The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสืบค้นข้อมูลด้วยอินเทอร์เน็ตและจริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kru.Chompu P., 2019-09-15 03:11:57

การสืบค้นข้อมูลด้วยอินเทอร์เน็ตและจริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์

การสืบค้นข้อมูลด้วยอินเทอร์เน็ตและจริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์

233

การสืบค้นข้อมูลด้วยอนิ เทอร์เนต็
และจริยธรรมการใช้คอมพวิ เตอร์

แนวคดิ

เมื่อขอ้ มูลบนหนา้ เวบ็ มีปริมาณมากข้นึ การคน้ หาขอ้ มูลโดยใชก้ ารกวาดสายตา
คงไม่เพยี งพออีกตอ่ ไป จงึ ตอ้ งมีเครื่องมือทช่ี ่วยในการคน้ หา เรียกวา่ Search โดยมีกลไก
การทางานท่เี รียกวา่ Search Engine ซ่ึงจะทาหนา้ ท่คี น้ หาขอ้ มูลจากฐานขอ้ มูลทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
หรือมี Keyword ตรงกบั ผใู้ ชป้ ้ อน แลว้ แสดงผลออกมาใหก้ บั ผชู้ ม

เนื้อหาสาระ

9.1 ความหมายของอินเตอร์เน็ต
9.2 ววิ ฒั นาการของอินเทอร์เน็ต
9.3 ความสาคญั ของอินเทอร์เน็ต
9.4 การทางานของอินเทอร์เน็ต
9.5 การใชง้ านอินเทอร์เน็ต
9.6 บริการคน้ หาขอ้ มูลบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)
9.7 ข้นั ตอนและวธิ ีการสืบคน้ ขอ้ มูลบนอินเทอร์เน็ต
9.8 จริยธรรมในการใชค้ อมพวิ เตอร์
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
9.1 บอกความหมายของอินเตอร์เน็ตได้
9.2 บอกความสาคญั ของอนิ เทอร์เน็ตได้
9.3 อธิบายการบริการคน้ หาขอ้ มูลบนอินเทอร์เนต็ (Search Engine)ได้
9.4 อธิบายข้นั ตอนและวธิ ีการสืบคน้ ขอ้ มูลบนอินเทอร์เน็ตได้
9.5 บอกจริยธรรมในการใชค้ อมพวิ เตอร์ได้

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

234

แบบทดสอบก่อนเรียน

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพยี งคาตอบเดียวและทาเคร่ืองหมาย () ลงใน
กระดาษคาตอบ (10 คะแนน)
1. อินเทอร์เน็ต หมายถึงขอ้ ใด

ก. คอมพวิ เตอร์โน๊ตบคุ
ข. ระบบปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์
ค. เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่
ง. สญั ญาณทอี่ ยใู่ นรูปคล่ืนความถ่ีสูง
2. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ประโยชนจ์ ากการใชอ้ ินเทอร์เน็ต
ก. ผรู้ ้ายใชท้ าความผดิ
ข. คน้ ควา้ หาขอ้ มูล
ค. ซ้ือขายสินคา้
ง. ติดตอ่ สื่อสาร
3. หมายเลขประจาเคร่ืองของผใู้ ชอ้ ินเทอร์เน็ต คือขอ้ ใด
ก. Wifi
ข. TCP/IP
ค. Protocol
ง. IP Address
4. เวบ็ ไซตใ์ ด ควรจะเป็นหน่วยงานทางการศกึ ษา
ก. www.ABC.com
ข. www.AB.edu
ค. www.ABC.int
ง. www.ABC.org
5. โปรแกรมใดแตกตา่ งจากพวก
ก. Firefox
ข. PowerPoint

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

235

ค. Google Chrome
ง. Internet Explorer

6. หมายถึงขอ้ ใด
ก. Tab
ข. Title
ค. URL
ง. Menu

7. Search Engine คอื ขอ้ ใด
ก. เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการทางานของระบบคอมพวิ เตอร์
ข. เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการคน้ หาขอ้ มูลในอินเตอร์เน็ต
ค. เครื่องมือท่ีใชใ้ นการเล่นอินเทอร์เน็ต
ง. เคร่ืองมือทีใ่ ชบ้ อกที่อยขู่ องเวบ็ ไซต์

8.

ถา้ ตอ้ งการสืบคน้ เรื่องเกี่ยวกบั “ส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์” จะพมิ พข์ อ้ ความทีห่ มายเลข 1
อยา่ งไร

ก. แรม
ข. คอมพวิ เตอร์
ค. องคป์ ระกอบคอมพวิ เตอร์
ง. ส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์
9. จากขอ้ 8 เมื่อป้ อนขอ้ ความทต่ี อ้ งการสืบคน้ แลว้ จะปฏิบตั อิ ยา่ งไร
ก. คลิกหมายเลข 1
ข. คลิกหมายเลข 2
ค. คลิกหมายเลข 3
ง. คลิกหมายเลข 4
10. จริยธรรม หมายถึงขอ้ ใด
ก. หลกั ทคี่ วรประพฤตทิ ีไ่ ม่ใหผ้ อู้ ่ืนเดือดร้อนเสียหาย

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

236

ข. ควรปฏบิ ตั ใิ นส่ิงที่ควรกระทา
ค. กิริยาที่ควรประพฤติ
ง. หลกั การทย่ี ดึ ปฏิบตั ิ

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

237

กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบทถ่ี กู ที่สุดเพยี งคาตอบเดียว และทาเครื่องหมาย
() ลงในกระดาษคาตอบ (10 คะแนน)

ข้อ ก ข ค ง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.

