ก
บทคดั ยอ่
กายวภิ าคศาสตร์เปน็ แขนงหนง่ึ ของวชิ าชีววทิ ยา ซงึ่ ศึกษาเกย่ี วกับโครงสรา้ งของสิง่ มชี วี ิตว่าอยู่สว่ นใด
ของร่างกายและสว่ นตา่ งๆ เหล่านต้ี ิดตอ่ เกย่ี วข้องกันอย่างไร โดยมักทาการศึกษารว่ มกับสาขาสรีรวทิ ยา
(Physiology) ซึ่งเปน็ วชิ าท่ีว่าด้วยหนา้ ทีก่ ารทางานของสว่ นหรืออวัยวะตา่ งๆ ของร่างกาย เมอื่ รวมกันแลว้ อวัยวะ
และระบบต่างๆ เหล่านตี้ ้องทางานประสานสัมพนั ธก์ ัน เพื่อให้ร่างกาย ดารงชวี ิตได้อยา่ งปกติ โดยท้งั สองสาขาวิชา
จะแตกตา่ งกันทก่ี ายวิภาคศาสตรเ์ นน้ การศกึ ษาเกีย่ วกบั โครงรา่ ง ส่วนสรรี วิทยาเน้นทีก่ ารศกึ ษาเกี่ยวกับการทางาน
และหน้าท่แี ละทางผู้จดั ทาเลง็ เหน็ ว่าความร้ใู นเร่ืองกายวิภาคศาตร์เป็นเรื่องสาคัญจงึ ต้งั ใจท่ีจะจดั ทาส่ือการสอน
เกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อนข่ี ึ้นเพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์โดยมวี ัตถุประสงคค์ ือสามารถทาให้ผสู้ นใจสามารถท่องจาคาศัพท์
ไดโ้ ดยส่ือการสอนท่ีนา่ สนใจและหวังว่าสอ่ื การสอนน้ีจะสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อยา่ งสูงสุด
คณะผู้จัดทำ
ข
กติ ตกิ รรมประกำศ
หนังสือฉบบั นส้ี าเร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี ตอ้ งขอขอบพระคุณ ท่านผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รตั นา จารวุ รร
โณ อาจารยป์ ระจากลุ่มโครงงานระบบกลา้ มเน้ือ และอาจารย์จุฑาทิพย์ เทพสุวรรณ์ อาจารย์ประจารายวชิ ากาย
วภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา ที่ให้ความรู้คาแนะนา ตรวจทานและแก้ไขขอ้ บกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุก
ขนั้ ตอน ตลอดจน รายงานเล่มนี้เสรจ็ ส้ินสมบรณู ์
คณะผ้จู ดั ทำ
สำรบญั ค
เร่อื ง หน้ำ
กิตติกรรมประกำศ ก
บทคัดย่อ ข
สำรบญั ค
สำรบัญภำพ ง
สำรบัญภำพ (ตอ่ ) จ
สำรบัญภำพ (ต่อ2) ฉ
ระบบกลำ้ มเน้อื 1
ชนิดของกลา้ มเน้ือ 1
หนา้ ทีข่ องเนื้อเย่ือกลา้ มเนื้อ 3
ลกั ษณะของเนอ้ื เยื่อกล้ามเน้ือ 3
คุณสมบตั ิของกล้ามเนื้อ 4
การหดตวั ของกล้ามเน้ือ 4
กลา้ มเน้อื ตะคริว 4
กลำ้ มเนอ้ื ในสว่ นตำ่ งๆของร่ำงกำย 5
1.กล้ามเน้อื ของศรษี ะ (The Muscles of head) 6
2.กลา้ มเน้อื คอ (Muscles of the Neck) 8
3.กลา้ มเนอ้ื ของลาตวั (TheMuscles of the Trunk) 9
4.กลา้ มเนื้อของอุ้งเชงิ กราน (Muscles of pelvis) 16
5.กล้ามเนื้อของแขน (Muscles of the upper extremities) 16
6.กล้ามเน้อื ขา (Muscle of lower extremities) 25
บรรณำนุกรม 31
สำรบญั ภำพ ง
ภำพที่ หนำ้
ภำพท่ี 1 กลำ้ มเนือ้ สว่ นลำ้ ตัว ดำ้ นหน้า 2
ภำพที่ 2 กล้ำมเนอื้ สว่ นลำ้ ตัว ด้ำนหลัง 2
ภำพท่ี 3 Orbicularis Oculi 6
ภำพที่ 4 Orbicularis Oris 7
ภำพที่ 5 Frontal Muscle 7
ภำพท่ี 6 Sternocleido mastoid 8
ภำพท่ี 7 Platysma 8
ภำพท่ี 8 Trapezius 9
ภำพท่ี 9 Latissimus dorsi 9
ภำพท่ี 10 Sacrospinalis 10
ภำพท่ี 11 Pectoralis major 10
ภำพท่ี 12 Pectoralis minor 11
ภำพที่ 13 Serratus anterior 11
ภำพที่ 14 Diaphragm 12
ภำพท่ี 15 External Intercostal 12
ภำพท่ี 16 Internal Intercostal 13
ภำพท่ี 17 Psoas major 14
ภำพที่ 18 Psoas minor 14
ภำพที่ 19 Iliacus 15
ภำพท่ี 20 Quadratus lumborum 15
ภำพที่ 21 Muscles of the shoulder 16
ภำพที่ 22 Deltoid 16
ภำพที่ 23 Supraspinatus 17
ภำพที่ 24 Teres major 17
สำรบญั ภำพ (ต่อ) จ
ภำพท่ี
หน้ำ
ภำพท่ี 25 Subscapularis
