัน/ครเู วรประจา้ วัน น้านักเรยี นแปรงฟัน โดยเน้นการเวน้ ระยะหา่ งทางสังคม
๑๒. การนอนของนกั เรียนปฐมวยั
๖.๑๒.๑ จดั หอ้ งนอนใหม้ อี ากาศถ่ายเท เว้นระยะหา่ งทางสังคม
๖.๑๒.๒ งดใชเ้ คร่ืองปรับอากาศ
๖.๑๒.๓ ครูประจ้าชั้น/ครูพี่เล้ียง ก้ากับไม่ให้นักเรียนเล่นกันขณะนอน (นักเรียนถอดหน้ากาก
อนามัย)
แผนเผชญิ เหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 13
๑๓. การมารับนกั เรยี นกลบั บา้ น
๑๓.๑ ผู้ปกครองนักเรยี นช้ันอนบุ าลปีท่ี ๒ - ๓ ให้เข้าประตู ๒ ผ่านจุดคัดกรอง (Point of entry)
ของโรงเรียน โดยครูเวรประจ้าวัน หรือพี่เล้ียง ท้าหน้าที่คัดกรอง ผู้ปกครองรับนักเรียน ณ จุดรับ–ส่งท่ีแต่ละสาย
ชน้ั กา้ หนด เม่อื รับแลว้ ใหร้ บี กลบั ทันที
๑๓.๒ ผู้ปกครองนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๔ ให้เข้าประตู ๑ และ ๒ ตามอาคาร
ที่ บุตร – หลานเรียน ผ่านจุดคัดกรอง (Point of entry) ของโรงเรียน โดยครูเวรประจ้าวัน ติดต่อครู
ประจา้ ชนั้ ทาง Line หรอื โทรศพั ท์ แจง้ ให้นักเรยี นลงมาจากหอ้ งเรียนพบผปู้ กครองและเดนิ ทางกลับทันที
๑๓.๓ นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ – ๖ ติดตอ่ กับผูป้ กครองโดยตรง
๑๓.๔ ในกรณีทนี่ ักเรียนมาเรียนวนั เวน้ วัน โรงเรียนปลอ่ ยนกั เรียนกลับบ้านโดยมีการเหล่ือมเวลา
ระหว่างนักเรียนช้ันปฐมวัย กับนักเรียนช้ันประถมศึกษา โดยช้ันปฐมวัย เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. ส่วนชั้น
ประถมศึกษา เวลา ๑๖.๓๐-๑๗.๓๐ น. ทางเข้า ๑ ช่องทาง และทางออก ๑ ช่องทาง ส่วนในกรณีที่เปิดเรียนเต็ม
รูปแบบ โรงเรียนปล่อยนักเรียนกลับบ้านโดยมีการเหล่ือมเวลา ระหว่างนักเรียนช้ันปฐมวัย กับนักเรียน
ชน้ั ประถมศึกษา โดยชั้นปฐมวัย เวลา ๑๕.๐๐-๑๗.๐๐ น. ส่วนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-๒ เวลา ๑5.๓๐-๑6.๓๐
น. และช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๓-6 เวลา ๑๖.๓๐-๑๗.๓๐ น. ทางเขา้ ๑ ชอ่ งทาง และทางออก ๑ ชอ่ งทาง
หมายเหตุ ในช่วงระยะเวลาที่มารับนักเรียน นักเรียนอาจจะหิว เน่ืองจากเลิกเรียนเวลา ๑๖.๓๐ น.
ขอให้ผู้ปกครองได้เตรียมอาหารหรอื ของว่างให้นักเรียน หลีกเลี่ยงการซ้ืออาหารบริเวณหน้าโรงเรียน เพ่ือลดความ
แออดั (Reducing)
๑๔. การทาความสะอาดหอ้ งเรียนและอาคารเรียน
กา้ หนดมาตรการการทา้ ความสะอาดหอ้ งเรียน และอาคารเรยี น ๓ เวลา คือ ชว่ งเชา้ กอ่ นเรียน
พักกลางวัน และหลังเลิกเรียน เมื่อท้าความสะอาดหลังเลิกเรียนแล้วต้องปิดอาคารเรียน และไม่อนุญาตให้ขึ้น
อาคารเรยี น
๑๕. การส่ือสารทาความเข้าใจเพ่ือลดการรังเกียจและลดการตีตราทางสังคม (Social stigma) กรณี
อาจพบบคุ ลากรในสถานศึกษา นกั เรยี น หรอื ผปู้ กครองตดิ เชอ้ื โควดิ ๑๙ โดยครูสื่อสารความรู้เกี่ยวกับความเครียด
ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติท่ีเกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติท่ีมีการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ และกระบวนการจัดการ
ความเครียด การฝึกสมาธิให้มีสติเหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัย พูดคุยสื่อสารถึงความไม่สบายใจ เพ่ือลดความ
วิตกกังวล ร่วมกับการฝึกทักษะชีวิตท่ีเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ (Resilience) ให้กับนักเรียน ได้แก่ ทักษะ
ชีวิตด้านอารมณ์ สังคม และความคิด เป็นต้น ส่วนครูและบุคลากรอาจจะมีความเครียด วิตกกังวล เน่ืองจาก
ภาระหน้าที่ท่ีจะต้องจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์ที่ไม่ปกติแล้ว ยังต้องควบคุม ดูแล ก้ากับนักเรียนจ้านวน
มาก ให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ตลอดทั้งต้องป้องกันตนเองจากการสัมผัสเช้ือโรค
ดังนั้น ครูและบุคลากรทุกคนต้องศึกษาและท้าความเข้าใจรูปแบบ มาตรการ และแนวทางปฏิบัติท่ีชัดเจนตรงกัน
ฝึกการบริหารจัดการความเครียดในรูปแบบต่างๆ และถ้ายังไม่ดีข้ึนให้ปรึกษาแพทย์ด้วยตนเอง หรือทางโทรศัพท์
สายด่วนสุขภาพจติ ๑๓๒๓ ตอ่ ไป
แผนเผชิญเหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 14
การเปิดภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นอนุบาลสระบรุ ี
ด้วยกระทรวงศึกษาธิการประกาศ การเลื่อนเปิดภาคเรียนที่ 1 ประจ้าปีการศึกษา 2564
จากผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนอนุบาล
สระบุรี จังหวัดสระบุรี เปิดภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ในวันท่ี 14 มิถุนายน 2564 โดยได้ด้าเนินการ
ดังนี้
1. การเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน (Preparation before reopening)
๑.๑ ขอความร่วมมือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ท้าความสะอาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องพักครู
ห้องสมุด ห้องพิเศษอื่น ๆ ห้องส้านักงาน และบริเวณโรงเรียนทั้งหมดด้วยน้ายาฆ่าเชื้อโรค ตลอดทั้งขอรับการ
สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ท่ีจ้าเป็น ได้แก่ เจลแอลกอฮอล์ สบู่เหลว เคร่ืองมือวัดไข้ หน้ากากอนามัย และ Face
Shield เปน็ ต้น
๑.๒ ท้าความสะอาดส่ือ วัสดุ อปุ กรณ์ เครือ่ งใช้ เคร่อื งนอน แอร์ พัดลม ฯลฯ ด้วยน้ายาฆ่าเช้ือโรค ตลอด
ท้ังปรบั ปรุงภูมิทัศน์โดยรอบให้สะอาด ร่มรื่น น่าดู นา่ อยู่ และนา่ เรียน
๑.๓ จัดห้องกักตัว (ห้องคลินิกภาษาอังกฤษ) และห้องพยาบาลเพ่ือรองรับนักเรียนกรณีนักเรียนผ่านจุด
คัดกรองแล้วมีไข้ หรือเกิดการเจ็บป่วย และมอบหมายครูประจ้าช้ันเพ่ือเป็นที่ปรึกษากรณีนักเรียนเกิดความ
วติ กกงั วลเก่ยี วกับการระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019
๑.๔ จดั ทา้ โครงการรองรบั เพอื่ จดั ซอ้ื จดั หา วัสดุ อปุ กรณ์ น้ายาฆ่าเชอ้ื โรค เจลแอลกอฮอล์ สบู่เหลว และ
เคร่ืองมือวัดไข้ให้เพียงพอพร้อมใช้งานกับนักเรียนทุกคน ตลอดท้ังจัดเตรียมหน้ากากอนามัย และ Face Shield
สา้ รองประจ้าทุกหอ้ งเรียน และสว่ นกลางส้าหรบั นกั เรียนด้อยโอกาสขาดแคลน และเด็กพเิ ศษ ในกรณีจา้ เปน็
