The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฐานข้อมูลตำบล ชุดองค์ความรู้สู่คำตอบ การเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลตำบลในจังหวัด
ประจำปีงบประมาณ 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by brownpaper1203, 2021-04-28 05:09:20

ฐานข้อมูลตำบล

ฐานข้อมูลตำบล ชุดองค์ความรู้สู่คำตอบ การเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลตำบลในจังหวัด
ประจำปีงบประมาณ 2563

ฐานขอŒ มลู ตาํ บล มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งราย

ชดุ องคค วามรูŒ

สู‹ คาํ ตอบการเสรมิ สรŒาง

ความเขมŒ แขง็ ชมุ ชน

โครงการพัฒนาระบบขอมูลตําบลในจังหวัด
ประจาํ ปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563
ยุทธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาทŒองถนิ่
มหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงราย

สารบัญ บทที่ 1 ความเปนš มาของโครงการ

CONTENTS 6 บทนํา
6 องคค วามรŒูและนวตั กรรมของอาจารย
4
และนักศึกษาท่นี ํามาใชŒในการดําเนนิ งานโครงการ
12 8 วัตถปุ ระสงคการทาํ งาน
8 เปา‡ หมายโครงการ
38 9 ภาคีเครอื ข‹ายการทาํ งาน
9 ผลลัพธข องโครงการ
9 นวัตกรรมกระบวนการ (Process Innovation)
10 กรอบแนวคิดในการดําเนนิ งาน

บทท่ี 2 วิธีการดําเนินงาน

14 กลุม‹ เป‡าหมายในการดําเนินงาน
14 พื้นทดี่ ําเนนิ งาน
15 การบรู ณาการกบั การจัดการเรยี นการสอน
17 รายวิชาทีบ่ รู ณาการการเรยี นการสอน

โครงการพฒั นาระบบขอŒ มูลตําบลในจงั หวัด
17 การดาํ เนนิ งาน
34 เครื่องมอื การรวบรวมขŒอมลู
34 การนําเสนอ คืนกลับขอŒ มูล ใหŒชมุ ชนนาํ ไปใชŒประโยชน
35 การถอดสรปุ บทเรยี นการดาํ เนินงาน

บทที่ 3 ผลการดําเนินงาน

40 ฐานขอŒ มูลชุมชนระดับตาํ บลเวยี งชัย
40 สภาพท่ัวไป ภมู ปิ ระเทศ อาณาเขตและท่ีตัง้
40 ละติจดู , ลองจจิ ดู
41 ขอŒ มูลดาŒ นจํานวนประชากรและการจดั การชุมชน
43 การจดั การชมุ ชน
44 การประกอบอาชพี ของประชาชน

74 44 ฐานขอŒ มูลระดับตาํ บลเชยี งบาน
44 พกิ ัดที่ต้งั ตําบลเชียงบาน
44 ละตจิ ดู , ลองจิจูด
45 สภาพทางกายภาพของตําบล
45 ลักษณะภูมิประเทศ
45 ลกั ษณะภูมอิ ากาศ
46 ขŒอมลู ดาŒ นประชากรและการจัดการชมุ ชน
46 อาชีพ
47 ขŒอมูลดŒานศาสนา
48 ขŒอมูลดŒานสาธารณสุข
48 การปกครองทŒองถ่ินในพื้นท่ตี ําบลเชยี งบาน
49 ผลการวิเคราะหศักยภาพชุมชนเพอ่ื ต‹อยอดสก‹ู ารสราŒ ง

โครงการพฒั นาคุณภาพชวี ิตในพ้ืนท่ี
58 โครงการดาŒ นพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต
59 สถานการณ Covid-19 : ป˜ญหาการดําเนนิ งานและแนวทางการแกŒไข
63 สรปุ ผลการดาํ เนินงานโครงการระบบขŒอมลู ตาํ บลในจังหวัด

ภาคผนวก เคร่ืองมอื รวบรวมขŒอมูล

76 ขŒอมูลสว‹ นบคุ คลของผŒูใหขŒ Œอมลู
78 บรบิ ทและสภาพทางกายภาพของชมุ ชน
83 ลักษณะทางเศรษฐกจิ และสังคมของชุมชน
90 ระบบสขุ ภาพชุมชน
91 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอŒ ม
94 ขอŒ เสนอแนะ

4 ฐานขŒอมูลตําบล ชดุ องคค วามรูŒ
ส‹ู คําตอบการเสร�มสราŒ งความเขŒมแขง็ ชุมชน

บทท่ี 1

ความเปšนมาของโครงการ

โครงการพัฒนาระบบขอŒ มลู ตาํ บลในจังหวดั ประจาํ ป‚งบประมาณ พ.ศ. 2563 5
ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพัฒนาทอŒ งถ�นิ มหาวท� ยาลัยราชภฏั เชียงราย