ภำพท่ี 26 กลำ้ มเน้ือของปลำยขำดำ้ นหลัง 18
ภำพท่ี 27 Triceps brachii 18
ภำพที่ 28 Brachialis 19
ภำพที่ 29 Coracobrachialis 19
ภำพท่ี 30 Pronator Teres 20
ภำพท่ี 31 Pronator guadatus 20
ภำพที่ 32 Flexor carpi Ulnaris 21
ภำพที่ 33 Flexor digitorum Profundus 21
ภำพที่ 34 Brachioradialis 22
ภำพท่ี 35 Extensor carpi Radialis brevis 22
ภำพท่ี 36 Extensor carpi Ulnaris 23
ภำพท่ี 37 Extensor digitorum 23
ภำพท่ี 38 Muscles of the hand 24
ภำพท่ี 39 Gluteus maximus 24
ภำพท่ี 40 Gluteus medius 25
ภำพที่ 41 Gluteus minimus 25
ภำพที่ 42 Rectus femoris 26
ภำพท่ี 43 Biceps femoris 26
ภำพที่ 44 Semitendinosus 27
ภำพที่ 45 Tibialis anterior 27
ภำพท่ี 46 Extensor digitorum longus 28
ภำพท่ี 47 Peroneus longus 28
ภำพที่ 48 Peroneus brevis 29
29
สำรบญั ภำพ (ตอ่ 2) ฉ
ภำพท่ี หน้ำ
ภำพท่ี 49 กล้ำมเนื้อของปลำยขำด้ำนหลัง 30
ภำพที่ 50 กล้ำมเนอ้ื ของเทำ้
30
1
ระบบกลำ้ มเนือ้
ระบบกลา้ มเนอ้ื เป็นระบบทที่ าหนา้ ท่ีเกย่ี วกบั การเคลอ่ื นไหวของรา่ งกาย โดยจะอาศยั คุณสมบัติการหดตัว
ของใยกล้ามเนื้อ ทาให้กระดูกและข้อต่อเกดิ การเคล่ือนไหว และมคี วามสัมพันธ์ซึง่ กนั และกัน นอกจากการ
เคลื่อนไหว ของกระดูกและข้อตอ่ แล้ว ยงั มีการเคลื่อนไหวของอวัยวะภายในร่างกาย เชน่ การเตน้ ของหัวใจ การ
บบี ตัวของ เส้นโลหติ การบีบตวั ของกระเพาะอาหาร ลาไส้ และการทางานของปอด เป็นตน้ การเคลื่อนไหว
ต่างๆ เหลา่ น้ี เกิดจากการ ทางานของกล้ามเน้ือท้ังส้ิน
กลา้ มเนื้อเปน็ ส่วนประกอบใหญข่ องรา่ งกายมนษุ ย์ และเป็นส่วนสาคญั ที่สุด ทาหน้าที่ในขณะ ท่ีมีการ
เคลอื่ นไหว ของรา่ งกาย หรอื เพียงบางส่วน เชน่ การหายใจ การเตน้ ของหัวใจ การเคล่ือน ไหวของระบบทาง เดิน
อาหาร เปน็ ต้น กล้ามเนื้อในร่างกายทั้งหมดมี น้าหนักประมาณ 2/5 ของน้าหนัก ตัวสว่ นใหญ่อยู่บนรอบแขนและ
ขา ซ่งึ ยดึ ติดกันอยู่โดยอาศยั ข้อต่อ (Joints) และเอน็ (Tendon) ทาใหร้ ่างกายประกอบเปน็ รปู ร่างและทรวดทรง
ข้นึ มาอย่าง เหมาะสม
ชนิดของกลำ้ มเน้ือ
กลา้ มเนือ้ สามารถแบง่ ออกได้เปน็ 3 ชนิด คือ
1. กล้ามเน้ือลาย หรอื กล้ามเนื้อโครงรา่ ง (Striated muscle หรอื Skeletal muscle) เป็นกล้ามเน้อื ที่
ตดิ กับกระดูกและข้อต่อ ช่วยให้เกดิ การเคลอื่ นไหว กล้ามเน้ือลายมี จดุ เกาะตน้ เรยี กว่า Origin และจุดเกาะ
ปลาย เรยี กวา่ Insertion จุดเกาะทัง้ สองสว่ นมากจะมี ลักษณะเป็นเอน็ (Tendon or ligament) ซึง่ จะเกาะ
กบั กระดูกโดยตรงหรือไม่ก็ได้ ประกอบด้วย เสน้ ใยกลา้ มเนื้อ (Muscle fiber) รวมกันอยู่เปน็ จา้ นวนมาก การ
ทา้ งานเกิดจากการหดและคลายตวั ของกล้ามเนื้อ เปน็ กลา้ มเนอ้ื ท่ีอยภู่ ายใต้การควบคุมของจติ ใจ (Voluntary
muscle) เชน่ กลา้ มเน้ือ แขน ขา ล้าตวั เป็นต้น
2. กล้ามเน้อื เรียบ (Nonstriated muscle หรือ smooth muscle) เปน็ กล้ามเน้ือทล่ี ักษณะเรียบไมม่ ีลาย
เปน็ กล้ามเนื้อของอวัยวะภายใน เชน่ ผนงั กระเพาะอาหาร ล้าไส้ เปน็ ต้น การทา้ งานอย่นู อกเหนือการ
ควบคุมของจติ ใจ (Involuntary Muscle)
3. กลา้ มเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle) เปน็ กลา้ มเนือ้ ลักษณะเฉพาะพบทห่ี วั ใจเท่านั้น การท้างานอยู่
ภายใต้
การควบคุมของ ระบบประสาทอตั โนมัติอยูน่ อกเหนือการควบคุมของจิตใจ
2
ภำพกลำ้ มเน้อื มนุษย์
ภำพท่ี 1 กล้ำมเนอื้ ส่วนล้ำตัว ด้ำนหนำ้
ที่มา : http://muscularsystemmwits42.blogspot.com/