๑.๕ เชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา ได้แก่ ผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากร ผู้แทนกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้แทนสมาคมผู้ปกครองและครู ผู้แทนผู้ปกครอง ให้ค้าแนะน้า เสนอแนะ แนวทาง
มาตรการ และรปู แบบการบริหารจัดการเรียนการสอนเพื่อเตรียมความพร้อมรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในวันเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ตลอดท้ังเสนอแนะ
แนวทาง มาตรการ แก้ไขปญั หา อุปสรรคต่างๆ ที่อาจจะเกิดขน้ึ จนกว่าสถานการณ์เขา้ สูภ่ าวะปกติ
๑.๖ ประเมินตนเองก่อนเปิดเรียน (กรมอนามัย) จ้านวน ๔๔ ข้อ ผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus
(TSC) และประเมินความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) และก้าหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนผ่านช่องทาง
http://gg.gg/cvcsrb1-school
แผนเผชญิ เหตุ การเฝา้ ระวังและแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 15
2. การเตรียมความพร้อมการจดั การเรียนการสอน ในวนั เปิดภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
๒.๑ ให้ข้าราชการครู เตรียมการจัดท้าเอกสารงานธุรการประจ้าชั้นเรียน จัดเตรียมห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ จัดเตรียมท้าข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน เพื่อวางแผนการจัดการเรียนการสอนทางไกลหรือ
ออนไลน์ หรือวธิ กี ารอนื่ ๆ ตามที่เห็นสมควร โดย นกั เรียนทุกคนตอ้ งได้เรียนอยา่ งเท่าเทยี มกัน
๒.๒. ประชุมหัวหน้าสายชนั้ หัวหน้าโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็น
ภาษาอังกฤษ (English Program) และห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มอบนโยบายไปประชุม
ปรึกษาหารือ ระดมความคิดเพื่อวางแผน และก้าหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้วยวิธีการที่หลากหลายตามบริบทและความพร้อมของ
นักเรยี น โดยครอบคลมุ นักเรยี นทกุ คน ตลอดทั้ง จัดทาตารางเรยี นพร้อมท่จี ะจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในวัน
เปิดเรยี นในทกุ กรณไี ดท้ ันที โดยหากไม่สามารถมาเรียน On-site เต็มรูปแบบได้ ตารางเรียนให้เน้น ๕ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ส่วนอีก ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ จัดการเรียนการสอนแบบ
บรู ณาการ และสอนเสริม โดยใหแ้ ต่ละสายช้นั รว่ มกันออกแบบตารางเรียนตามบรบิ ท และความเหมาะสม
๒.๓ ให้งานวัด และประเมินผลฯ จัดท้าข้อมูลนักเรียนรายห้องเรียนให้เป็นปัจจุบันส่งถึงครูประจ้าชั้น
ให้เร็วท่ีสุด เพื่อประสานงานเข้าร่วมกลุ่ม Line และวิธีการอื่นๆ สะดวกต่อการติดต่อสื่อสาร และประสานงาน
ในเรื่องตา่ งๆ
๒.๔ ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการวัดและประเมินผลฯ ซ่ึงประกอบด้วยวิชาการสายช้ัน และ ICT
สายช้ัน เพ่ือจัดท้าข้อมูลนักเรียน โครงสร้างเวลาเรียน ตารางเรียน รหัสวิชา และหน่วยกิต ลงในระบบบริหาร
School Bright พร้อมใช้ในวนั เปดิ ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
๒.๕ จัดท้าแบบส้ารวจความพร้อมของผู้ปกครอง นักเรียน ในกรณีที่จ้าเป็นจะต้องเรียนทางไกล
และออนไลน์ และน้าข้อมูลท่ีได้ให้ครูประจ้าชั้น และครูประจ้าวิชา ได้จัดการเรียนรู้บนพื้นฐาน นักเรียนทุกคน
ตอ้ งได้เรยี นอยา่ งเทา่ เทยี มกนั ตามบริบทของแตล่ ะคน
๒.๖ แตง่ ต้งั คณะกรรมการขับเคลื่อนการจดั การเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ระดบั สถานศกึ ษา เพื่อวางแผน พิจารณา ตัดสินใจ การเปิด-ปิด
เรียน รูปแบบการจัดการเรียนการสอน การนิเทศ ก้ากับ ติดตาม การรายงานผลการด้าเนินงาน การตอบ
แบบสอบถาม แบบส้ารวจต่างๆ ให้หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ตลอดท้ังอ้านวยความสะดวก
และแก้ไขปญั หา อปุ สรรคต่างๆ ที่อาจจะเกดิ ขึน้ ให้กบั ครปู ระจา้ ชั้น และครปู ระจ้าวชิ า
๒.๗ ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูประจ้าชั้น และครูประจ้าวิชา ได้เข้ารับการพัฒนาตนเองในการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ในรูปแบบตา่ งๆ เพ่ือน้าไปประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ กับนักเรียนตอ่ ไป
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวังและแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 16
๓. รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนของโรงเรยี น
เรียนรู้ คือ ชน้ั อนบุ าลปีที่ ๒
กรณีท่ี 1 กรณที ไี่ ม่สามารถเปดิ เรยี น ON-SITE ได้ ใชร้ ูปแบบการจัดการประสบการณ์การ
1. แบบ ONLINE ผ่านระบบอินเตอร์เนต็ / ระบบ Zoom/ ระบบวดี โิ อคอลผา่ น LINE,
Facebook
2. แบบ ON-AIR ผา่ นโทรทศั น์ท่ีบ้าน ในชอ่ ง DLTV ตามตารางออกอากาศ
3. แบบ ON-HAND สา้ หรบั นกั เรียนทีไ่ ม่มคี วามพร้อมทางเทคโนโลยใี ดๆ โดยทางคณะครจู ะ
จัดทา้ ใบกจิ กรรม และใบความรู้ซ่งึ ใหส้ อดคล้องกบั หน่วยการเรยี นรู้
กรณที ่ี ๒ เปดิ เรยี นแบบ ON Site มาเรียนแตไ่ ม่เต็มรูปแบบ รปู แบบ โดยให้นักเรียนสลบั กัน
มาเรยี นโดย แบง่ เป็น 2 กลมุ่ มแี นวทาง ดังน้ี
2.1 แตล่ ะห้องเรียนแบ่งนักเรียนเปน็ 2 กลุ่ม คอื กลุ่ม A กลมุ่ B โดยจดั เรยี งตามเลขคี่
เลขคู่ ดงั นี้
สมาชิก กลุ่ม A กลมุ่ B
1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24
27 29 26 28 30
2.2 จัดตารางมาโรงเรยี น ดงั นี้
นกั เรยี นจะมาเรียนสลับวนั ใหเ้ รยี นตามหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ีก้าหนด และเรียนแบบ ON-HAND ใน
ทไี่ ม่ไดม้ าเรยี น จะมใี บกิจกรรมตามหนว่ ย ใหเ้ รยี นรู้
การเรียนแบบ ON–HAND จะจัดใบกิจกรรมตามหนว่ ยการเรียนรู้ ท่ีสอดคล้องกับพัฒนาการของ
นักเรยี น และให้ผ้ปู กครองบนั ทกึ พฤติกรรมตามแบบทใี่ ห้ เพื่อน้ามาประเมินผลการเรียนรใู้ นแตล่ ะหน่วย
ใน 2 สัปดาห์ นักเรียนจะมาเรียนกลุ่มละ 5 วัน ใน 1 เดือน นักเรียนจะมาเรียนกลุ่มละ 10
วันเท่ากัน
วนั ทม่ี า รร. สปั ดาห์ท่ี 1 สัปดาห์ที่ 2 สปั ดาหท์ ่ี 3 สปั ดาหท์ ี่ 4
จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ
กลุม่ ทีม่ า รร. กลุม่ A กลุ่ม B กลุม่ B กลุ่ม A กลุม่ A กลุม่ B กลมุ่ B กลมุ่ A
วันทีม่ า รร.