รวมคะแนน

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

238

การสืบค้นข้อมูลด้วยอนิ เทอร์เน็ตและจริยธรรมการใช้คอมพวิ เตอร์

ความหมายของอินเตอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ ท่ีมีการเช่ือมต่อระหวา่ ง

เครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทว่ั โลก โดยใช้ภาษาท่ีใชส้ ื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ท่ีเรียกว่า โพรโทคอล
(Protocol) ผใู้ ชเ้ ครือข่ายน้ีสามารถสื่อสารถึงกนั ไดใ้ นหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล เวบ็ บอร์ด และ
สามารถสืบคน้ ขอ้ มูลและข่าวสารต่างๆ รวมท้งั คดั ลอกแฟ้ มขอ้ มูลและโปรแกรม มาใชไ้ ด้
ววิ ัฒนาการของอินเทอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ตในปัจจุบนั ถูกพฒั นามาจากโครงการวจิ ยั ทางการทหารของกระทรวงกลาโหม
ของประเทศ สหรัฐอเมริกา คือ Advanced Research Projects Agency (ARPA) ในปี พ.ศ. 2512
โครงการน้ีเป็นการวจิ ยั เครือข่ายเพอ่ื การสื่อสารของการทหารในกองทพั อเมริกา หรืออาจเรียกส้ันๆ
ไดว้ า่ ARPA Net ในปี พ.ศ. 2513 ARPA Net ไดม้ ีการพฒั นาเพม่ิ มากข้ึนโดยการเช่ือมโยงเครือข่าย
ร่วมกบั มหาวทิ ยาลยั ช้นั นาของอเมริกา คือ มหาวทิ ยาลยั ยทู าห์ มหาวิทยาลยั แคลิฟอร์เนีย ท่ีซานตา
บาบารา มหาวิทยาลยั แคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจลิส และสถาบนั วจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั สแตนฟอร์ด
และหลงั จากน้นั เป็นตน้ มากม็ ีการใช้ อินเทอร์เน็ตกนั อยา่ งแพร่หลายมากข้นึ

สาหรับในประเทศไทย อินเทอร์เน็ตเริ่มมีการใช้คร้ังแรกในปี พ.ศ. 2530ที่หาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ โดยไดร้ ับความช่วยเหลือจากโครงการ IDP (The International Development Plan)
เพอ่ื ใหม้ หาวทิ ยาลยั สามารถตติ ่อส่ือสารทางอีเมลกบั มหาวทิ ยาลยั เมลเบิร์นในออสเตรเลีย ไดม้ ีการ
ติดต้งั ระบบอีเมล์ข้ึนคร้ังแรก โดยผ่านระบบโทรศัพท์ ความเร็วของโมเด็มท่ีใช้ในขณะน้ันมี
ความเร็ว 2,400 บติ /วนิ าที จนกระทงั่ วนั ท่ี 2 มิถุนายน พ.ศ. 2531 ไดม้ ีการส่งอีเมลฉบบั แรกที่ติดต่อ
ระหวา่ งประเทศไทยกบั มหาวทิ ยาลยั เมลเบิร์น มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์
จงึ เปรียบเสมือนประตทู างผา่ น (Gateway) ของไทยทีเ่ ช่ือมต่อไปยงั ออสเตรเลียในขณะน้นั

ในปี พ.ศ. 2533 ศนู ยเ์ ทคโนโลยอี ิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)
ไดเ้ ช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ของสถาบนั การศึกษาของรัฐโดยมีชื่อว่าเครือข่ายไทยสาร(Thai Social/Scientific
Academicand ResearchNetwork : ThaiSARN)ประกอบดว้ ยมหาวิยาลยั สงขลานครินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
สถาบนั เทคโนโลยแี ห่งเอเชีย(AIT) มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เพ่ือใหบ้ ริการ
อินเทอร์เน็ตภายในประเทศ เพอื่ การศกึ ษาและวจิ ยั

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

239

ในปี พ.ศ. 2538 ไดม้ ีการบริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชยข์ ้ึน เพอ่ื ใหบ้ ริการแก่ประชาชน
และภาคเอกชนต่างๆ ท่ีต้องการเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต โดยมีบริษัทอินเทอร์เน็ตไทยแลนด์
(Internet Thailand) เป็ นผใู้ ห้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider: ISP) เป็ นบริษทั แรก
เม่ือมีคนนิยมใชอ้ ินเทอร์เน็ตเพ่ิมมากข้ึน บริษทั ท่ีให้บริการอินเทอร์เน็ตจึงไดก้ ่อต้งั เพ่ิมข้ึนอีก
มากมาย
ความสาคญั ของอินเทอร์เน็ต

ในปัจจุบนั อินเทอร์เน็ตมีบทบาทและมีความสาคญั ต่อชีวติ ประจาวนั ของคนเราอยา่ งมาก
เพราะทาใหว้ ถิ ีชีวติ เราทนั สมยั และทนั เหตกุ ารณ์อยเู่ สมอเนื่องจากอินเทอร์เน็ตจะมีการเสนอขอ้ มูล
ข่าวปัจจุบันและสิ่งต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนให้ผูใ้ ช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวนั สารสนเทศที่เสนอใน
อินเทอร์เน็ตจะมีมากมายหลายรูปแบบเพ่ือสนองความสนใจและความตอ้ งการของผูใ้ ชท้ ุกกลุ่ม
อินเทอร์เน็ตจึงเป็ นแหล่งสารสนเทศสา ค ัญ สา ห รั บ ทุ ก ค น เพราะสามารถค ้น ห า สิ่ ง ที่ ต น ส น ใ จ
ไดใ้ นทนั ทีโดยไม่ตอ้ งเสียเวลาเดินทางไปคน้ ควา้ ในห้องสมุด หรือแมแ้ ต่การรับรู้ข่าวสารทวั่ โลก
กส็ ามารถอ่านไดใ้ นอินเทอร์เน็ตจากเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ ของหนงั สือพมิ พ์