ภำพที่ 2 กล้ำมเนื้อส่วนลำ้ ตัว ดำ้ นหลัง
ท่มี า : http://muscularsystemmwits42.blogspot.com/
3
หนำ้ ทขี่ องเนอ้ื เย่ือกล้ำมเนอ้ื
1. เคลือ่ นไหว (motion) กลา้ มเน้ือลายเคลือ่ นไหว โดยการเดนิ น่งั และต้องผสมผสานกับการท างานของ
กระดูกและข้อต่อ ( bone & joint ) กล้ามเนื้อเรียบชว่ ยให้อาหารจากปากไปกระเพาะอาหาร ไปลาไสจ้ นถึงขบั
กากอาหารออกมา กลา้ มเนื้อหัวใจช่วยใหห้ วั ใจเตน้ ได้
2. ใหร้ า่ งกายทรงตัว ปรบั ตัวในทา่ ตา่ งๆไดแ้ ละควบคุม content ทอี่ ยใู่ นอวัยวะที่กลวงไมใ่ ห้ไหลออกมาใน
ขณะทีเ่ ปลย่ี นทา่ ( stabilizing body positions and regulating organ volume )
ขณะนอนอยูจ่ ะลกุ ขนึ้ นั่ง กล้ามเนื้อคอบางส่วนจะหดตัวเพื่อยกศรี ษะข้นึ ในขณะเดยี วกันกลา้ มเนอื้
เรยี บในอวัยวะที่กลวง เช่น กระเพาะอาหาร กระเพาะปสั สาวะจะหดตัวปอ้ งกนั content ภายในไม่ให้ไหล
ออกมาในขณะเปล่ยี นท่า
3. ใหเ้ กิดความรอ้ นในรา่ งกาย ( thermogenesis, generation of heat )
กลา้ มเน้ือลายหดตวั จะมีความร้อนเกิดข้นึ ความร้อนส่วนใหญ่เกิดจากกลา้ มเน้ือเพื่อชว่ ยควบคุม
อณุ หภูมิของร่างกาย เชน่ ขณะออกกาลังกายภายในฤดูหนาวจะรสู้ ึกรอ้ น
ลักษณะของเนือ้ เย่อื กลำ้ มเนือ้
1. Excitability (irritability) เปน็ ลกั ษณะเฉพาะของเซลลก์ ล้ามเนอ้ื และเซลลป์ ระสาททสี่ ามารถตอบสนอง
ต่อการกระตนุ้ ได้
2. Contractility เป็นความสามารถของกล้ามเน้ือที่หดตัว (ทาให้กล้ามเนอื้ ส้ันเข้า) เพอ่ื ใหเ้ กิดแรง (force)
สามารถทางานได้
3. Extensibility กล้ามเนื้อสามารถเหยียด (stretch) โดยไม่เสียหน้าที่ กล้ามเน้ือลายมักทางานเปน็ คู่ๆ
ถา้ มดั หนึง่ ทาหนา้ ที่หดตวั อีกมัดหนงึ่ จะทาหน้าท่คี ลายตัวหรือไม่ก็เหยยี ดตรง
4. Elasticity ภายหลงั จากที่กลา้ มเน้อื หดตวั หรือคลาย 1. กล้ามเนือ้ เรยี บ (Smooth Muscle) เป็น
กล้ามเน้ือทีท่ างานนอกอานาจจิตใจ พบท่ีอวยั วะภายในของรา่ งกายเชน่ หลอดอาหาร หลอดเลอื ด เปน็ ตน้ เซลล์มี
รูปร่างคลา้ ยกระสวย แตล่ ะเซลล์ มนี วิ เคลียสอันเดียวอยู่ตรงกลางเซลล์ เซลลไ์ ม่มีลาย ตามขวาง ตรงรอยต่อของ
เยื่อห้มุ เซลลบ์ างสว่ นจะมีบรเิ วณถา่ ยทอดคลืน่ ประสาทเรียกวา่ อินเตอร์คอนเนกตงิ บริดจ์ (interconnecting
bridge) เพ่ือถ่ายทอดคลน่ื ประสาทไปยังเซลลข์ ้างเคยี ง การทางานของกล้ามเน้ือชนิดนี้อยู่นอกอานาจจติ ใจ การ
หดตัวเกิดได้เองโดยมเี ซลล์เริ่มตน้ การทางาน (pace maker cell point) และการหดตัวถกู ควบคุม โดยระบบ
ประสาทอัตโนมัติ ดงั นัน้ กล้ามเนือ้ ชนดิ นีป้ ลายประสาทจงึ ไม่ได้ไปเลีย้ งทกุ เซลล์ ยกเว้นกล้ามเน้อื เรียบในบางส่วน
4
ของรา่ งกายมี ปี ลายประสาทไปเลย้ี งทกุ เซลล์ เชน่ กลา้ มเน้ือในลกู ตา กล้ามเนื้อชนิดน้ีเรียกวา่ กล้ามเนอื้ เรยี บ
หลายหนว่ ย (multiunit smooth muscle) ส่วนกลา้ มเน้ือเรียบ ชนดิ แรกท่ีกลา่ วถงึ ในตอนตน้ เรยี กวา่ กล้ามเน้อื
หนว่ ยเดยี ว (single unit smooth muscle)
คณุ สมบตั ขิ องกล้ำมเนอ้ื
• มีความรสู้ กึ ต่อส่ิงเร้า (Irritability) คอื สามารถรับ Stimuli และตอบสนองตอ่ Stimuli โดยการหดตวั ของ
กลา้ มเนือ้ เช่น กระแสประสาทท่ีกลา้ มเน้ือเวลาท่ีจบั โดนความร้อนหรอื กระแสไฟฟ้า เรามกั มีการหนีหรือหลบ
เล่ยี ง
• มีความสามารถทจี่ ะหดตัวได้ (Contractelity) คือ กล้ามเนื้อสามารถเปลี่ยนรปู ร่างให้สัน้ หนา และแข็งได้
• มคี วามสามารถทจ่ี ะหย่อนตัวหรอื ยดื ตวั ได้ (Extensibility) กล้ามเนือ้ สามารถ ทจี่ ะเปลีย่ น รูปร่างใหย้ าวขึน้