สปั ดาหท์ ่ี 5 สปั ดาห์ที่ 6 สปั ดาห์ที่ 7 สัปดาหท์ ี่ 8
กลมุ่ ท่มี า รร. จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ
กลุม่ B กลมุ่ A กลมุ่ A กล่มุ B กลมุ่ B กลุ่ม A กลมุ่ A กลุ่ม B
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวังและแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 17
กรณที ่ี ๓ เปดิ เรยี นแบบ ON Site เตม็ รปู แบบ มาเรียนทกุ หอ้ งเรียน 100 % จัดตารางเรยี น
ตามวันท่ีมาเรยี นปกติ ช่วงนอนพกั ผ่อน แบ่งนกั เรียนให้ไปนอนทห่ี ้องวทิ ยาศาสตร์และห้องสมดุ ปฐมวัย อาคาร
บวั แกว้ จ้านวน 36 คน เพอ่ื ลดความแออัด และเว้นระยะหา่ งขณะนอนพกั ผ่อน ดังนี้
ชัน้ อนบุ าลปีที่ 2/1 จา้ นวน 5 คน ชนั้ อนุบาลปที ่ี 2/2 จ้านวน 4 คน
ชนั้ อนุบาลปีที่ 2/3 จ้านวน 5 คน ช้นั อนบุ าลปีที่ 2/4 จา้ นวน 5 คน
ชั้นอนบุ าลปที ่ี 2/5 จ้านวน 5 คน ช้ันอนุบาลปีท่ี 2/6 จ้านวน 5 คน
ชน้ั อนบุ าลปที ่ี 2/7 จ้านวน 4 คน ช้ันอนบุ าลปที ี่ 2/8 จา้ นวน 3 คน
โดยให้ทุกหอ้ งเรียนดา้ เนนิ การคัดกรองตามมาตรการการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื
ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างเครง่ ครัด ดงั นี้
๑) มจี ดุ คดั กรองก่อนเขา้ ห้องเรยี น
๒) จัดทา้ จดุ เว้นระยะห่างทง้ั ใน นอกห้องเรียน และโรงอาหารปฐมวยั
๓) สลบั เวลารับประทานอาหารกลางวัน โดยนกั เรียนชัน้ อนุบาลปที ่ี ๒ จะรบั ประทาน
อาหารเวลา ๑๐.๓๐ น.
๔) ล้างมือดว้ ยสบู่หรอื เจลแอลกอฮอล์อย่างถูกวธิ ีท้งั ก่อน และหลังการทา้ กิจวตั ร
ประจา้ วัน กิจกรรมการเรยี นรู้ ทกุ ครั้ง
๕) ให้นักเรียน (ถอดเวลานอนพักผ่อน) ครู และพี่เล้ียงทุกคนสวมใส่หน้ากากผ้า หรือ
หน้ากากอนามัยตลอดเวลา
๖) ให้ท้าความสะอาดอุปกรณ์ ของเล่น หอ้ งเรยี น และห้องวิทยาศาสตรแ์ ละห้องสมดุ
ปฐมวัย ทุกวันหลงั เลิกเรียน
๗) จัดพี่เลย้ี งมาดูแลความปลอดภัย ความเรียบรอ้ ยของนกั เรียนทแ่ี ยกไปนอนพกั ผ่อนที่
ห้องวทิ ยาศาสตร์และหอ้ งสมดุ ปฐมวยั ขณะนอนพกั ผ่อนในทกุ วัน อยูภ่ ายใตม้ าตรการป้องไวรสั โคโรนา่ 2019
ตารางกจิ กรรมประจาวนั ในสถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
เวลา กจิ กรรม
07.30 – 08.00 น. รบั เด็ก ตรวจคดั กรองก่อนเข้าหอ้ งเรยี น
08.00 – 08.30 น. กิจกรรมเคารพธงชาติ
08.30 – 08.40 น. เด็กเขา้ ห้องน้า ล้างมือ ดม่ื นา้
08.40 - 09.00 น. กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ
09.00 – 09.10 น. รับประทานอาหารว่าง
09.10 – 09.30 น. กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์
09.30 – 10.00 น. กจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์ (กิจกรรมเดี่ยว)/เสรี
10.00 - 10.30 น. กิจกรรมกลางแจ้ง
แผนเผชิญเหตุ การเฝา้ ระวังและแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 18
เวลา กจิ กรรม
10.30 - 11.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน แปรงฟัน เข้าห้องน้า
11.30 – 14.๓0 น. นอนพักผ่อน
14.๓0 – 1๕.๐0 น. ตื่นนอน เกบ็ ทนี่ อน เข้าหอ้ งน้า ดื่มนม เกมการศึกษา(เดีย่ ว)
กลับบ้าน
1๕.๐0 น.
หมายเหตุ เวลาและกิจกรรม สามารถยดื หย่นุ หรอื เปลย่ี นแปลงได้ตามความเหมาะสม
ชนั้ อนบุ าลปีท่ี 3
กรณที ี่ 1 กรณีทไี่ มส่ ามารถเปดิ เรยี น ON-SITE ได้
1.1 นักเรยี นในสายช้ันอนุบาลปีที่ 3 ไมส่ ามารถเข้าเรียนในระบบออนไลน์ได้ทุกคน เนื่องจากไม่
มีสื่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ครบทุกคน ผู้ปกครองบางครอบครัวต้องเตรียมส่ืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ไว้ส้าหรับพี่
ของนักเรยี นทีอ่ ยใู่ นระดบั ชนั้ ประถมศึกษา หรอื บางครอบครัวก็มีเพียงของผู้ปกครองเท่านั้น จึงได้ค้านึงถึงนักเรียน
ท่ีไม่มีส่ือเทคโนโลยี ต้องได้รับการเรียนรู้ที่เท่าเทียมกัน ดังน้ันในสายช้ันเลือกวิธีการเรียนการสอนแบบ ON-AIR
โดยเลือกใช้ส่ือระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ซึ่งทุกครอบครัวสามารถเปิดรับสัญญาณได้
โดยครูประจ้าชั้นท้าการจัดส่งตารางเวลาในการออกอากาศให้ผู้ปกครองล่วงหน้า และผู้ปกครองสามารถเปิด
ย้อนหลังได้จากแอพพลเิ คช่นั เม่ือผู้ปกครองกลับถงึ บ้าน
1.2 ยังคงใช้รูปแบบการจดั การเรียนการสอนแบบ ON Hand โดยครูประจา้ ชั้นจดั ท้าใบงานให้
ตรงกบั หนว่ ยการเรียนรู้ (DLTV) และแจกตามความต้องการของผู้ปกครอง เช่น ผู้ปกครองบางท่านต้องการรับเป็น
ไฟล์เวิร์ดเพ่ือน้าไปปร้ินเอกสารเอง หรือผู้ปกครองบางท่านต้องการรับเป็นเอกสาร ครูประจ้าช้ันสามารถนัดเยี่ยม
บ้านเพื่อนา้ เอกสารไปให้ และได้พบปะพดู คุยสอบถามปัญหาอุปสรรคต่างๆ ดา้ นการเรียนของนกั เรยี น
กรณีที่ 2. เปดิ เรยี นแบบ ON Site มาเรียนแตไ่ มเ่ ต็มรูปแบบ ใหน้ กั เรยี นสลับกันมาเรียนโดย
แบง่ เป็น 2 กลุ่ม
2.1 แต่ละหอ้ งเรยี นแบ่งนักเรียนเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A และกลุ่ม B โดยจัดเรยี งตามเลขคี่ เลขคู่
ดงั น้ี
สมาชิก กลุ่ม A กลมุ่ B
1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22
23 25 27 29 24 26 28 30
แผนเผชญิ เหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 19
2.2 จัดตารางมาโรงเรียน ดงั นี้
วันทม่ี าร.ร. สัปดาห์ท่ี 1 สัปดาหท์ ี่ 2 สปั ดาห์ที่ 3 สัปดาห์ท่ี 4
จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ
กลุ่ม B กลมุ่ A กลมุ่ A กลุม่ B กล่มุ B กลุ่ม A
กลมุ่ ท่ีมา ร.ร. กลุ่ม A กลุม่ B
วนั ทม่ี าร.ร. สัปดาหท์ ่ี 5 สปั ดาห์ที่ 6 สปั ดาหท์ ี่ 7 สปั ดาหท์ ่ี 8
จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ จ. พ. ศ. อ. พฤ
จ. พ. ศ. อ. พฤ กลุม่ A กล่มุ B กลุม่ B กลมุ่ A กลุ่ม A กล่มุ B
กลุม่ ทมี่ า รร. กลุ่ม B กลุ่ม A
โดยนักเรียน 2 กลุ่มน้ีมาเรียนสลับวันเว้นวัน ในวันท่ีนักเรียนไม่ได้มาเรียนก้าหนดให้เรียนจาก
สื่อการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) เป็นการเรียนแบบคู่ขนาน
ซึ่งใน 2 สัปดาห์ นักเรียนจะมาเรียนกลุ่มละ 5 วัน เท่าเทียมกัน ใน 1 เดือน นักเรียนจะมา
เรียนกลุ่มละ 10 วันเท่าเทียมกัน
กรณีที่ 3 เปดิ เรยี นแบบ ON Site เตม็ รูปแบบ
รูปแบบที่สายช้ันก้าหนด จะมมี าตรการปอ้ งกนั การระบาดดงั นี้
3.1 โรงเรยี นจัดหาเครือ่ งวดั อุณหภมู ใิ หก้ บั นกั เรียนทกุ หอ้ งเรยี น เพือ่ ทา้ การวดั ไขก้ ่อน
เข้าหอ้ งเรยี น และขอความร่วมมือผู้ปกครองถ้าบตุ รหลานเปน็ ไข้ไม่สบายใหห้ ยุดเรยี น
- กรณีท่ผี ปู้ กครองพานักเรยี นไปพืน้ ที่เส่ียงควรแจ้งใหค้ รูประจ้าช้ันทราบ และควรกักตัวอยู่ท่ีบ้าน
14 วนั โดยไมถ่ ือเปน็ วนั ลา
3.2 ใหน้ ักเรยี นล้างมือด้วยแอลกอฮอลเ์ จลทกุ คร้ัง ก่อนเข้าห้องเรียนและกอ่ นทา้ กิจกรรม
3.3 ใหน้ ักเรยี นสวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลาในระหว่างเขา้ ร่วมกจิ กรรม แตส่ ามารถถอด
หน้ากากอนามยั ไดใ้ นระหวา่ งนอนหลับพกั ผ่อน
3.4 ให้นกั เรยี นน่งั เวน้ ระยะเพื่อรกั ษาระยะหา่ ง ทง้ั ในห้องเรียนและในโรงอาหาร
3.5 แบ่งชว่ งเวลาการรับประทานอาหารกลางวนั โดย
อนบุ าล 2 ช่วงเวลา 10.30 – 11.๓0 น.