ดงั น้นั อินเทอร์เน็ตจึงมีความสาคัญ กบั วถิ ีชีวิตของคนเราในปัจจุบนั เป็ นอยา่ งมากใน
ทุกๆ ดา้ นไม่วา่ จะเป็นบุคคลที่อยใู่ นวงการธุรกิจ การศึกษา ต่างก็ไดร้ ับประโยชน์จากอินเทอร์เน็ต
ดว้ ยกนั ท้งั น้นั

1. ดา้ นการศกึ ษา อินเทอร์เน็ตมีความสาคญั ดงั น้ี
1.1. สามารถใชเ้ ป็นแหล่งคน้ ควา้ หาขอ้ มูล ไม่วา่ จะเป็ นขอ้ มูลทางวชิ าการ

ขอ้ มูลดา้ นการบนั เทิง ดา้ นการแพทย์ และอื่นๆ ทน่ี ่าสนใจ
1.2. ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะทาหนา้ ทเี่ ปรียบเสมือนเป็นหอ้ งสมุดขนาดใหญ่
1.3. นกั เรียนนกั ศึกษาสามารถใชอ้ ินเทอร์เน็ตติดต่อกบั มหาวทิ ยาลยั หรือโรงเรียนอื่นๆ

เพอ่ื คน้ หาขอ้ มูลทก่ี าลงั ศึกษาอยไู่ ด้ ท้งั ทีข่ อ้ มูลที่เป็ นขอ้ ความเสียง ภาพเคลื่อนไหวตา่ งๆ
2. ดา้ นธุรกิจและการพาณิชย์ อินเทอร์เน็ตมีความสาคญั ดงั น้ี
2.1. คน้ หาขอ้ มูลตา่ งๆ เพอื่ ช่วยในการตดั สินใจทางธุรกิจ
2.2. สามารถซ้ือขายสินคา้ ทาธุรกรรมผา่ นระบบเครือขา่ ย
2.3. เป็ นช่องทางในการประชาสมั พนั ธ์ โฆษณาสินคา้ ตดิ ต่อส่ือสารทางธุรกิจ

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

240

2.4. ผใู้ ชท้ เ่ี ป็ นบริษทั หรือองคก์ รตา่ งๆ ก็สามารถเปิ ดใหบ้ ริการและสนบั สนุนลูกคา้
ของตนผา่ นระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การใหค้ าแนะนา สอบถามปัญหาตา่ งๆ ใหแ้ ก่ลูกคา้
แจกจ่ายตวั โปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware)

การทางานของอนิ เทอร์เน็ต

การสื่อสารขอ้ มูลดว้ ยอนิ เทอร์เน็ตจะมีโปรโตคอล (Protocol) ซ่ึงเป็นระเบียบวธิ ีการส่ือสาร

ท่ีเป็นมาตรฐานของการเชื่อมต่อกาหนดไว้ โปรโตคอลที่เป็ นมาตรฐานสาหรับการเช่ือมต่อ

อินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)

เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองที่เช่ือมต่อเขา้ กบั เครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะตอ้ งมีหมายเลข

ประจาเคร่ือง ที่เรียกวา่ IP Address เพ่ือเอาไวอ้ ้างอิงหรือติดต่อกบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์อ่ืนๆ ใน

เครือขา่ ยซ่ึง IP ในทน่ี ้ีก็คือ Internet Protocol ตวั เดียวกบั ใน TCP/IP นน่ั เอง

โดเมนท่ไี ดร้ บั ความนิยมกนั ทวั่ โลก ทีถ่ ือวา่ เป็นโดเมนสากล มีดงั น้ี คอื

.com ยอ่ มาจาก Commercial สาหรับธุรกิจ

.edu ยอ่ มาจาก Education สาหรบั การศกึ ษา

.int ยอ่ มาจาก International Organization สาหรับองคก์ รนานาชาติ

.org ยอ่ มาจาก Organization สาหรับหน่วยงานที่ไม่แสวงหากาไร

.net ยอ่ มาจาก Network สาหรับหน่วยงานที่มีเครือข่ายของ

ตนเองและทาธุรกิจดา้ นเครือข่าย

การใช้งานอนิ เทอร์เน็ต

การใชอ้ ินเตอร์เน็ตเราจาเป็นจะตอ้ งรู้จกั โปรแกรมทีใ่ ชใ้ นการใชง้ านอินเทอร์เน็ต

เรียกวา่ “บราวเซอร์”

บราวเซอร์ (Browser) คอื เคร่ื องมือที่ช่วยให้สามารถท่องเทยี่ วไปในโลกอินเตอร์เน็ต

ไดอ้ ยา่ งไรข้ ดี ก้นั ทางดา้ นพรมแดน นอกจากน้ี Browser ยงั ช่วยอานวยความสะดวกในการเยย่ี มชม

เวบ็ ไซตต์ ่างๆ ซ่ึงในขณะน้ีบริษทั ผลิตซอฟแวร์ค่ายต่างๆ นบั วนั จะทวีการแข่งขนั กนั ในการผลิต

Browser เพอ่ื สร้างความพงึ พอใจใหแ้ ก่นกั ทอ่ งเวบ็ ใหม้ ากที่สุด หน้าตาของ browser แตกต่างกนั ไป

ตามแต่การออกแบบการใชง้ านของแตล่ ะค่ายโปรแกรมในปัจจุบนั บราวเซอร์มีให้ผใู้ ชอ้ ินเทอร์เน็ต