กวา่ ความยาวปกติของมันได้ เมอ่ื ถูกดงึ เช่น กระเพาะอาหาร กระเพาะ ปัสสาวะ มดลูก เป็นต้น
• มีความยืดหยุ่นคลา้ ยยาง (Elasticity) คอื มีคุณสมบัตทิ เ่ี ตรียมพรอ้ มทจ่ี ะ กลบั คืนสสู่ ภาพ เดิมได้ ภายหลงั
การ ถูกยืดออกแล้ว ซึ่งคุณสมบตั ินีท้ าให้ เกดิ Muscle Tone ข้นึ
• มคี วามสามารถท่ีจะดารงคงท่ีอย่ไู ด้ (Tonus) โดยกลา้ มเน้ือมีการหดตวั บา้ งเลก็ น้อย เพ่ือเตรยี มพร้อมทีจ่ ะ
ทางานอย่เู สมอ
กำรหดตัวของกลำ้ มเนื้อ
การหดตวั ของกล้ามเน้อื จะเกดิ ขึน้ ได้เม่ือมีการกระตนุ้ กลไก การหดตัวของกล้ามเน้ือลาย กลา้ มเนือ้ เรียบ
และกล้ามเนื้อหัวใจจะคลา้ ย กนั ในมนษุ ย์การทางานของกล้ามเน้อื จะเกิดขึ้นไดเ้ ม่ือ มีการ กระตนุ้ ของ ระบบ
ประสาท หรอื กระตนุ้ โดยความร้อนหรอื สารเคมี หรือ อยา่ งใดอย่างหนง่ึ ก็ แลว้ แต่ กลา้ มเนื้อจะหดตวั ได้ต้องอาศยั
การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าขณะเซลล์ทางาน ( Action potential) ซึ่งเกิดข้นึ ที่บรเิ วณ เย่อื แผน่ ของ เส้นใยของ
กล้ามเนื้อ รวมทั้งตอ้ งอาศยั พลงั งานอยา่ งมาก
กล้ำมเนือ้ ตะครวิ
การเป็นตะคริว เกดิ จากมกี ารเกรง็ ช่ัวคราวของมดั กล้ามเนอ้ื ทัง้ หมด ขณะท่ีมีการหดตัวทาใหก้ ล้าม เน้ือ
มัดน้นั มีลักษณะแขง็ เป็นลูกและ เจ็บปวดมาก อาการเกรง็ ของตะครวิ กลา้ มเน้ือเกิดข้นึ นอกเหนืออานาจจติ ใจ
และเกดิ ขนึ้ เป็นระยะเวลาไมน่ าน ก็จะหายไปเอง แตก่ ลับ เป็นซา้ ขนึ้ มา ทีเ่ ดมิ ได้อีก ในบางคร้งั กล้ามเน้อื อาจเป็น
ตะครวิ พร้อมกนั หลายๆ มัดได้ สาเหตุท่ี พบบ่อย ได้แก่
กล้ามเน้ือขาดการฟิตซ้อมหรอื ฟติ ซอ้ มไม่เพยี งพอ
5
สภาวะแวดล้อมของอากาศ
รา่ งกายขาดเกลือแร่บางชนิด โดยเฉพาะอย่างย่ิงแคลเซียม
การใชผ้ ้ายดึ หรอื สนับผ้ายดื พันหรือรัดลงไปบนกล้ามเน้ือค่อนข้างแน่นขณะท่ีมกี ารออกกาลงั กาย ทาให้
กลา้ มเนอื้ ทางานหรือ ขยายตัวได้ไม่เต็มที่
กำรปฐมพยำบำล
หยดุ พักการออกกาลงั กายทนั ที ถา้ มเี คร่ืองพันธนาการ เชน่ สนบั เขา่ หรือผา้ ยดื รัด อยู่ให้ปลดออก
ใหผ้ ปู้ ่วยนอนราบ งอตะโพก 90 องศา งอเขา่ 90 องศา
ค่อยๆ ดนั ปลายเทา้ เพื่อให้ข้อเท้ากระดกขนึ้ ทาชา้ ๆ ขณะท่ีขอ้ เท้ากระดกขน้ึ นัน้ กลา้ มเน้ือนอ่ งจะค่อยๆ
คลายตวั ออกหรอื ยืดออก
ประกบด้วยกระเปา๋ นา้ ร้อน หรือถนู วดเบาๆ ด้วยน้าร้อนๆ เพอื่ กระตุ้นการไหลเวยี น ให้ไปยังบริเวณ นั้น
ตัวแล้วจะกลับคืนสสู่ ภาพเดมิ
กลำ้ มเนอ้ื ในส่วนตำ่ งๆของรำ่ งกำย
กล้ามเนอ้ื ในรา่ งกายท้ังหมดมีอยู่ประมาณ 792 มัด เป็นกล้ามเน้ือชนดิ ทีอ่ ยู่ในอานาจจิตใจ 696 มดั ท่ี
เหลืออกี 96 มดั เปน็ กลา้ มเนื้อท่เี ราบังคบั ได้ไมเ่ ตม็ สมบูรณ์ ซ่งึ ไดแ้ กก่ ลา้ มเน้ือ ท่ีทาหน้าที่ในการหายใจ
(Respiration) จาม (Sneezing) ไอ (Coughing) เปน็ ตน้ เพอ่ื สะดวกในการจดจาและทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจ จึงต้อง
มีการตง้ั ช่ือกลา้ มเนื้อขน้ึ ซึ่งมีหลายวิธี คือ
โดยลักษณะการทางานของกล้ามเน้ือ (By Action) เช่น กลา้ มเนือ้ ดา้ นในของตน้ ขา Adductor Muscle
ทาหนา้ ที่ในการหบุ ขา และกลา้ มเนอื้ ปลายแขนดา้ นหลงั Flexor carpiradialis ซง่ึ ทา หน้าทใี่ นการงอ
ปลายแขน
โดยตาแหนง่ ทตี่ งั้ (By location) เช่น กล้ามเน้อื ปลายแขนด้านหน้า ติดกบั กระดูก Tiibia,Tibialis
antorioi และกลา้ มเน้ือของทรวงอกด้านหนา้ Pectoralis major
โดยจุดเริม่ ตน้ หรือส่วนยดึ (By heads of origin) เชน่ กลา้ มเนื้อ Biceps brachii ซง่ึ มี Origin 2 จดุ
กล้ามเนอ้ื Triceps และ Quadraceps
6