อนุบาล 3 ชว่ งเวลา 11.๓0 – 1๒.๐0 น.
3.6 เพ่ิมห้องเรยี นพิเศษจ้านวน 2 ห้อง หอ้ งเรยี นที่ 9 และ 10 เพอ่ื ลดการแออัดของนกั เรียน
ดังนี้
นกั เรยี นจา้ นวนเตม็ 30 คน ต่อหอ้ ง ใหแ้ บง่ ออกมาเหลอื หอ้ งเรยี นละ 25 คน ในหอ้ งเรยี นปกติ
- ห้อง อ.3/1 - 3/4 เดก็ หอ้ งละ 5 คน x 4 หอ้ ง = 20 คน หอ้ งเรยี นที่ 9 เรยี นท่หี ้องอังกะลุง
- ห้อง อ.3/5 - 3/8 เด็กห้องละ 5 คน x 4 หอ้ ง = 20 คน หอ้ งเรยี นท่ี 10 เรียนที่ห้องศนู ยส์ ่ือ
แผนเผชญิ เหตุ การเฝ้าระวังและแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 20
โดยจัดตารางเวรให้ครูประจ้าชนั้ เขา้ ดูแลห้องเรียนท่ี 9 และ 10 ในชว่ งเวลาท่นี ักเรียนตนเองไป
เข้าเรียนวชิ าพเิ ศษ หรอื ตามความเหมาะสม
3.7 รบั -สง่ นกั เรียนกลับบ้านในหอ้ งเรยี นตนเอง เพื่อเวน้ ระยะห่าง งดการนงั่ รวมกันทกุ ห้องท่ี
ดา้ นลา่ งของโถงอาคาร โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี
- นกั เรียนทกี่ ลบั เวลา 15.00 น.เป็นประจ้า ใหผ้ ู้ปกครองติดต่อกับคุณครูประจา้ ช้ันไวล้ ว่ งหนา้
เพอ่ื น้านักเรยี นมาส่งให้ครูเวรประจา้ วนั
- ครปู ระจา้ ชนั้ นา้ นกั เรียนทผ่ี ู้ปกครองยังไม่มารบั สง่ ใหค้ รเู วรประจา้ วันเวลา 16.30 น.เพอ่ื ให้ครู
เวรประจา้ วันดูแลทีจ่ ดุ รบั -สง่ จนถึงเวลา 17.๓0 น.
3.8 ไม่อนุญาตผู้ปกครองเขา้ ภายในอาคารเรยี นหรือหอ้ งเรียน มีเหตจุ า้ เปน็ ตดิ ต่อทีเ่ บอร์
โทรศพั ท์ครปู ระจา้ ช้ัน
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑
กรณีที่ 1 กรณที ีไ่ ม่สามารถเปดิ เรยี น ON-SITE ได้ จดั ให้เรียน Online ดงั นี้
๑.๑ ครูผู้สอนแต่ละรายวิชาจัดการสอนตามเนื้อหาในบทเรียน โดยใช้โปรแกรมต่างๆตามความ
เหมาะสมและความถนัดของตนเอง เช่น จัดท้าคลิปวิดิโอการสอนผ่านยูทูป เป็นต้น หรือให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสื่อ
ออนไลนท์ ี่ผู้สอนจัดท้าหรอื จดั หาให้ โดยสง่ ผา่ นไลน์กลุ่มหอ้ งของแต่ละห้อง
๑.๒ ครูผูส้ อนใชว้ ธิ ีการตรวจงานโดยใหผ้ ูเ้ รยี นท้าลงในแบบฝกึ หัดหรอื สมุดของแต่ละรายวชิ าตาม
ภาระงานท่ีได้รับมอบหมาย
กรณีท่ี 2. เปดิ เรยี นแบบ ON Site มาเรยี นแต่ไมเ่ ต็มรูปแบบ ดงั นี้
๒.๑ ใหแ้ ต่ละห้องแบ่งกลมุ่ ผ้เู รยี นในห้องของตนเองออกเป็น ๒ กลุ่ม โดยใชเ้ ลขทค่ี ู่ และเลขที่คี่
และมาเรียนสลับวันกัน เริ่มจากเลขท่ีค่ีมาเร่ิมเรียนก่อน สลับกันไป เมื่อครบ ๒ สัปดาห์ ผู้เรียนทุกคนจะได้เรียน
เนื้อหาครบถ้วนเท่ากันทัง้ ๒ กลุม่
๒.๒ เรียนรูต้ ามตารางการจัดการเรยี นรูข้ องหอ้ งเรยี นตนเอง
กรณที ่ี 3 เปดิ เรียนแบบ ON Site เตม็ รปู แบบ มาเรียนตามตารางเรียนปกติ โดยแตล่ ะห้องใช้
มาตรการการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรน่า 2019 เลกิ เรียนเวลา ๑๕.๓๐ น.
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 21
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2
กรณที ่ี 1 กรณีท่ไี มส่ ามารถเปดิ เรียน ON-SITE ได้ จัดให้เรยี น Online ดงั น้ี
๑.๑ จัดตารางเรียนออนไลน์ ในชว่ งเดอื นมิถนุ ายนก่อน หากยงั เปดิ ไมไ่ ด้ให้จดั ตารางเรียนเดอื น
ตอ่ ไป โดยกา้ หนดให้ ๑ วัน เรียน ๒ วชิ า แบ่งเปน็ ช่วงเช้า และบ่าย ช่วงเช้าเป็นวิชาหลัก ภาษาไทย คณิตฯ วิทย์
ฯ องั กฤษ ส่วนชว่ งบ่ายเป็นวชิ าอ่นื ๆ จดั ให้ครบทกุ วชิ า ใน ๑ เดอื น เพอื่ ไมใ่ ห้งาน และการบา้ น อดั แนน่ จนเกินไป
๑.๒ ครผู ูส้ อนอัดคลปิ วีดีโอสอนตามเนอ้ื หาในบทเรียน โดยใชโ้ ปรแกรมต่างๆท่ีตนเองถนดั หรอื
จดั หาคลปิ วีดโี อท่สี อดคล้องกับเนอ้ื หาทท่ี ้าการสอนและเสรมิ สรา้ งการเรียนรู้
๑.๓ ส่งคลิปวีดีโอตามขอ้ ๒ ลงในระบบ ห้องเรียนออนไลน์ School bright ของโรงเรยี น หรือ
ในไลน์ช้นั เรียน ตามเวลาในตารางเรยี น ทีไ่ ดจ้ ัดตง้ั ไว้
๑.๔ ครผู ้สู อนมอบหมายงาน/การบา้ น ในแตล่ ะวันตามตารางเรียน ในระบบ School bright
อาจจะเป็นแบบฝึกหัดจากแบบเรียนหรือใบงาน (ในกรณีท่ีมีใบงาน ได้มอบหมายให้ครูผู้สอนจัดเตรียมไว้ได้เลย
หากไมส่ ามารถเปิดเรียนได้ จะทา้ การเย็บเลม่ และอาจน้าไปให้ตอนเยยี่ มบา้ น)
ครูประจ้าช้ัน อาจจะใช้โปรแกรม ZOOM ในการพูดคุยทักทาย กระตุ้นนักเรียนในการเรียน
Online และให้เร่ิมรู้จักการใช้โปรแกรม ZOOM ในการเรียน อาจจะทุกวัน หรือสัปดาห์ละ ๒ - ๓ คร้ัง ขึ้นอยู่กับ
ครูประจ้าชนั้ เพราะ ป.๒ ยงั เป็นวัยท่ีต้องอาศัยผ้ปู กครอง ยังไม่สามารถเรยี นรดู้ ้วยตนเองได้
กรณที ี่ 2. เปิดเรยี นแบบ ON Site มาเรยี นแต่ไม่เต็มรปู แบบ มาเรยี นแบบหอ้ งเว้นหอ้ ง ดงั นี้
๒.๑ แบง่ ห้องมาเรยี นวนั เวน้ วนั โดยแบ่งเป็นเลขที่คู่ และเลขที่คี่ สลับกันมาเรียน เริ่มจากเลขที่
คู่ มาเรยี นวนั แรกที่เปิดเรยี น แลว้ วันตอ่ ไปสลับเลขทคี่ ี่
๒.๒ จดั ตารางเรยี น เวลาเลกิ เรียน ๑๖.๓๐ น. ครผู สู้ อนเข้าสอนตามตารางเรียนของแตล่ ะหอ้ ง
กรณีท่ี 3 เปิดเรียนแบบ ON Site เต็มรปู แบบ มาเรยี นตามตารางเรียนปกติ เลิกเรยี นเวลา
๑๕.๓๐ น.
แผนเผชิญเหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 22
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3
กรณที ี่ 1 กรณที ่ีไม่สามารถเปิดเรียน ON-SITE ได้
1.1 จดั ให้มกี ารเรียนการสอนออนไลน์ DLTV โดยครูประจ้าช้ันจะจดั ส่งลงิ คก์ ารเรยี นรู้ ดงั น้ี
๑.๒ สง่ คลิปวีดโี อลงในระบบ ห้องเรียนออนไลน์ School bright ของโรงเรยี น หรอื
ในไลน์ชนั้ เรียน ตามเวลาในตารางเรยี น ทีไ่ ดจ้ ัดต้ังไว้
๑.๓ การมอบหมายงานทางกลมุ่ ไลน์ ตามเนอ้ื หาใน DLTV โดยให้ท้าแบบฝึกหดั ตามหนังสอื
หมายเหตุ ลงิ ค์การเรียนรู้ของ สสวท. https://proj14.ipst.ac.th/p3 โดยเปน็ เนื้อหาวชิ า
วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี
กรณีที่ ๒ เปดิ เรยี นแบบ ON Site มาเรยี นแต่ไม่เต็มรูปแบบ จดั การเรียนการสอนดงั น้ี
๒.๑ การจดั การเรยี นการสอนของนกั เรียนภาคปกติ จะใหน้ ักเรยี นสลับวนั กันมาเรียน คอื
สปั ดาห์ที่ ๑ นักเรยี นเลขทค่ี ี่ของแตล่ ะหอ้ งจะมาเรียนในวันจันทร์ วันพุธ และวนั ศกุ ร์ สา้ หรบั
นักเรยี นเลขท่ีคูข่ องแตล่ ะหอ้ งจะมาเรียนในวนั อังคาร และวันพฤหสั บดี
สัปดาห์ท่ี ๒ นกั เรียนเลขทค่ี ูข่ องแตล่ ะห้องจะมาเรยี นในวันจันทร์ วนั พุธ และวันศุกร์ สา้ หรับ
นักเรียนเลขท่ีคข่ี องแต่ละห้องจะมาเรียนในวนั องั คาร และวนั พฤหสั บดี และจะสลับกันแบบนท้ี กุ สัปดาห์
แผนเผชญิ เหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 23
๒.๒ ส้าหรบั ตารางสอน จะใช้ตารางสอนตามปกติ นักเรียนมาเรยี นวันไหน ก็ให้จัดตารางสอน
ในวนั นนั้ มาเรียน เลิกเรยี นเวลา ๑๖.๓๐ น.
๒.3 ใบงานหรอื แบบฝกึ หดั เมอ่ื นกั เรียนไดเ้ รียนออนไลน์วชิ าคณติ ศาสตร์ ในแต่ละเรือ่ งแล้ว จะ
ให้นักเรียนท้าแบบฝึกหัดในเรื่องที่เรียนลงในแบบฝึกหัดท่ีทางโรงเรียนได้แจกให้แล้ว เมื่อเปิดเรียนค่อยน้ามาส่ง
คณุ ครปู ระจา้ ชน้ั
กรณีที่ 3 เปิดเรียนแบบ ON Site เต็มรูปแบบ มาเรียนตามตารางเรียนปกติ เลิกเรียนเวลา
๑๖.๓๐ น.
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
กรณีท่ี 1 กรณีทไ่ี ม่สามารถเปิดเรียน ON-SITE ได้ จดั ให้มกี ารเรียนการสอน ดังนี้
๑.๑ ใหค้ รูทุกคนจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ตามตางรางสอนของแต่ละวัน
๑.๒ ครปู ระจ้าชน้ั จดั การเรยี นการสอนวชิ าภาษาไทย-คณิตศาสตร์ ในรปู แบบออนไลน์ตามความ
ถนดั เช่น zoom , line , facebook และสัง่ งาน การบ้านในแบบฝึกหดั ของนกั เรียน
๑.๓ ครูประจา้ ช้นั แตล่ ะหอ้ งสร้างกลุ่มไลนว์ ชิ าพเิ ศษของแต่ละห้อง พรอ้ มเชิญครูประจ้าวิชาเข้า
กลุ่มไลนแ์ ละแจ้งให้ครพู ิเศษทราบ
๑.๔ วชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม วชิ าประวตั ศิ าสตร์ และวิชาการงานอาชีพ ให้ดสู อ่ื
การสอน ใน youtube โดยการแนบลิงก์ และสั่งงานในกลุ่มไลนว์ ชิ าพิเศษของแตล่ ะห้อง
๑.๕ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สอนในรูปแบบออนไลน์ และใหด้ ูสอื่ การสอน ใน youtube
โดยการแนบลิงก์ และสั่งงานในกลมุ่ ไลน์วชิ าพเิ ศษของแต่ละหอ้ ง
๑.๖ วชิ าวิทยาการค้านวณ สอนและสง่ั งานในระบบ School Bright
๑.๗ ครูวิชาพเิ ศษท่านอ่นื ๆ หากต้องการสอนออนไลนใ์ น app , website, หนังสือ , แบบฝึกหดั
อ่ืนๆ ขอให้แจง้ รปู แบบการสอนใหท้ ราบด้วย เพ่ือจะได้แจง้ ให้นักเรียนได้ปฏบิ ตั ิ
ทง้ั น้สี ายชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ไดจ้ ัดการประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการเพ่ือทบทวนและเตรียมความ
พรอ้ มในการสอนออนไลน์ ณ หอ้ งปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอรแ์ ล้ว
กรณีท่ี ๒ เปดิ เรียนแบบ ON Site มาเรียนแตไ่ มเ่ ตม็ รูปแบบ จดั การเรียนการสอนดังน้ี
จดั การเรียนการสอนโดยใช้ตารางสอนท่ีวิชาการสายชั้นแจ้ง ให้นักเรียนมาครบทกุ ห้องโดยสลบั
เลขทีค่ ู่-เลขที่คี่ สลบั วนั มาเรยี น เลกิ เรยี นเวลา ๑๖.๓๐ น.
กรณที ี่ 3 เปิดเรียนแบบ ON Site เตม็ รปู แบบ มาเรยี นตามตารางเรียนปกติ เลิกเรียนเวลา
๑๖.๓๐ น.
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 24
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
กรณที ่ี 1 กรณที ีไ่ ม่สามารถเปดิ เรยี น ON-SITE ได้ จดั ใหม้ กี ารเรยี นการสอน ดังนี้
๑.๑ วธิ ีการสอนของครูแต่ละวิชาในสายชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ เรยี นร้ทู างไกลผา่ น
ดาวเทยี ม (DLTV) ตามตารางที่ก้าหนด
๑.๒ ครปู ระจา้ วิชาคณติ ศาสตรส์ อนผ่านโปรแกรม Zoom ก่อนนักเรียนเรยี นทางไกลผา่ น
ดาวเทยี ม (DLTV) (เอกสารแนบท้าย)
๑.๓ ครูประจ้าวิชาวิทยาศาสตร์ สั่งงานทาง School Bright, และ (DLTV) ทางกลุ่มไลน์
และการทา้ งานแบบทดสอบและทดลองแบบส้ารวจโดยใช้ Google form
๑.๔ ครูประจ้าวชิ าภาษาไทยเพิม่ เติมจากการเรียนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV)
โดยท้าแบบทดสอบผ่าน Facebook (ระบบออนไลน์) สั่งงานผ่านระบบ School Bright สรุปงานลงในสมุด
พรอ้ มสง่ ตอนเปิดเรยี น
๑.๕ ครูประจา้ วิชาสงั คมศกึ ษาสง่ คลิปวีดโี อ ผ่านระบบ School Bright (DLTV) และ
ส่งผ่านระบบไลน์ประจ้าห้องเรยี นและให้นักเรยี นสรปุ งานลงในสมดุ พร้อมสง่ ตอนเปดิ เรียน
๑.๖ ครูประจ้าวิชาภาษาอังกฤษส่ังงานผา่ นระบบ School Bright สอน Zoom เน้นตาม
ตัวช้วี ัด (เอกสารแนบท้าย)
๑.๗ ครูประจ้าวชิ าสุขศึกษาและพลศกึ ษา จัดท้า Power point สง่ งานผา่ นระบบ
Facebook และติดตามผ่านไลน์และระบบ School Bright
๑.๘ ครูประจ้าวิชาศิลปะใช้วิธีการบันทึกวิดีโอ ในช่องยูทูปและส่งลิงค์ให้กับนักเรียนผ่านระบบ
ทางไลน์และระบบ School Bright
หมายเหตุ ครูประจา้ วิชาบางวิชากา้ หนดหัวขอ้ ใหน้ กั เรียนเขา้ ไปศกึ ษาในเว็บไซตแ์ ลว้ สรปุ
รายงานสง่
กรณที ่ี ๒ เปดิ เรียนแบบ ON Site มาเรยี นแต่ไมเ่ ตม็ รปู แบบ จัดการเรยี นการสอนดงั น้ี
๒.๑ นักเรียนสลบั วันกนั มาเรียนเลขคูแ่ ละเลขคี่ของแตล่ ะห้องแล้วเรยี นแบบ On Air
๒.๒ นกั เรยี นสลับวนั กนั มาเรียนแบ่งเปน็ ๒ กลุม่ เรยี นตามตารางเรียนปกติ เลกิ เรียนเวลา
๑๖.๓๐ น.