เลือกอยา่ งมากมาย และไดม้ ีการจดั อนั ดบั ท่ไี ดร้ ับความนิยมในปี 2554 ดงั น้ี

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

241

ตารางการจดั อันดบั Browser ท่ีได้รับความนิยมปี 2554

อนั ดับ 1 Firefox www.mozilla.com

อนั ดับ 2 Google Chrome www.google.com/chrome

อนั ดบั 3 Internet Explorer www.microsoft.com/windows/internet-
explorer/default.aspx

อนั ดับ 4 Opera www.opera.com

อนั ดับ 5 Safari www.apple.com/safari

อันดบั 6 Maxthon www.maxthon.com

อันดับ 7 Flock www.flock.com

อนั ดบั 8 Avant Browser www.avantbrowser.com

อนั ดับ 9 Deepnet Explorer www.deepnetexplorer.com

อันดบั 10 PhaseOut www.phaseout.net

ท่มี า: http://internet-browser-review.toptenreviews.com

เมื่อทาความรูจ้ กั กบั Browser แล้วเราต้องศึกษาส่วนประกอบของ Browser
ซ่ึง Browser แตล่ ะน้นั จะมีส่วนประกอบแตกต่างกนั ออกไป ในทนี่ ้ีเราจะเรียนรูส้ ่วนประกอบ
ของบราวเซอร์ทม่ี ีช่ือวา่ Firefox ซ่ึงเป็นอีกหนี่ง Browser ทไี่ ดร้ บั ความนิยม

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

242

3 1 6
5 2

4

7

1. Title Bar แสดงชื่อของเอกสารบนอินเทอร์เน็ตทกี่ าลงั เปิ ดชมอยใู่ นขณะน้นั
2. Menu Bar เมนูคาสง่ั ในการทางาน เม่ือคลิกท่ีชื่อของเมนู จะมีรายการเมนูยอ่ ยแสดงออกมา

ใหเ้ ลือกใช้
3. Address Bar ท่อี ยขู่ องเอกสารเวบ็ หรือท่ีอยขู่ องสถานทีบ่ นอินเทอร์เน็ต ซ่ึงเรียกวา่ URL
4. Link Bar ใชเ้ กบ็ ลิงคพ์ เิ ศษทเ่ี ราตอ้ งการจะเขา้ ถึงอยา่ งรวดเร็ว
5. Tab Bar แสดงจานวนหนา้ ทเี่ ปิ ดไวใ้ น Browser
6. Browser Pane จอภาพที่แสดงขอ้ มูลของเวบ็ เพจ็
7. Status Bar เป็นแถบแสดงสถานการณ์ทางาน

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

243

บริการค้นหาข้อมูลบนอนิ เทอร์เน็ต (Search Engine)
โดยทว่ั ไปลกั ษณะการสืบคน้ ขอ้ มูลบนอินเทอร์เน็ตสามารถแบง่ ลกั ษณะรูปแบบการคน้ หา

เป็น 3 ลกั ษณะ คือ
1. Web Directory คือ การคน้ หาโดยการเลือก Directory ท่ีจดั เตรียมและแยกหมวดหมู่ไว้

ใหเ้ รียบร้อยแลว้ ซ่ึงบรรจุเน้ือหาหรือเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ ไวเ้ ป็ นหมวดหมู่หรือกลุ่มใหญ่ๆ และแต่ละกลุ่ม
จะแบ่งเป็ นเร่ืองยอ่ ยๆ ต่อไปเร่ือยๆ เหมือนกบั หลกั การจดั หมวดหมู่หนงั สือในหอ้ งสมุด ขอ้ ดีคือ
ช่วยให้ผูใ้ ชไ้ ดข้ อ้ มูลท่ีตรงกบั ความตอ้ งการ เนื่องจากนาขอ้ มูลมาจดั หมวดหมู่ไวอ้ ยา่ งเป็ นระบบ
และสามารถกาหนดคน้ ไดง้ า่ ยในหวั ขอ้ โดยเลือกจากรายการท่ที าไวแ้ ลว้ website ทใ่ี หบ้ ริการ
web directory เช่น www.yahoo.com, www.sanook.com

ภาพแสดงตวั อยา่ ง Web Directory (www.sanook.com)

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

244

2. การค้นหาแบบดชั นี (Index) หรือ สาคญั (Keyword) คือ การคน้ หาขอ้ มูลโดยใช้
โปรแกรม Search โดยการเอาคาท่เี ราต้องการคน้ หาไปเทียบกับเว็บไซต์ตา่ งๆ วา่ มีเวบ็ ไซตใ์ ดบา้ ง
ที่มีคาท่ีเราตอ้ งการคน้ หา โดยการคน้ จากขอ้ ความในเว็บเพจท่ีไดผ้ ่านการสารวจมาแล้ว จะอ่าน
ขอ้ ความ ประมาณ 200-300 ตวั อกั ษรแรกของเวบ็ เพจ วิธีการคน้ หาของ Search Engine ประเภทน้ี
จะใหค้ วามสาคญั กบั การเรียงลาดบั ขอ้ มูลก่อนหลงั การคน้ หาขอ้ มูล การคน้ หาวิธีน้ีมีความรวดเร็ว
มาก แต่มีความละเอียดในการจดั แยกหมวดหมู่ของขอ้ มูลค่อนขา้ งน้อย เน่ืองจากไม่ไดค้ านึงถึง
รายละเอียดของเน้ือหาเท่าที่ควร แต่ถา้ ตอ้ งการแนวทางดา้ นกวา้ งของขอ้ มูล การคน้ หาแบบน้ีจะ
เหมาะสมท่ีสุด website ท่ีใหบ้ ริการ search engine เช่น www.google.co.th