โดยรปู ร่าง (By shape) เช่น กลา้ มเนอื้ Trapezius ซึง่ มลี กั ษณะ เป็นสเ่ี หล่ยี มขนมเปียกปนู กล้ามเน้ือ
Detoid ทป่ี กคลมุ ไหลมรี ปู ร่าง คล้ายตวั D
โดยตาแหนง่ ทีก่ ล้ามเนื้อเกาะหรอื ยดึ อยู่ Sternum กระดูก Clavicle และ Mastoid process ของ
กระดูกขมับ
1. กลำ้ มเนื้อของศรีษะ (The Muscles of head) กลา้ มเนื้อของศรีษะแบ่งออกเป็น 2 พวก ซ่ึงแบ่งตามหนา้ ท่ี
คอื
1.1 กล้ามเน้อื แสดงสีหนา้ (Muscles of facial expression) เป็นกลา้ มเน้ือที่อยูต่ ิดกับผวิ หนงั มาก จงึ มี
หนา้ ทที่ า ให้ผิวหนงั เคลอ่ื นไหว และเปล่ยี นลกั ษณะของสีหน้าประกอบด้วย
Orbicularis Oculi ทาหน้าที่ หลบั ตา
ภำพที่ 3 Orbicularis Oculi
ท่มี า : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/
7
Orbicularis Oris หุบปาก,เม้มริมฝปี าก
ภำพที่ 4 Orbicularis Oris
ทีม่ า : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/
· Frontal Muscle ยกั คิ้ว,หนา้ ผากยน่
ภำพที่ 5 Frontal Muscle
ท่มี า : https://www.centerforfacialappearances.com/
8
2. กล้ำมเนอ้ื คอ (Muscles of the Neck) ประกอบด้วย
Sternocleido mastoid ถา้ 2 มัดทางานจะก้มศรษี ะลงถ้ามดั เดียวทางานจะเอยี งศรษี ะ ไปข้างที่หดตวั
ภำพท่ี 6 Sternocleido mastoid
ทม่ี า : https://hubpages.com/health/The-Sternocleidomastoid-Muscle-
Platysma ทาหนา้ ที่ ดึงฝปี ากลา่ งและมมุ ปากลง
ภำพท่ี 7 Platysma
ที่มา : https://www.pinterest.com/pin/501447739743252042/
9
3. กลำ้ มเนื้อของลำตัว (TheMuscles of the Trunk) แบ่งออกเปน็ พวกๆ คือ
3.1 กล้ามเนอื้ ของหลงั (Muscles of back) มอี ยู่หลายมดั อยทู่ ่เี บ้ืองหลังของลาตัวตั้งแตห่ ลงั คอ หลังอก ไป
จนถึง บ้ันเอว ที่ชัน้ ตนื้ มีกล้ามเนือ้ มดั ใหญ่ ๆ อยู่ 2 มัด และชั้นลึกทีส่ ดุ อีก 1 มดั
Trapezius ทาหนา้ ที่ ร้ังสะบักมาข้างหลงั ,ยกไหลข่ ้ึนขา้ งบน,ร้งั ศรษี ะไปข้างหลงั
ภำพท่ี 8 Trapezius
ที่มา : https://www.bsrphysicaltherapy.com/2018/01/15/lower-trapezius-exercises-shoulder/
Latissimus dorsi ทาหน้าที่ ดงึ แขนลงมาข้างล่างไปข้างหลงั และเขา้ ข้างใน
ภำพท่ี 9 Latissimus dorsi
ท่มี า : https://www.bsrphysicaltherapy.com
10
Sacrospinalis (Elector spinae) ทาหน้าท่ี ดงึ กระดูกสนั หลงั ให้ต้ังตรง
ภำพท่ี 10 Sacrospinalis
ที่มา : https://www.foot-pain-explored.com/
3.2 กลา้ มเนือ้ ของทรวงอกดา้ นหน้า (Muscles of the chest)
Pectoralis major หบุ ,งอและหมุนต้นแขนเข้าข้างในมาขา้ งหนา้
ภำพท่ี 11 Pectoralis major
ที่มา : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/
11
Pectoralis minor ดงึ ไหลล่ ง,หมนุ สะบักลงข้างลา่ ง
ภำพท่ี 12 Pectoralis minor
ท่มี า : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/
Serratus anterior เปน็ กล้ามเนอ้ื ดา้ นในของรกั แร้ อย่ทู างด้านขา้ งของอก มีรปู รา่ งเปน็
แฉก ๆ ยึดตดิ กับกระดูกซ่โี ครงทางดา้ นหน้าไปยังกระดูกสะบกั ทา้ หน้าทยี่ ดึ ดงึ กระดกู สะบกั ใหอ้ ยู่กับที่และชว่ ย
การทา้ งานของกลา้ มเนื้อ Deltoid เวลายกแขน
ภำพที่ 13 Serratus anterior
ทมี่ า : https://www.yoganatomy.com/serratus-anterior-muscle/
12
3.3 กล้ามเน้ือทชี่ ่วยในการหายใจ (TheMuscles of respiration)
Diaphragm ทาใหช้ อ่ งอกขยายโตขึ้นและช่วยดันปอดให้ลมออกมา
ภำพที่ 14 Diaphragm
ท่มี า : https://www.yoganatomy.com/diaphragm-muscle/
External Intercostal ยกซโี่ ครงข้นึ ทาให้ช่องอกขยาย ใหญข่ นึ้