กรณที ี่ 3 เปดิ เรียนแบบ ON Site เตม็ รูปแบบ มาเรียนตามตารางเรียนปกติ เลิกเรยี นเวลา
๑๖.๓๐ น.
แผนเผชญิ เหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 25
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
กรณที ่ี 1 กรณที ี่ไม่สามารถเปิดเรียน ON-SITE ได้ จัดให้มกี ารเรียนการสอน ดงั นี้
จัดการเรียนสอนโดยสอนออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM โดยมอบหมายให้ครูประจ้าวิชาเข้าสอน
ตามตาราเรียนท่ีจัดของแต่ละห้องและบันทึกวีดีโอที่สอนในแต่ละชั่วโมงส่งเข้า YouTube และ Line เพ่ือให้
นักเรียนสามารถเปิดดูท้าการทบทวนได้ และก่อนจะมีกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูประจ้าชั้นเข้าพบนักเรียน
และส่งห้อง ZOOM ของครูแต่ละวิชาท่ีมีตารางเรียนให้กับนักเรียนเพื่อเข้าเรียนตามตารางครูที่จัดกิจกรรมการ
เรยี นสอนในแตล่ ะหอ้ งแจ้งงานที่มอบหมายให้นักเรยี นท้าและแจ้งปญั หาในการจัดการเรียนการสอนเข้าไลน์ครูสาย
ชนั้ เพ่อื ครูประจ้าช้นั จะไดต้ ดิ ตามงาน และรว่ มกนั แกไ้ ขปัญหา
กรณีท่ี ๒ เปดิ เรียนแบบ ON Site มาเรยี นแตไ่ ม่เตม็ รูปแบบ จดั การเรยี นการสอนดังนี้
นกั เรยี นสลบั วันกันมาเรยี นแบ่งเปน็ ๒ กลมุ่ เลขคูก่ บั เลขค่ี แตล่ ะห้องเรยี นมาพร้อมกันและ
ครูผสู้ อนเขา้ สอนตามตารางเรียนของแตล่ ะห้อง เลิกเรยี นเวลา ๑๖.๓๐ น.
กรณที ่ี 3 เปิดเรียนแบบ ON Site เต็มรูปแบบ มาเรยี นตามตารางเรยี นปกติ เลิกเรยี นเวลา
๑๖.๓๐ น.
โครงการจดั การเรยี นการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศึกษาธกิ ารเปน็ ภาษาอังกฤษ (English Program)
กรณีที่ 1 กรณีท่ีไม่สามารถเปิดเรียน ON-SITE ได้ จัดให้มีการเรียนการสอน On-line ผ่านระบบ
ZOOM ทุกห้องเรียน วิชาทเี่ รียน ได้แก่ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สังคมศกึ ษา
วชิ าเสรมิ ศลิ ปะ ดนตรีสากล โดยปรบั ตารางเรยี น ดงั นี้
เช็คชอ่ื เวลา ๐๘.๕๐ น.
ชั่วโมงที่ ๑ เรยี น ๐๙.๐๐ – ๐๙.๔๐ น. ชว่ั โมงที่ ๒ เรียน ๐๙.๕๐ – ๑๐.๓๐ น.
ชัว่ โมงท่ี ๓ เรียน ๑๐.๔๐ – ๑๑.๒๐ น. พกั กลางวนั เวลา ๑๑.๒๐ – ๑๒.๓๐ น.
ช่ัวโมงท่ี ๔ เรียน ๑๒.๓๐ – ๑๓.๑๐ น. ชว่ั โมงท่ี ๕ เรยี น ๑๓.๑๐ – ๑๔.๐๐ น.
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ตั ิของสถานศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 26
ตารางการจดั การเรยี นรู้ โครงการ English Program
โดยระบบ ZOOM
แผนเผชญิ เหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 27
แผนเผชิญเหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 28
แผนเผชิญเหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 29
กรณที ่ี ๒ เปิดเรยี นแบบ ON Site มาเรียนแต่ไม่เต็มรูปแบบ
จัดการเรียนการสอนแบบ On – Site และแบบผสมผสาน
๒.๑ นกั เรยี นมาโรงเรยี นทกุ คน เรียนในหอ้ งเรยี นเดียวกัน (ส้าหรับนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่
๑/๘ ,๒/๘ ,๔/๘ และ ๕/๘)
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑/๘ จ้านวน ๓๐ คน
นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๒/๘ จา้ นวน ๓๑ คน
นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔/๘ จา้ นวน ๓๒ คน
นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๕/๘ จา้ นวน ๓๓ คน
๒.๒ นักเรียนมาเรียนทโ่ี รงเรยี นทุกคน แตส่ ลับกลุม่ นกั เรียนโดยแบง่ นักเรยี นในห้องเรียน เป็น 2
กลุ่ม (สา้ หรับนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓/๘ และ ๖/๘)
นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓/๘ จา้ นวน ๓๖ คน
นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖/๘ จา้ นวน ๓๙ คน
๒.๓ รูปแบบและแนวทางการบรหิ ารจัดการเรียนการสอนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓/๘ และ ๖/๘
๑) จัดนักเรยี นเปน็ 2 กลุ่ม (ช้นั ป.3/8 กล่มุ ละ 18 คน , ชัน้ ป.6/8 กลุ่มละ 19 คน
และ 20 คน)
กล่มุ A1 = 18 คน
ชน้ั ป.3/8
กล่มุ A2 = 18 คน
ชั้น ป.6/8 กลุ่ม A1 = 19 คน
กลุ่ม A2 = 20 คน
๒) สัปดาหท์ ่ี 1 A1 เรยี นห้องเรยี นปกติ A2 เรียนห้องเรียนส้ารอง
สัปดาหท์ ่ี 2 A2 เรียนห้องเรียนปกติ A1 เรยี นห้องเรยี นส้ารอง
*ในสปั ดาหต์ อ่ ไป สลบั กนั ไป เหมอื นสัปดาหท์ ี่ 1 และ 2*
๓) ห้องเรยี นปกติ สอนสดโดยครปู ระจา้ วิชา
๔) ห้องเรยี นส้ารอง เรยี นดว้ ยระบบออนไลน์ Google Meet , ZOOM
๕) จัดโตะ๊ เรยี นให้มีระยะหา่ งพอสมควร
๖) ให้นักเรยี นทกุ คนสวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลา ขณะอย่ใู นหอ้ งเรยี นและบริเวณ
โรงเรียน
๗) เปิด - ปดิ เครื่องปรับอากาศเป็นระยะ ตามความเหมาะสม
๘) ครดู แู ลอยา่ งใกลช้ ดิ ไมใ่ ห้นกั เรยี นใกล้ชดิ เพ่ือนมากเกนิ ไป
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 30
กรณีท่ี 3 เปิดเรยี นแบบ ON Site เต็มรปู แบบ มาเรียนตามตารางเรียนปกติ
หมายเหตุ
สา้ หรบั นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/8 เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม ถ้าสถานการณ์มีการปรับเปล่ียน
และมีแนวทางท่ีดีขึ้น จะให้นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1/8 มาเรียนปรับพื้นฐาน ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2564
เพราะนักเรียนยงั ไม่เคยพบครปู ระจา้ ชัน้ และเป็นวัยท่ียงั ไมส่ ามารถใชค้ อมพวิ เตอรไ์ ด้ดว้ ยตนเอง ผ่านระบบ ZOOM
ในชว่ งแรกของการเปดิ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564
หอ้ งเรียนพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์
กรณีท่ี 1 กรณที ไี่ ม่สามารถเปิดเรียน ON-SITE ได้ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1/7 - 6/7 จดั การ
เรยี นการสอน ดังน้ี
1. แบบ ON-LINE ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต / ระบบ school bright / ระบบ Zoom
2. แบบ ON-AIR ผา่ นโทรทศั น์ท่บี ้าน ในช่อง DLTV ตามตารางออกอากาศ
3. แบบ ON-HAND ส้าหรับนกั เรียนทไ่ี มม่ ีความพรอ้ มทางเทคโนโลยีใดๆ โดยทาง
โครงการฯ
จะจัดท้าเอกสารการเรียน แบบฝึกหัดและใบงาน ซึ่งจะมีการนัดหมายรับงานจากครูประจ้าช้ันภายใต้มาตรการ
ความปลอดภัยจากโรคโควดิ -19
หมายเหตุ ส้าหรับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6/7 ครูประจ้าวิชาจะเข้าสอนตามตารางการจัดการ
เรียนการสอน ปีการศึกษา 2564 และบันทึกวีดีโอที่สอนในแต่ละชั่วโมงส่งเข้า Y0uTube และ Line
เพื่อให้นักเรียนสามารถเปิดเข้าดูและทบทวนได้ และก่อนจะมีกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูประจ้าช้ัน
เขา้ พบนักเรยี นและสง่ ห้อง Zoom ของครูแตล่ ะวิชาที่มีตารางเรียนให้กับนักเรียนเพื่อเข้าเรียนตามตาราง
ครูที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละห้องแจ้งงานที่มอบหมายให้นักเรียนท้าและแจ้งปัญหาในการ
จัดการเรียนการสอนเขา้ ไลน์ครูสายชั้น เพอื่ ครปู ระจา้ ช้ันจะไดต้ ิดตามงาน และร่วมกันแก้ไขปัญหา
กรณีที่ ๒ เปิดเรียนแบบ ON Site มาเรียนแต่ไม่เต็มรูปแบบ จัดการเรียนการสอนแบบมา
เรียนทุกห้อง แตส่ ลบั เลขคูแ่ ละเลขค่ี มาเรียน จัดตารางเรยี นตามวนั ทีม่ าเรียนปกติ เลิกเรยี น ๑๖.๓๐ น.