3. Metasearch คือ ลกั ษณะการสืบคน้ หาขอ้ มูลจะมีลกั ษณะเดียวกนั กบั search engine
แตจ่ ะทาการส่งคาท่ีตอ้ งการไปคน้ หาในเวบ็ ไซตท์ ี่ใหบ้ ริการสืบคน้ ขอ้ มูลอื่นๆ อีก ถา้ ขอ้ มูลท่ีไดม้ ี
ซ้ากนั ก็จะแสดงเพียงรายการเดียวจุดเด่นของการคน้ หาดว้ ยวธิ ีการน้ี คือ สามารถเชื่อมโยงไปยงั
Search Engine ประเภทอื่นๆ และยงั มีความหลากหลายของขอ้ มูล แต่การคน้ หาดว้ ยวิธีน้ีมีจุดดอ้ ย
คือ วิธีการน้ีจะไม่ให้ความสาคญั กับขนาดเล็กใหญ่ของตวั อักษร และมักจะผ่านเลยคาประเภท

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

245
Natural Language (ภาษาพูด) ดงั น้นั หากจะใช้ Search Engine ประเภทน้ีจะพบกบั ขอ้ บกพร่อง
เหล่าน้ีดว้ ย

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

246

ข้นั ตอนและวิธีการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตเป็ นแหล่งรวบรวมขอ้ มูลขนาดใหญ่ซ่ึงมีขอ้ มูลหลากหลายประเภทและมี

แนวโนม้ จะเพม่ิ ข้ึนอยา่ งรวดเร็ว ดงั น้นั การคน้ หาขอ้ มูลท่ีตอ้ งการไดอ้ ยา่ งรวดเร็วน้นั ไม่ใช่เร่ืองง่าย
สาหรับผทู้ ไี่ ม่คุน้ เคยกบั แหล่งขอ้ มูลน้ี น่ันคือ มกั ประสบปัญหาไม่ทราบว่าขอ้ มูลที่ตอ้ งการน้นั อยู่
ในเว็บไซตใ์ ด ดังน้ันจึงไดม้ ีเวบ็ ไซต์ท่ีให้บริการคน้ หาขอ้ มูลต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต ท่ีเรียกว่า
เคร่ืองมือช่วยคน้ หรือ เซิร์ชเอ็นจิน (Search Engine)

Search Engine คอื เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการคน้ หาขอ้ มูลในอนิ เตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูล คอื การนาความรู้เกี่ยวกบั อินเทอร์เน็ต มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการศกึ ษาหา
ความรู้ ไดแ้ ก่ การสืบคน้ ขอ้ มูลทางอินเทอร์เน็ต
ในการสืบคน้ ขอ้ มลู น้นั ถา้ หากเราทราบแหล่งขอ้ มูลหรือเวบ็ ไซต์ เราก็สามารถพมิ พห์ รือ
ระบุ URL ในช่อง Address ไดเ้ ลย แต่ถา้ หากเราไม่ทราบวา่ แหล่งขอ้ มูลน้นั อยทู่ ใ่ี ด เราสามารถใช้
เวบ็ ไซตท์ ีเ่ ป็น Search Engine ช่วยในการคน้ หาไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว
ข้นั ตอนการสืบค้นข้อมูล
ข้นั ตอนการสืบคน้ ขอ้ มลู ดว้ ยโปรแกรม Search Engine โดยใชง้ านผา่ นเวบ็ ไซต์
Google.com สามารถใชง้ านไดด้ งั น้ี
1. เปิ ดโปรแกรม Web Browser ตวั อยา่ งเช่น Internet Explorer หรือ Mozilla Firefox

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

247

2. ป้ อนคาหรือวลีที่ตอ้ งการคน้ ขอ้ มูลลงในช่องสาหรบั กรอกคาคน้ ขอ้ มูลหลงั จากน้นั กดป่ มุ
Enter จะไดข้ อ้ มูลที่ตอ้ งการคน้ หาดงั ภาพดา้ นล่าง

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

248
3. เมื่อตอ้ งการคน้ ขอ้ มูลทเ่ี ป็นรูปภาพสามารถกดลิงค์ “คน้ รูป” จะไดร้ ูปภาพดงั ภาพ
ดา้ นล่าง

4. การคน้ หาขอ้ มูลระดบั สูงหรือการคน้ หาแบบพเิ ศษสามารถกดเลือกทล่ี ิงคด์ า้ นล่างของ
หนา้ จอดงั ภาพดา้ นล่าง

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

249
5. การคน้ หาข้นั สูงของ google search engine สามารถกาหนดขอบเขตของการสืบคน้
ขอ้ มูลไดด้ งั ภาพดา้ นล่าง

6. ตวั อยา่ งการป้ อนคาเพือ่ สืบคน้ ขอ้ มูลซ่ึงมีการกาหนดเงื่อนไขในการสืบคน้ เช่น “ทุกคา
เหล่าน้ี” “คาหรือวลีท่ีตรงตามน้ี” “และไม่มีคาเหล่าน้ี” จากตวั อยา่ งสามารถอธิบายเงื่อนไขในการ
สืบคน้ ไดด้ งั น้ี ใหค้ น้ ขอ้ มูลท้งั หมดท่มี ีอยใู่ นระบบโดยมีคาวา่ “เทคโนโลย”ี และมีคาหรือวลีท่ีตรง
กบั คาวา่ “คอมพวิ เตอร์” และไม่ขอ้ มูลที่มีคาวา่ “สารสนเทศ” มาแสดงท่ีหนา้ จอ

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

250

จากการกรอกขอ้ มูลตามเงอ่ื นไขในขอ้ ท่ี 6 จะไดผ้ ลดงั ภาพ

จริยธรรมในการใช้คอมพวิ เตอร์
จริยธรรมในการใชค้ อมพวิ เตอร์ หมายถึง หลกั ศีลธรรมจรรยาที่กาหนดข้ึนเพ่ือใช้เป็ น