ภำพท่ี 15 External Intercostal
ทมี่ า : https://www.yoganatomy.com/diaphragm-muscle/
13
Internal Intercostal ทาใหช้ ่องอกเล็กลง
ภำพที่ 16 Internal Intercostal
ทม่ี า : https://www.foot-pain-explored.com/gastrocnemius.html
3.4 กล้ามเนอื้ ของท้อง (The Muscles of abdomen) แบง่ เป็น 2 พวก คือ
3.4.1 กล้ามเนื้อทปี่ ระกอบเป็นผนงั ขา้ งหน้าและข้างๆ ของท้อง ประกอบด้วยกลา้ มเนือ้ 4 มดั คือ
Rectus abdominis ทาหนา้ ท่ี เม่ือหดตัวจะกดอวยั วะต่างๆ ในช่องท้อง เพิ่มแรงกดดัน (Pressure) ในช่อง ท้อง
ช่วยในการคลอดบตุ ร ถ่ายอุจจาระ ปสั สาวะ อาเจียน
External obligue , Internal obligue , Transversus abdominis ทาหน้าที่ ชว่ ยกดอวยั วะในช่องทอ้ ง ชว่ ยใน
การหายใจออก ช่วยป้องกนั อวยั วะภายในไมใ่ หเ้ ปน็ อันตราย และไม่ใหเ้ คลอื่ นท่ี ชว่ ยงอและหมนุ กระดูก สันหลงั
3.4.2 กลา้ มเน้ือทป่ี ระกอบเปน็ ผนงั ด้านหลังของทอ้ ง ประกอบดว้ ยกลา้ มเนื้อ Psoas muscle Iliacus
Quadratus lumborum
14
Psoas major ทาหน้าที่ งอต้นขา หุบและหมนุ เข้าข้างใน
ภำพที่ 17 Psoas major
ทมี่ า : https://en.wikipedia.org/wiki/Psoas_major_muscle
Psoas minor ทาหน้าท่ี งอต้นขา หุบและหมนุ เขา้ ขา้ งใน
ภำพที่ 18 Psoas minor
ท่ีมา : https://en.wikipedia.org/wiki/Psoas_minor_muscle
15
Iliacus ทาหน้าที่ งอต้นขา หุบและหมนุ เข้าขา้ งใน
ภำพท่ี 19 Iliacus
ทม่ี า : https://www.physio-pedia.com/Iliacus
Quadratus lumborum ทาหนา้ ท่ี ชว่ ยในการหายใจเข้า (inspiration) โดยพยงุ ให้มุมนอกของ diaphargm
มน่ั คงและงอกระดูกสันหลงั ไปขา้ งๆ เหยียดกระดูกสันหลงั
ภำพที่ 20 Quadratus lumborum
ที่มา : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy
16
4. กล้ามเน้อื ของอ้งุ เชงิ กราน (Muscles of pelvis) Levator ani และ Coccygeus ทาหน้าท่ี ขึงอยู่ใน Pelvic
cavity คลา้ ยเปน็ Pelvic diaphagm รองรับ อวยั วะท่ีอยภู่ ายในอุ้งเชิงกรานไว้
5. กลา้ มเนอ้ื ของแขน (Muscles of the upper extremities)
5.1 กลา้ มเนอ้ื ไหล่ (Muscles of the shoulder)
ภำพท่ี 21 Muscles of the shoulder
ทมี่ า : https://www.foot-pain-explored.com/ Muscles of the shoulder
Deltoid ทาหน้าท่ี กางต้นแขนขน้ึ มาเปน็ มมุ ฉาก
ภำพที่ 22 Deltoid
ท่มี า : https://www.yoganatomy.com/
17
Supraspinatus , Infraspinatus , Teres minor ทาหน้าท่ี พยุงไหล่ หุบแขน และหมนุ ตน้ แขนไปขา้ งๆ
ภำพที่ 23 Supraspinatus
ท่มี า : https://www.yoganatomy.com/
Teres major ทาหน้าท่ี หบุ แขนและหมุนต้นแขนเขา้ ข้างใน
ภำพที่ 24 Teres major
ทีม่ า : https://en.wikipedia.org/wiki
18
Subscapularis ทาหน้าท่ี หมุนต้นแขนเข้าข้างใน และพยงุ หัวไหล่
ภำพท่ี 25 Subscapularis
ทม่ี า : https://en.wikipedia.org/wiki/Subscapularis_muscle
5.2 กลา้ มเนือ้ ตน้ แขน (Muscles of the arm)
· Biceps brachii คล้ายกระสวยปลายบนมี 2 หวั ทาหน้าที่ งอข้อศอกและหงายมือ
ภำพที่ 26 กลำ้ มเน้ือของปลำยขำด้ำนหลัง
ทีม่ า : https://en.wikipedia.org/wiki/·Biceps brachii
19
Triceps brachii มัดใหญ่อยหู่ ลังตน้ แขน ปลายบนมี 3 หัว ทาหน้าท่ี เหยียดปลายแขน หวั ยาวเหยยี ดและหบุ
แขน
ภำพท่ี 27 Triceps brachii
ทม่ี า : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/
Brachialis คลุมสว่ นหนา้ ของขอ้ ศอก ทาหนา้ ที่ งอปลายแขน
ภำพท่ี 28 Brachialis