6 ฐานขอŒ มลู ตาํ บล ชดุ องคความรูŒ
สู‹ คาํ ตอบการเสร�มสรŒางความเขมŒ แข็งชมุ ชน

บทนํา ในการจัดทาํ โครงการครัง้ นี้ ดาํ เนินการในพ้นื ที่
20 หมูบาน ของตําบลเวียงชัย อําเภอเวียงชัย
ก า ร จั ด ทํ า ฐ า น ข  อ มู ล ข อ ง พื้ น ท่ี บ ริ ก า ร จังหวัดเชียงราย และ 11 หมูบาน ในตําบลเชียงบาน
ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายรับผิดชอบ มีความสําคัญ อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา ซ่ึงจะกอใหเกิดจํานวน
ตอการพัฒนาทองถิ่น ทําใหเรียนรูถึงตนทุนและ ตําบลที่ไดดําเนินการพัฒนาขอมูลตําบล และการบูรณาการ
ศักยภาพชุมชน ซ่ึงถือวาเปนเครื่องมือชวยตัดสินใจ การเรียนการสอนในรายวิชา เกิดกิจกรรมท่ีดําเนินการ
ในการวางแผนการพัฒนาใหสอดคลองกับปญหา รวมระหวา งอาจารยและนกั ศกึ ษา รวมถงึ มขี อมูลตาํ บล
และความตองการของชมุ ชนทอ งถ่ินได โดยมกี ารพัฒนา ที่สามารถนําไปใชประโยชนในการพัฒนาชุมชนทองถิ่นได
ระบบขอมูล ในดา นความทันสมัยของขอมลู การวเิ คราะห และหนวยงานภาคีเครือขายตางๆ ทั้งภาครัฐและ
เพื่อตอบสนองตอ การใชง าน รวมถึงการจดั การฐานขอมูล องคกรพฒั นาเอกชน สามารถเชือ่ มโยงกบั ฐานขอ มูล
โดยการพัฒนาฐานขอมูลตําบลจะสามารถเปนประโยชน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และนําไปใช
ตอมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ในพันธกิจตาม ในการพฒั นาทองถ่ินไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ
ยุทธศาสตรดานการพัฒนาทองถ่ินของมหาวิทยาลัย
ในมิติของการพัฒนาเชิงพื้นที่บนฐานสภาพการณ องคค วามรูแŒ ละนวตั กรรมของอาจารย
และฐานขอมูลชุมชน ซ่ึงสามารถพัฒนาความรวมมือกับ และนักศึกษาทนี่ ํามาใชŒในการดาํ เนนิ งานโครงการ
หนว ยงานรัฐ ประชาชนในพืน้ ทรี่ ะดับหมบู า น ตําบล
อําเภอ และจังหวัดในการวางแผนพัฒนาเชิงพ้ืนที่ องคความรูและนวัตกรรมของนักศึกษาหรือ
แลวดําเนินการตามพันธกิจและศักยภาพของมหาวิทยาลัย อาจารยที่นํามาใชในการดําเนินงานโครงการคร้ังน้ี
โดยกําหนดเปาหมายทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพ ประกอบไปดวย ความเชี่ยวชาญและองคความรู
รวมถงึ กรอบระยะเวลา (Timeline) ในการดําเนนิ งาน ที่สนับสนุนการดําเนินงานในการวิเคราะหพ้ืนท่ีเปาหมาย
อยางเปนรูปธรรมสูการบูรณาการการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาระบบฐานขอมูลตําบลรวมกันระหวางอาจารย
การวิจัยและการบริการวิชาการของนักศึกษาและ และนักศึกษา โดยเปนความเช่ียวชาญของอาจารย
อาจารยกบั การพัฒนาทองถ่ิน เพ่อื การเปน สถาบนั หลกั ผูรับผิดชอบรายวิชาที่เกี่ยวของกับการรวบรวมขอมูล
ในการบูรณาการองคความรูสูนวัตกรรมในการพัฒนา และจดั การฐานขอ มูลระดบั ตาํ บล ไดแ ก กระบวนการ
ทอ งถิ่น เพือ่ สรางความมน่ั คงใหก ับประเทศ (University ศกึ ษาชุมชน เครือ่ งมือการศกึ ษา การจดั ระบบขอมูล
Engagement for sustainability) โดยโครงการ และการวิเคราะหขอมูล อีกทั้งดานอัตลักษณของ
"พัฒนาระบบขอมูลตําบลในจังหวัด" มีเปาหมาย นักศกึ ษาในการเปน ผทู ม่ี ีทักษะเดน ความรดู ี มีคณุ ธรรม
เพื่อพัฒนาระบบฐานขอมูลตําบลดําเนินงานพัฒนา และสามารถนําองคความรูจากการเรียนมาประยุกตใช
เคร่ืองมือกระบวนการประเด็นดานขอมูลและ และปฏิบัติดานการรวบรวมและจัดการฐานขอมูลตําบล
รวบรวมขอมูล โดยใชเทคนิควิธีการบูรณาการ ในพ้ืนท่ีเปาหมาย อันกอใหเกิดอัตลักษณที่สําคัญ
การจัดการเรียนการสอนกับรายวิชารวมกับนักศึกษา ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ไดแก
ในการเก็บรวบรวมขอมูล จากนัน้ วิเคราะหแ ละสงั เคราะห การมีคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงคตาม
เพื่อจัดทําฐานขอมูล และสามารถนําขอมูล พระราโชบายดานการศึกษา ของพระบาทสมเด็จ
ระดับตําบลไปใชในการดําเนินโครงการยุทธศาสตร พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพื่อการพฒั นาทอ งถน่ิ ระยะ 20 ป พระวชิรเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 10) ไดแก
(พ.ศ. 2560-2579) ตลอดจนคนื ขอมูลใหก ับชุมชน 1) การมีทศั นคติที่ถกู ตอ ง 2) มีพ้นื ฐานชีวติ ท่ีมนั่ คง
ทองถ่นิ นําไปใชป ระโยชนในดานการพัฒนาได 3) มีงานทาํ มอี าชีพ และ 4) เปน พลเมืองที่มีระเบยี บวินัย