แนวทางปฏิบตั ิ หรือควบคุมการใช้ ระบบคอมพวิ เตอร์และสารสนเทศ ในทางปฏบิ ตั แิ ลว้ การระบุวา่
การกระทาส่ิงใดผิดจริยธรรมน้ัน อาจกล่าวไดไ้ ม่ชดั เจนมากนกั ท้งั น้ียอ่ มข้ึนอยกู่ บั วฒั นธรรมของ
สงั คมในแต่ละประเทศดว้ ย

โดยทว่ั ไป เมื่อพจิ ารณาถึงจริยธรรมเก่ียวกบั การใชเ้ ทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์และสารสนเทศ
แลว้ จะกล่าวถึงใน 4 ประเดน็ ที่รูจ้ กั กนั ในลกั ษณะตวั ยอ่ วา่ PAPA ประกอบดว้ ย

1. ความเป็ นส่วนตวั
2. ความถูกตอ้ ง
3. ความเป็นเจา้ ของ
4. การเขา้ ถึงขอ้ มูล

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

251

ความเป็ นส่วนตวั (Information Privacy)
ความเป็นส่วนตวั ของขอ้ มูลและสารสนเทศ โดยทว่ั ไป หมายถึง สิทธิที่จะอยตู่ ามลาพงั

และเป็นสิทธิที่เจา้ ของสามารถท่ีจะควบคุมขอ้ มลู ของตน เองในการเปิ ดเผยใหก้ บั ผอู้ ่ืน สิทธิน้ีใชไ้ ด้
ครอบคลุมท้งั ส่วนบคุ คล กลุ่มบคุ คล และองคก์ รต่างๆ ปัจจบุ นั มีประเดน็ เก่ียวกบั ความเป็ นส่วนตวั
ท่เี ป็นขอ้ หนา้ สงั เกตดงั น้ี

1. การเขา้ ไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบนั ทึกข้อมูลในเครื่อง
คอมพวิ เตอร์ รวมท้งั การบนั ทกึ แลกเปล่ียนขอ้ มูลท่บี ุคคลเขา้ ไปใชบ้ ริการเวบ็ ไซตแ์ ละกลุ่มข่าวสาร

2. การใชเ้ ทคโนโลยใี นการติดตามความเคล่ือนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษทั
ใชค้ อมพวิ เตอร์ในการตรวจจบั หรือเฝ้ าดูการปฏิบตั ิงาน การใชบ้ ริการของพนักงาน ถึงแมว้ า่ จะเป็ น
การตดิ ตามการทางานเพอื่ การพฒั นาคุณภาพการใชบ้ ริการ แตก่ ิจกรรมหลายอยา่ งของพนกั งานก็ถูก
เฝ้ าดูดว้ ย พนกั งานสูญเสียความเป็นส่วนตวั ซ่ึงการกระทาเช่นน้ีถือเป็ นการผดิ จริยธรรม

3. การใชข้ อ้ มูลของลูกคา้ จากแหล่งตา่ งๆ เพอื่ ผลประโยชนใ์ นการขยายตลาด
4. การรวบรวมหมายเลขโทรศพั ท์ ทอ่ี ยอู่ ีเมล์ หมายเลขบตั รเครดิต และขอ้ มูลส่วนตวั อื่นๆ
เพอื่ นาไปสรา้ งฐานขอ้ มูลประวตั ลิ ูกคา้ ข้นึ มาใหม่แลว้ นาไปขายใหก้ บั บริษทั อ่ืน
ดงั น้นั เพ่อื เป็ นการป้ องกนั การละเมิดสิทธิความเป็ นส่วนตวั ของขอ้ มูลและสารสนเทศ
จึงควรจะตอ้ งระวงั การใหข้ อ้ มูล โดยเฉพาะการใชอ้ ินเตอร์เน็ตท่ีมีการใหโ้ ปรโมชนั่ หรือระบุใหม้ ี
การลงทะเบียนก่อนเขา้ ใชบ้ ริการ เช่น ขอ้ มูลบตั รเครดิต และทอี่ ยอู่ ีเมล์

ความถูกต้อง (Information Accuracy)
ในการใชค้ อมพวิ เตอร์เพอื่ การรวบรวม จดั เก็บ และเรียกใชข้ อ้ มูลน้ัน คุณลกั ษณะที่สาคญั

ประการหน่ึงคือ ความน่าเชื่อถือของขอ้ มูล ท้งั น้ี ขอ้ มูลจะมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด
ยอ่ มข้ึนอย่กู บั ความถูกตอ้ งในการ บนั ทึกขอ้ มูลดว้ ย ประเด็นดา้ นจริยธรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ความ
ถูกตอ้ งของขอ้ มูล โดยทวั่ ไปจะพิจารณาวา่ ใครจะเป็ นผรู้ ับผดิ ชอบต่อความถูกตอ้ งของขอ้ มูล ที่
จดั เก็บและเผยแพร่ เช่น ในกรณีที่องค์กรให้ลูกคา้ ลงทะเบียนดว้ ยตนเอง หรือกรณีของขอ้ มูลที่
เผยแพร่ผา่ นทางเวบ็ ไซต์ อีกประเด็น คือ จะทราบไดอ้ ยา่ งไรวา่ ขอ้ ผดิ พลาดที่เกิดข้ึนน้นั ไม่ไดเ้ กิด
จากความจงใจ และผใู้ ดจะเป็ นผรู้ ับผดิ ชอบหากเกิดขอ้ ผดิ พลาดในการจดั ทาขอ้ มูล และสารสนเทศ
ให้มีความถูกตอ้ งและน่าเชื่อถือน้ัน ขอ้ มูลควรไดร้ ับการตรวจสอบความถูกตอ้ งก่อนท่ีจะนาเขา้