ทม่ี า : https://en.wikipedia.org/wiki/ Brachialis
20
Coracobrachialis ทาหนา้ ที่ งอและหบุ แขน ช่วยใหห้ ัวของกระดกู humerus อย่ใู น Glenoid
ภำพท่ี 29 Coracobrachialis
ท่มี า : https://en.wikipedia.org/wiki/ Coracobrachialis
5.3.1 กลา้ มเน้อื ปลายแขนดา้ นหนา้ (Volar group)
Pronator Teres ทาหน้าท่ี ควา่ มอื และงอแขนท่อนล่าง
ภำพที่ 30 Pronator Teres
ทม่ี า : https://en.wikipedia.org/wiki/ Pronator Teres
21
Pronator guadatus ทาหนา้ ท่ี คว่าแขนทอ่ นบน
ภำพที่ 31 Pronator guadatus
ท่มี า : https://www.foot-pain-explored.com/ Pronator guadatus
Flexor carpi Ulnaris ทาหนา้ ท่ี คว่าแขนท่อนลา่ ง งอและหบุ มอื
ภำพที่ 32 Flexor carpi Ulnaris
ท่มี า : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/ Flexor carpi Ulnaris
22
Flexor digitorum Profundus ทาหนา้ ท่ี งอมือและงอปลายนิ้ว
ภำพที่ 33 Flexor digitorum Profundus
ท่ีมา : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/ Flexor digitorum Profundus
5.3.2 กล้ามเนอ้ื ปลายแขนดา้ นหลงั (Dorsal group)
Brachioradialis ทาหนา้ ที่ งอปลายแขนและหงายมือ
· ภำพที่ 34 Brachioradialis
ทม่ี า : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/ Brachioradialis
23
Extensor carpi Radialis brevis ทาหน้าท่ี เหยียดแขนท่อนลา่ งเหยียดและกางข้อมอื
ภำพท่ี 35 Extensor carpi Radialis brevis
ที่มา : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/ Extensor carpi Radialis brevis
Extensor carpi Ulnaris ทาหน้าท่ี เหยยี ดและกางข้อมือ
ภำพท่ี 36 Extensor carpi Ulnaris
ทีม่ า : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/ Extensor carpi Ulnaris
24
Extensor digitorum ทาหน้าท่ี เหยียดนิว้ มอื และข้อมือ
ภำพท่ี 37 Extensor digitorum
ทมี่ า : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/ Extensor digitorum
5.4 กล้ามเน้ือของมือ (Muscles of the hand) กลา้ มเน้ือของมือเป็นกลา้ มเน้ือสั้นๆ ทีท่ าหน้าท่ี ในการเคลอ่ื นไหว
น้ิวหวั แมม่ อื และนว้ิ อื่นๆ นอกจากน้ยี งั มีกลา้ มเนื้อมดั เลก็ ๆ ท่ีนวิ้ มอื อกี จานวนมาก ซ่ึงช่วยในการเคลื่อนไหวนวิ้ มือ
อีกด้วย
ภำพที่ 38 Muscles of the hand
ทม่ี า : https://www.foot-pain-explored.com/ Muscles of the hand
25
6. กล้ามเน้อื ขา (Muscle of lower extremities) จาแนกออกเปน็
6.1 กล้ามเนอ้ื บริเวณสะโพก ทาหน้าท่ี เคล่ือนไหวขาท่อนบน ไดแ้ ก่
Gluteus maximus ทาหนา้ ที่ เหยียดและกางตน้ ขา
ภำพท่ี 39 Gluteus maximus
ท่มี า : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/ Gluteus maximus
· Gluteus medius ทาหนา้ ท่ี กางต้นขา
ภำพที่ 40 Gluteus medius
ท่มี า : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/peroneus-longus-muscle
26
Gluteus minimus ทาหนา้ ที่ หมนุ ต้นขาเขา้ ขา้ งใน
ภำพที่ 41 Gluteus minimus
ท่ีมา : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/ Gluteus minimus
6.2 กล้ามเนื้อของต้นขา (The Muscles of the thigh)
6.2.1 กล้ามเนอื้ ตน้ ขาดา้ นหนา้ ประกอบดว้ ยกล้ามเน้ือมัดใหญ่ๆ ที่เรยี กวา่ Quadriceps femoris มหี นา้ ทีเ่ ห
ยีดปลายขามี 4 มดั คอื
Rectus femoris , Vastus lateralis or Vastus externus , Vastus medialis or Vastus internus ,
Vastus Intermedius ทาหน้าที่ เหยียดปลายขาและงอต้นขา
ภำพท่ี 42 Rectus femoris