โครงการพฒั นาระบบขŒอมลู ตําบลในจังหวัด ประจาํ ปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 7
ยุทธศาสตรที่ 1 การพฒั นาทอŒ งถ�นิ มหาวท� ยาลัยราชภัฏเชียงราย

รวมถึงองคความรูศาสตรพระราชาที่เนนการเขาใจ เขาถึง และพัฒนา ในกระบวนการทํางานดานงานพัฒนา
และนํามาประยุกตในการรวบรวมขอมูลชุมชนรวมถึงการพัฒนาระบบขอมูลตําบลในจังหวัดได อีกทั้งยังมี
การบูรณาการองคความรดู า นสหวิทยาการ ท้งั สังคมศาสตร มนษุ ยศาสตร และวทิ ยาศาสตร ในการศึกษาชมุ ชน
และวเิ คราะหช มุ ชน ของนักศึกษาและอาจารย สามารถแสดงไดด ังแผนภาพ

อตั ลักษณข องนักศกึ ษาในการเปšนผทูŒ ่ีมีทกั ษะเดน‹

ความเช่ียวชาญและองคค วามรูŒท่สี นับสนนุ ความรูดŒ ี มคี ุณธรรม และสามารถนาํ องคค วามรŒู

การดาํ เนินงานในการวิเคราะหพ ื้นท่ีเปา‡ หมาย จากการเรียนมาประยุกตใชŒ และปฏิบัตดิ าŒ นการรวบรวม

เพื่อพฒั นาระบบฐานขŒอมลู ตําบลร‹วมกัน และจัดการฐานขŒอมลู ตําบลในพ้ืนที่เปา‡ หมาย

ระหว‹างอาจารย และนกั ศกึ ษา อันกอ‹ ใหŒเกดิ อตั ลักษณทสี่ ําคัญของนักศกึ ษา

โดยเปšนความเชี่ยวชาญของ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งราย ไดแŒ ก‹

อาจารยผ Œรู ับผดิ ชอบรายวิชา การมีคณุ ลกั ษณะของคนไทย

ท่ีเก่ยี วขŒองกบั การรวบรวมขอŒ มูล ท่ีพงึ ประสงคต ามพระราโชบาย

และจดั การฐานขอŒ มลู ระดบั ตาํ บล องคค วามรŒแู ละนวัตกรรม ดาŒ นการศึกษา

ของอาจารยแ ละนักศกึ ษา

ทีน่ าํ มาใชŒในการดาํ เนนิ งาน

โครงการ

องคค วามรูŒสายสังคมศาสตรท่ีเนนŒ การเขŒาใจ การบูรณาการองคค วามรดŒู Œานสหวิทยาการ
เขาŒ ถงึ และพัฒนา ในกระบวนการทาํ งาน ทัง้ สงั คมศาสตร มนุษยศาสตร และวิทยาศาสตร
ดาŒ นงานพัฒนา ในการรวบรวมขŒอมลู และเทคนคิ การศกึ ษาชุมชน
รวบรวมขŒอมูลชมุ ชน และวเิ คราะหชมุ ชน
ของนกั ศกึ ษาและอาจารย

ภาพที่ 1 องคค วามรูŒและนวตั กรรมของอาจารยและนกั ศึกษาทน่ี ํามาใชใŒ นการดาํ เนนิ งานโครงการ