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

252

ฐานขอ้ มูล รวมถึงการปรับปรุงขอ้ มูลใหม้ ีความทนั สมยั อยเู่ สมอ นอกจากน้ีควรใหส้ ิทธิแก่บุคคลใน
การเขา้ ไป ตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูลของตนเองได้ เช่น ผสู้ อนสามารถดูคะแนนของ
นกั ศกึ ษาในความรบั ผดิ ชอบหรือท่สี อน เพอื่ ตรวจสอบวา่ คะแนนทีป่ ้ อนไม่ถูกแกไ้ ขเปลี่ยนแปลง

ความเป็ นเจ้าของ (Information Property)
สิทธิความเป็นเจา้ ของ หมายถึง กรรมสิทธ์ิในการถือครองทรัพยส์ ิน ซ่ึงอาจเป็ นทรัพยส์ ิน

ทว่ั ไปท่จี บั ตอ้ งได้ เช่น รถยนต์ คอมพวิ เตอร์ หรืออาจเป็นทรัพยส์ ินทางปัญญา (ความคิด) ท่ีจบั ตอ้ ง
ไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอดและบนั ทึกลงในสื่อต่างๆ ได้ เช่น
สิ่งพมิ พ์ เทป ซีดีรอม เป็นตน้

ในสงั คมของเทคโนโลยสี ารสนเทศ มกั จะกล่าวถึงการละเมิดลิขสิทธ์ิซอฟตแ์ วร์ เมื่อท่าน
ซ้ือโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ที่มีการจดลิขสิทธ์ิ น่ันหมายความวา่ ท่านไดจ้ ่ายค่าลิขสิทธ์ิ ในการใช้
ซอฟตแ์ วร์น้นั สาหรับท่านเอง หลงั จากท่ีท่านเปิ ดกล่อง หรือบรรจุภณั ฑแ์ ลว้ หมายความวา่ ท่านได้
ยอมรับขอ้ ตกลงเกี่ยวกบั ลิขสิทธ์ิในการใชส้ ินคา้ น้นั ซ่ึงลิขสิทธ์ิในการใชจ้ ะแตกต่างกนั ไปในแต่ละ
สินคา้ และบริษทั บางโปรแกรมจะอนุญาตให้ติดต้งั ไดเ้ พียงคร้ังเดียว หรือไม่อนุญาตให้ใชก้ บั
คอมพวิ เตอร์เคร่ืองอ่ืนๆ ถึงแมว้ า่ คอมพิวเตอร์เคร่ืองน้ัน ๆ ท่านเป็ นเจา้ ของ และไม่มีผอู้ ื่นใชก้ ็ตาม
ในขณะท่บี างบริษทั อนุญาตใหใ้ ชโ้ ปรแกรมน้นั ๆ ไดห้ ลายๆ เครื่อง ตราบใดท่ียงั เป็ นบุคคลที่มีสิทธ์ิ
ในโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ท่ีซ้ือมา

การคดั ลอกโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ใหก้ บั เพอ่ื น เป็นการกระทาท่จี ะตอ้ งพจิ ารณาให้
รอบคอบก่อนวา่ โปรแกรมท่ีจะทาการคดั ลอกน้นั เป็ นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ทีท่ า่ นมีสิทธ์ิในระดบั
ใด เช่น

Copyright หรือ Software License ท่านซ้ือซอฟตแ์ วร์ลิขสิทธ์ิมา และมีสิทธ์ิใช้
Shareware ซอฟตแ์ วร์ใหท้ ดลองใชไ้ ดก้ ่อนทจ่ี ะตดั สินใจซ้ือ
Freeware ซอฟตแ์ วร์ใชง้ านไดฟ้ รี คดั ลอก และเผยแพร่ใหผ้ อู้ ่ืนได้

การเข้าถึงข้อมลู (Data Accessibility)
ปัจจุบนั การใชง้ านโปรแกรม หรือระบบคอมพวิ เตอร์มกั จะมีการกาหนดสิทธิตามระดบั

ของผใู้ ชง้ าน ท้งั น้ี เพอื่ เป็นการเขา้ ไปดาเนินการต่างๆ กบั ขอ้ มูลของผใู้ ชท้ ่ีไม่ส่วนเกี่ยวขอ้ งและเป็ น
การรักษาความลบั ของขอ้ มูล ตวั อยา่ งสิทธิในการใชง้ านระบบ เช่น การบนั ทึก การแกไ้ ข ปรับปรุง
และการลบ เป็ นตน้ ดงั น้นั ในการพฒั นาระบบคอมพวิ เตอร์จึงไดม้ ีการออกแบบระบบรักษาความ

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

253

ปลอดภยั ใน การเขา้ ถึงของผใู้ ช้ และการเขา้ ถึงขอ้ มูลของผอู้ ่ืนโดยไม่ไดร้ ับความยนิ ยอม ก็ถือเป็ น
การผดิ จริยธรรมเช่นเดียวกบั การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล

ในการใชง้ านคอมพิวเตอร์และเครือข่ายร่วมกนั ใหเ้ ป็ นระเบียบ หากผูใ้ ชร้ ่วมใจกนั ปฏิบตั ิ
ตามระเบียบและขอ้ บงั คบั ของแต่ละหน่วยงานอยา่ งเคร่งครดั แลว้ การผดิ จริยธรรมตามประเดน็
ท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ ก็คงจะไม่เกิดข้นึ
บญั ญัติ 10 ประการ ของผู้ใช้คอมพวิ เตอร์

ต่อไปน้ีเป็ นจรรยาบรรณท่ีผใู้ ชอ้ ินเทอร์เน็ตยดึ ถือไวเ้ สมือนเป็ นแม่บทแห่งการปฏิบตั ิ
เพอื่ ระลึกและเตอื นความจาเสมอ