ทมี่ า : https://www.sportsinjuryclinic.net/sport-injuries/hip-groin/hip-pain/rupture-rectus-femoris
27
6.2.2 กล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง ประกอบดว้ ยกลา้ มเนื้อกลุ่ม Hamstring muscles เปน็ พวก งอปลายขาขึ้นมา มี 3
มัด คอื
Biceps femoris ทาหนา้ ทง่ี อปลายขาเหยียดตน้ ขา
ภำพที่ 43 Biceps femoris
ทีม่ า : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/Biceps femoris
Semitendinosus , Semimembranosus ทาหน้าที่ งอปลายขา หมนุ ปลายขาเขา้ ขา้ งใน
ภำพที่ 44 Semitendinosus
ทมี่ า : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/Semitendinosus
28
6.3 กล้ามเน้ือของปลายขา (The Muscles of the legs)
6.3.1 กลา้ มเนอื้ ของปลายขาด้านหน้า
Tibialis anterior ทาหน้าที่ งอหลงั เท้า เหยยี ดนิ้วเท้า หมุนฝาเทา้ เขา้ ข้างใน
ภำพท่ี 45 Tibialis anterior
ที่มา : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/Tibialis anterior
Extensor digitorum longus ทาหนา้ ที่ งอเท้า เหยียดนิว้ เท้า หนั เท้าออกข้างนอก
ภำพท่ี 46 Extensor digitorum longus
ท่ีมา : https://www.kenhub.com/en/library/anatomy/ Extensor digitorum longus
29
Peroneus longus ทาหนา้ ที่ เหยยี ดเท้า กางและหมุนเทา้ ออกขา้ งนอก
ภำพท่ี 47 Peroneus longus
ทม่ี า : https://en.wikipedia.org/wiki/Peroneus_muscles
Peroneus brevis ทาหนา้ ท่ี เหยยี ดเทา้ หมนุ เท้าออกขา้ งนอก
ภำพท่ี 48 Peroneus brevis
ท่มี า : https://en.wikipedia.org/wiki/Peroneus_brevis
30
6.3.2 กลา้ มเน้ือของปลายขาดา้ นหลงั
Gastrocnemius มี 2 หัว ทาหนา้ ที่ เหยียดข้อเทา้ งอปลายขา
Soleus ทาหนา้ ท่ี เหยยี ดข้อเทา้
ภำพท่ี 49 กล้ำมเนอื้ ของปลำยขำดำ้ นหลัง
ทีม่ า : https://www.foot-pain-explored.com/gastrocnemius.html
กลา้ มเนือ้ ทงั้ 2 มดั รวมกันเป็น Tendon ที่หนาและแข็งแรงทีส่ ดุ ในรา่ งกาย แล้วไปเกาะท่กี ระ ดกู สันเท้า
ตรงทเ่ี รียกว่า เอ็นร้อยหวาย
6.4 กลา้ มเน้อื ของเท้า (The Muscles of the foot) เปน็ กลา้ มเน้อื มัดเล็กสนั้ ๆ เหมือนกับท่มี ืออยู่หลังเท้า และฝา่
เท้า หน้าท่ีสาคัญ คอื ช่วยยดึ เทา้ ใหเ้ ป็นอุ้งเทา้ (Arch) อยไู่ ด้
ภำพท่ี 50 กล้ำมเน้ือของเท้ำ
ท่ีมา : https://teachmeanatomy.info/lower-limb/muscles/foot/
31
บรรณำนกุ รม
กำยวภิ ำคศำตรแ์ ละสรีระวิทยำระบบกล้ำมเน้อื . (2554). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://teachmeanatomy.info/lower-limb/muscles/foot/. (เขา้ ถึงเมื่อ 14 ตลุ าคม 2563).
กำยวิภำคศำตรแ์ ละสรรี ะวทิ ยำระบบกล้ำมเนือ้ . (2558). [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก :
https://en.wikipedia.org/wiki/Peroneus_muscles. (เข้าถงึ เมือ่ 14 ตุลาคม 2563).
กำยวภิ ำคศำตรแ์ ละสรีระวิทยำระบบกล้ำมเนอื้ . (2559). [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
https://www.kenhub.com/en/library/anatomy. (เข้าถึงเมื่อ 14 ตลุ าคม 2563).
ผศ.ธัญญาลกั ษ์ วจนะวศิ ิษฐ์. (2563). เอกสำรประกอบกำรสอนกำยวภิ ำคศำสตรข์ องระบบกลำ้ มเนอ้ื .
นครปฐม: คณะพยาบาลศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภัฎนครปฐม
รภัทร เอกนิธิเศรษฐ. (2559). ระบบกล้ำมเนื้อ. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก :
http://www.elfit.ssru.ac.th/rapat_ek/pluginfile.php/63.pdf. (วนั ทส่ี ืบคนุ้ ข้อมลู : 8 พฤศจิกายน 2563).