กรณที ่ี 3 เปดิ เรียนแบบ ON Site เต็มรูปแบบ มาเรยี นตามตารางเรยี นปกติ
ทง้ั นใ้ี นการจดั การเรียนการสอนน้นั ได้มคี วามหลากหลายตามศักยภาพและความเหมาะสม
โดยเน้นความปลอดภัยเป็นสา้ คญั ภายใต้มาตรการของคณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อจังหวัด และเพ่ือเปน็ การ
เตรียมความพร้อมและสง่ เสริมความรคู้ วามเขา้ ใจในเรอ่ื งของการใชง้ านระบบ Zoom ของครูและบุคลากร
โครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ซง่ึ มีครูนฤมิตร หมื่นอภัย พร้อมทมี งาน ICT ของโครงการ
เป็นผ้ใู ห้ความรู้
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวังและแนวปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 31
ตารางสอนออกอากาศสถานีวิทยุโทรทัศนก์ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6
แผนเผชญิ เหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 32
แผนเผชิญเหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 33
แผนเผชิญเหตุ การเฝา้ ระวงั และแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 34
แผนเผชญิ เหตุ การเฝ้าระวัง และแนวปฏิบตั ขิ องสถานศึกษา
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19)
โรงเรียนอนุบาลสระบรุ ี สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 1
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อการเปิด
ภาคเรยี น ของสถานศกึ ษา ใหม้ กี ารเรียนการสอนในรูปแบบปกติ (On-site) ดังนั้น โรงเรยี นก้าหนดให้มี แผนเผชิญ
เหตุ รองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด19 ในสถานศึกษา เพ่ือเป็นการเตรียมการ และเตรียมพร้อม
รองรับสถานการณท์ ่ีอาจจะเกิดขึ้น อันเป็นแนวปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาด ของโรคโควิด 19
อย่างเครง่ ครดั
แนวปฏบิ ตั ิแผนเผชิญเหตุรองรบั สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา
แนวปฏบิ ัติแผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด19 ในสถานศกึ ษา มีดังนี้
1. การปอ้ งกนั เชือ้ โรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) จากตา่ งประเทศ
• หากเป็นครูต่างประเทศต้องรับการกักกันในสถานท่ีที่รัฐจัดให้ (State quarantine) เป็นเวลา
14 วัน
• การได้รบั สิทธิประกนั สังคมหรอื ประกนั สุขภาพ
• การใช้ระบบการศกึ ษาทางไกลแทนการเข้ามาศกึ ษาในประเทศไทย
2. การป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ภายในประเทศ
• พัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ การบรหิ ารในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด19
• รับฟังความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโค
วดิ 19
• มกี ารจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
• จัดท้าแนวทางการบริหารจัดการส้าหรับโรงเรียนเพ่ือป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของ
โรคโควดิ 19
• แนวทางรบั มือตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ กรณีการระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวังและแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 35
3. การเฝา้ ระวังและการสอบสวนโรค
• คัดกรองนักเรียน ผู้บริหารครูบุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง มีการสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา
หม่ันล้างมืออย่างสม่้าเสมอ การเว้นระยะห่างการท้าความสะอาด (ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียน
โรงอาหาร สนามเดก็ เลน่ พืน้ ทีส่ ่วนกลาง) และลดความแออดั
• มแี นวปฏิบัติส้าหรบั ผู้บริหารครแู ละบุคลากรในสถานศึกษาในการด้าเนินการเกี่ยวกับ โรคโควิด
19 เช่น จัดท้าแนวทางการบริหารจัดการส้าหรับโรงเรียนเพื่อป้องกันและ ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด
19 มาตรการคัดกรองสขุ ภาพด้านสาธารณสุข การดา้ เนนิ การเมอื่ มีกลมุ่ เส่ยี งหรอื ผปู้ ว่ ยยนื ยันใน สถานศึกษา
• การปิดสถานศกึ ษาท่เี กดิ การระบาดและควบคมุ การระบาดในสถานศึกษา
• รายงานการประเมินสถานการณ์ผลการด้าเนินงาน ปัญหาอุปสรรคและให้ข้อเสนอแนะแก่
หนว่ ยงาน ตน้ สงั กัด และคณะกรรมการโรคตดิ ต่อระดับจังหวดั เพอื่ การตดั สนิ ใจ
4. การสร้างความร่วมมือจากทกุ ภาคส่วน
• มีศนู ย์ประสานงานและตดิ ตามข้อมูลระหวา่ งสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานตา่ งๆ
• โรงเรยี นไดป้ ระสานงานกบั โรงพยาบาลสระบรุ ี และศูนย์อนามยั ที่ 4 ในการให้ข้อเสนอแนะและ
แนวทางความรว่ มมอื การป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19
แนวปฏิบตั ใิ นการเฝ้าระวังและเผชิญเหตุของโรงเรียนอนุบาลสระบุรี
สังกดั สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสระบรุ ี เขต 1
กรณีสงสัยวา่ นักเรียนหรือบุคลากรมีภาวะเสี่ยงตอ่ การติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ส้านกั งานเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอน (2563) ไดแ้ จ้งแนวปฏบิ ัตสิ า้ หรบั สถานศึกษากรณีสงสัย
วา่ นักเรียนหรอื บคุ ลากรในสถานศกึ ษามภี าวะเสี่ยงต่อการติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา่ 2019 (COVID-19) ดังนี้
1. กรณีพบนักเรียน หรือบุคลากรในสถานศึกษา มีอาการมีไข้อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ 37.5 องศา
เซลเซียสข้นึ ไป ร่วมกับอาการระบบทางเดนิ หายใจอย่างใดอยา่ งหนง่ึ
- ในกรณีของคร/ู บุคลากรในสถานศึกษาใหจ้ ดั อยใู่ นพ้ืนท่ีแยกส่วน และรีบพาไปพบแพทย์
- ในกรณีของนักเรยี นใหแ้ จง้ ผ้ปู กครองมารับและหยุดพักที่บ้านจนกวา่ จะหายเป็นปกติ
2. แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประเมินสถานการณ์บริเวณอาคารเรียน และด้าเนินการ สอบสวนโรค
เพอ่ื ประกอบความเหน็
3. ในการด้าเนินการปิดสถานศึกษาหากพบว่ามีนักเรียนติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 จริงให้รีบรายงาน
ต่อส้านักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาต้นสังกัดโดยด่วนเพื่อน้าเสนอต่อศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ระดับจังหวัดพิจารณาอนุญาตให้สถานศึกษาด้าเนินการปิดเรียน ในระดับ ห้องเรียน
ระดบั ชนั้ หรือปิดสถานศกึ ษา
แผนเผชญิ เหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ัตขิ องสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 36