1. ไม่ใชค้ อมพวิ เตอร์ทารา้ ยหรือละเมิดผอู้ ่ืน
2. ไม่รบกวนการทางานของผอู้ ่ืน
3. ไม่สอดแนมหรือแกไ้ ขเปิ ดดูในแฟ้ มของผอู้ น่ื
4. ไม่ใชค้ อมพวิ เตอร์เพอ่ื การโจรกรรมขอ้ มูลขา่ วสาร
5. ไม่ใชค้ อมพวิ เตอร์สรา้ งหลกั ฐานท่ีเป็ นเทจ็
6. ไม่คดั ลอกโปรแกรมผอู้ ่ืนทม่ี ีลิขสิทธ์ิ
7. ไม่ละเมิดการใชท้ รัพยากรคอมพวิ เตอร์โดยทต่ี นเองไม่มีสิทธ์ิ
8. ไม่นาเอาผลงานของผอู้ ่ืนมาเป็ นของตน
9. ตอ้ งคานึงถึงส่ิงทจี่ ะเกิดข้นึ กบั สงั คมอนั ตดิ ตามมาจากการกระทา
10. ตอ้ งใชค้ อมพวิ เตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กตกิ ามารยาท

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์

254

แบบฝึ กหัด

ตอนท่ี 1 ใหน้ กั เรียนบอกจริยธรรมในการใชค้ อมพวิ เตอร์มาอยา่ งนอ้ ย 5 ขอ้ (5 คะแนน)
1. ……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
2. ……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
3. ……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
4. ……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
5. ……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

255

แบบฝึ กหัด

ตอนท่ี 2 ใหน้ กั เรียนปฏบิ ตั ติ ามตอ่ ไปน้ี (5 คะแนน)

1. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน
2. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มเขา้ Web Browser ใดก็ได้
3. พมิ พท์ อ่ี ยู่ www.google.co.th ลงในช่อง Address แลว้ กด Enter
4. ใหแ้ ต่ละกลุ่มทาการสืบคน้ เร่ืองทน่ี กั เรียนสนใจ (เน้ือหาและรูปภาพ)
5. นาเสนองานทีส่ ืบคน้ ในรูปของ Microsoft Office Word

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

256

แบบทดสอบหลงั เรียน

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบท่ถี ูกท่สี ุดเพยี งคาตอบเดียวและทาเครื่องหมาย () ลงใน
กระดาษคาตอบ (10 คะแนน)
1. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ประโยชน์จากการใชอ้ ินเทอร์เน็ต

ก. ผรู้ ้ายใชท้ าความผดิ
ข. คน้ ควา้ หาขอ้ มูล
ค. ซ้ือขายสินคา้
ง. ตดิ ต่อสื่อสาร
2. อินเทอร์เน็ต หมายถึงขอ้ ใด
ก. คอมพวิ เตอร์โน๊ตบคุ
ข. ระบบปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์
ค. เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่
ง. สญั ญาณทีอ่ ยใู่ นรูปคลื่นความถี่สูง
3. เวบ็ ไซตใ์ ด ควรจะเป็นหน่วยงานทางการศึกษา
ก. www.ABC.com
ข. www.AB.edu
ค. www.ABC.int
ง. www.ABC.org
4. หมายเลขประจาเครื่องของผใู้ ชอ้ ินเทอร์เน็ต คือขอ้ ใด
ก. Wifi
ข. TCP/IP
ค. Protocol
ง. IP Address

5. หมายถึงขอ้ ใด
ก. Tab
ข. Title

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

257

ค. URL
ง. Menu
6. โปรแกรมใดแตกตา่ งจากพวก
ก. Firefox
ข. PowerPoint
ค. Google Chrome
ง. Internet Explorer
7. จริยธรรม หมายถึงขอ้ ใด
ก. หลกั ท่ีควรประพฤติทไ่ี ม่ใหผ้ อู้ ่ืนเดือดรอ้ นเสียหาย
ข. ควรปฏบิ ตั ิในสิ่งทคี่ วรกระทา
ค. กิริยาท่ีควรประพฤติ
ง. หลกั การท่ยี ดึ ปฏิบตั ิ
8.

ถา้ ตอ้ งการสืบคน้ เรื่องเก่ียวกบั “ส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์” จะพมิ พข์ อ้ ความท่ีหมายเลข 1
อยา่ งไร

ก. แรม
ข. คอมพวิ เตอร์
ค. องคป์ ระกอบคอมพวิ เตอร์
ง. ส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์
9. จากขอ้ 8 เมื่อป้ อนขอ้ ความทต่ี อ้ งการสืบคน้ แลว้ จะปฏิบตั ิอยา่ งไร
ก. คลิกหมายเลข 1
ข. คลิกหมายเลข 2
ค. คลิกหมายเลข 3
ง. คลิกหมายเลข 4

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

258

10. Search Engine คอื ขอ้ ใด
ก. เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการทางานของระบบคอมพวิ เตอร์
ข. เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการคน้ หาขอ้ มูลในอินเตอร์เน็ต
ค. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเล่นอินเทอร์เน็ต
ง. เครื่องมือทใี่ ชบ้ อกทอี่ ยขู่ องเวบ็ ไซต์

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรตั น์ พนั ธุขนั ธ์

259

กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลงั เรียน

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบทถี่ กู ที่สุดเพยี งคาตอบเดียว และทาเครื่องหมาย
() ลงในกระดาษคาตอบ (10 คะแนน)

ข้อ ก ข ค ง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.

รวมคะแนน

ผสู้ อน นางสาวปิ ยรัตน์ พนั ธุขนั ธ์


Click to View FlipBook Version