แนวทางปฏิบัติเมื่อพบผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา ให้ปิดห้องเรียน/ชั้นเรียน/
สถานศึกษา กรณพี บผปู้ ่วยยืนยนั โรคโควิด 19
1. เมื่อพบผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด 19 จ้านวน 1 รายข้ึนไป ให้ปิดห้องเรียน เป็นเวลา 3 วัน เพ่ือท้าความ
สะอาด
2. เมื่อพบผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด 19 มากกว่า 1 ห้องเรียนให้ปิดช้ันเรียน เป็นเวลา 3 วัน เพ่ือท้าความ
สะอาด
3. หากมีหลักฐานและความจ้าเป็นต้องปิดสถานศึกษาให้ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อ
จงั หวัด ไม่ตอ้ งปดิ หอ้ งเรยี น/ชนั้ เรยี น/สถานศกึ ษา
กรณที ่ีไมพ่ บผู้ปว่ ยยืนยันโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษาโดยมี แนวทางดาเนินการ ดงั นี้
1. ผ้สู มั ผสั ทมี่ ีความเสยี่ งตอ่ การติดเชอ้ื สงู (High risk Contact) ในสถานศกึ ษา ดังนี้
• ผู้สัมผัสที่มีความเส่ียงต่อการติดเช้ือสูง (High risk Contact) ให้สังเกตอาการที่บ้าน เป็นเวลา
อย่างนอ้ ย 14 วัน หากพบอาการผดิ ปกตใิ ห้ไปพบแพทยเ์ พ่อื ตรวจวินจิ ฉยั ระหวา่ งรอผล ใหก้ กั ตวั ท่บี า้ น
• สถานศึกษาด้าเนินกิจกรรมได้ตามปกติและสื่อสารให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องเข้าใจความเส่ียงและ
แนว ทางการดา้ เนนิ การในระยะต่อไป
2. ผู้สัมผัสท่ีมีความเส่ียงต่อการติดเชื้อต่้า (Low risk Contact) ให้สังเกตอาการ เป็นเวลา 14 วัน
ไมจ่ า้ เป็นตอ้ งหยุดเรยี น และไม่จ้าเป็นตอ้ งปดิ สถานศกึ ษา (รักษาตามอาการ หายป่วยแล้วเรียนต่อได)้
3. ผใู้ กลช้ ดิ
• ผใู้ กลช้ ิดกับผู้สัมผสั เส่ียงสงู จัดว่า มคี วามเสยี่ งต้า่ ไม่จ้าเป็นต้องหยดุ เรยี น แต่ให้สงั เกตอาการ
เป็นเวลา 14 วัน
• ผใู้ กล้ชดิ กับผสู้ มั ผสั เส่ยี งต่้า จดั วา่ ไม่มคี วามเส่ียง ไม่จ้าเป็นต้องหยดุ เรยี น แต่ให้สงั เกตอาการ
เป็นเวลา 14 วัน หมายเหตุ ทั้งนี้ในทุกกรณีขอใหด้ า้ เนนิ การบนพน้ื ฐานของข้อมลู การสอบสวนทาง
ระบาดวิทยาและ สถานการณ์โรคในพนื้ ที่
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวังและแนวปฏบิ ตั ิของสถานศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 37
เอกสารอ้างองิ
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 สา้ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 38
คณะผจู้ ดั ทา
รวบรวมข้อมูล
1. นายอิทธริ งค์ ปานะถึก ผ้อู า้ นวยการโรงเรียน
2. นางธีรนชุ ผาสุข รองผอู้ ้านวยการโรงเรยี น
3. นางสาวณัฐนนั ท์ ทองสุพรรณ์ รองผ้อู ้านวยการโรงเรียน
4. นายพยนต์ เหนอื โท รองผู้อ้านวยการโรงเรียน
5. นายกฤษฏิภ์ วิศร์ หงษ์ร่อน รองผู้อา้ นวยการโรงเรยี น
6. นางจิราภรณ์ ปานะถกึ ผู้ช่วยผอู้ า้ นวยการโรงเรยี น
7. คณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับสถานศึกษา
แผนเผชญิ เหตุ การเฝ้าระวังและแนวปฏบิ ตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) 39
คานา
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย
ได้ขยายขอบเขตการแพร่ของโรคออกไปในวงกว้างกระจายไปในหลายพ้ืนที่การ ตรวจพบผู้ป่วยยืนยันติดเช้ือ
รายใหม่โดยเฉพาะกรณีท่ีเป็นการติดเชื้อภายในประเทศมีจ้านวนเพ่ิมสูงข้ึนในแต่ละวัน ประกอบกับมีการเดินทาง
ของบุคคลจากเขตพ้ืนที่สถานการณ์ที่ก้าหนดให้เป็นเขตพ้ืนท่ีควบคุมสูงสุดซ่ึงส่วนใหญ่ยังไม่ปรากฏ อาการของโรค
เปน็ เหตุใหเ้ ชือ้ โรคแพร่ออกไปในลกั ษณะเป็นกลุ่มก้อนผู้ติดเชื้อโรคบางส่วนปกปิดข้อมูลการเดินทาง ท้าให้ข้ันตอน
การสอบสวนโรคเกิดความลา่ ช้าและเป็นอปุ สรรคตอ่ การปฏิบตั ิงานอ่นื ท่เี ก่ยี วขอ้ งจน ส่งผลให้ เกิดการระบาดขยาย
เป็นวงกว้าง จังหวัดสระบุรี ได้รับผลกระทบจากสภาวการณ์การแพร่ระบาดในครั้งนี้ และเป็นพ้ืนที่ควบคุม (สีส้ม)
ตามประกาศการเลื่อนเปิดภาคเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนอนุบาลสระบุรี ได้ด้าเนินการจัดท้ารูปแบบ
การจดั การเรยี นการสอนเพ่ือรองรับการเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ท้ัง 3 กรณี คือ 1. กรณีที่โรงเรียน
ไม่สามารถเปิดเรียนแบบ on-site ได้ 2. กรณีที่สามารถเปิดเรียนแบบ on-site มาเรียนแต่ไม่เต็มรูปแบบ
และ 3. กรณีเปิดเรยี นแบบ on-site เตม็ รูปแบบได้
โรงเรียนอนุบาลสระบุรี ค้านงึ ถึงความปลอดภัยเป็นสา้ คัญ และมคี วามหว่ งใย นักเรยี น ผู้ปกครอง คณะครู
บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนทุกคน จึงได้จัดท้า “คู่มือแผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวัง และแนวปฏิบัติ
ของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในกรณีที่พบเหตุ
พเิ ศษ พบผตู้ ิดเช้อื โควดิ 19 หรอื ผู้สมั ผสั ใกล้ชดิ ทมี่ ีความเสี่ยงสงู เพื่อได้น้าไปใช้เป็นแนวปฏิบัติที่ทันต่อเหตุการณ์
อันจะส่งผลให้นักเรียน ผู้ปกครอง คณะครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เก่ียวข้องปลอดภัย ลดความเส่ียงต่อการ
ติดเช้อื และสามารถดา้ เนินชวี ติ อย่างปกตสิ ขุ ตามแนวชวี ติ วิถใี หม่ (New Normal)
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ัติของสถานศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 4ก0
สารบัญ หน้า
ก
เร่อื ง ข
คานา 1
สารบัญ 3
บทน้า 3
บทบาท และภารกจิ ของโรงเรยี น ระยะการเตรยี มความพร้อม (ตามแนวปฏบิ ตั ิของ สพฐ.) 4
ช่วงที่ 1 : ระหว่างวนั ที่ 23 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2564 5
ชว่ งท่ี 2 : ระหว่างวนั ท่ี 6 - 16 พฤษภาคม 2564 6
ชว่ งท่ี 3 : ระหวา่ งวันที่ 17 พฤษภาคม - 13 มถิ ุนายน 2564 6
ระยะการจัดการเรียนการสอน (ตง้ั แตว่ ันท่ี 14 มถิ ุนายน 2564 เปน็ ตน้ ไป) 11
บทบาทของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู นกั เรยี นและผปู้ กครอง 15
แนวปฏบิ ัตกิ ารดูแลดา้ นอนามยั และส่ิงแวดลอ้ มของโรงเรยี นในระหวา่ งเปดิ ภาคเรยี น 17
การเปดิ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นอนุบาลสระบรุ ี 35
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของโรงเรยี น 36
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวัง และแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศึกษา ฯ 38
แนวปฏบิ ตั ิในการเฝา้ ระวังและเผชิญเหตุของโรงเรียนอนบุ าลสระบรุ ี
เอกสารอ้างองิ
ภาคผนวก
แผนเผชิญเหตุ การเฝ้าระวงั และแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) 4ข1