8 ฐานขŒอมูลตําบล ชุดองคความรŒู
ส‹ู คําตอบการเสรม� สรŒางความเขมŒ แข็งชุมชน

วตั ถุประสงคก ารทาํ งาน

1. เพ่ือพัฒนาระบบฐานขอมูลตําบล ในพ้ืนท่ีตําบลเวียงชัย อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงรายและ
ตําบลเชียงบาน อาํ เภอเชียงคาํ จงั หวัดพะเยา

2. เพ่ือบูรณาการกิจกรรมกับการจัดการเรียนการสอนของอาจารยและนักศึกษาในการรวบรวมขอมูล
และจัดการฐานขอ มลู ตาํ บล

3. เพื่อจัดทําฐานขอมูลตําบ ล ท่ีสามารถนําสูการวิเคราะหศักยภาพ ปญหา และความตองการ
ของชุมชนในการพัฒนาชุมชนทอ งถ่ิน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย รวมกับหนวยงาน
ภาคีเครอื ขา ย และชุมชนทองถิ่นในพื้นที่

เปา‡ หมายโครงการ

โครงการพัฒนาระบบขอมูลตําบลในจังหวัดมีเปาหมายในการดําเนินงานท่ีเปนไปตามยุทธศาสตร
การพัฒนาทองถิ่น โดยมุงเนนการบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาตางๆ ที่เก่ียวของ และ
เกิดผลผลิตดานขอมูลตําบลและสามารถเช่ือมโยงกับภาคีเครือขายในการนําไปใชประโยชนดานการพัฒนา
ทองถน่ิ ในพื้นที่

เป‡าหมายโครงการ

Outputs
ขอŒ มลู ตําบลเพ่ือการจดั ทําระบบฐานขŒอมูล

การพฒั นาระบบขŒอมลู ตาํ บล การเขŒารว‹ มกจิ กรรม
ใน 31 หมบู‹ าŒ น ของอาจารยแ ละนกั ศึกษา
ในรายวิชาที่เกยี่ วขŒอง
และบรู ณาการการเรียน
การสอนกบั กิจกรรม

มรี ะบบขŒอมลู ตาํ บลทสี่ ามารถ การพัฒนาทกั ษะการทํางาน
นาํ ไปใชปŒ ระโยชนในการพัฒนา กับชุมชนทอŒ งถ่นิ ของอาจารย
ชมุ ชนทอŒ งถิ่น และนกั ศึกษา

โครงการพัฒนาระบบขอŒ มลู ตาํ บลในจงั หวัด ประจาํ ป‚งบประมาณ พ.ศ. 2563 9
ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาทŒองถน�ิ มหาวท� ยาลัยราชภัฏเชียงราย

ภาคเี ครือขา‹ ยการทํางาน นวตั กรรมทคี่ าดว‹าจะเกิดขึ้น

ป ร ะ ก อ บ ด  ว ย เ ท ศ บ า ล ตํ า บ ล สิ ริ เ วี ย ง ชั ย นวัตกรรมกระบวนการ (Process Innovation)
เทศบาลตําบลเวียงชัย อาํ เภอเวียงชัย จงั หวัดเชยี งราย • เกดิ การแลกเปลยี่ นเรียนรู ระหวางชมุ ชน
และองคการบรหิ ารสวนตําบลเชียงบาน อําเภอเชยี งคาํ
จงั หวดั พะเยา รวมถึงหนว ยงานภาครัฐในพืน้ ที่ ไดแ ก นักศึกษา และอาจารยในการบูรณาการดานการรวบรวม
พัฒนาชุมชน อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย และ ขอมลู การพัฒนาฐานขอมูล และประยกุ ตใ ชอ งคความรู
อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา และพัฒนาสังคมและ จากการจัดการเรยี นการสอน
ความมัน่ คงของมนษุ ยจ งั หวัดเชียงราย และจงั หวดั พะเยา
• เกิดกระบวนการสรางและพัฒนา
ผลลัพธของโครงการ ความรวมมือระหวางมหาวทิ ยาลัยเพ่อื การพัฒนาทองถิ่น
กบั ชุมชนในเชิงปรากฏการณน ยิ ม
โครงการพัฒนาระบบขอมูลตําบลในจังหวัด
เปนการดําเนินการพัฒนาขอมูลตําบล และการบูรณาการ • ในดานนวัตกรรมกระบวนการพัฒนา
การเรียนการสอนในรายวิชา กอใหเกิดกิจกรรม ความรวมมือ ระหวางมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ที่ดําเนินการรวมระหวางอาจารยและนักศึกษา รวมถึง และจังหวัด ท้ังหนวยงานภาครัฐ ภาคประชาสังคม
มีขอมูลตําบลที่สามารถนําไปใชประโยชนในการวิเคราะห ในการวางแผน เพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่และดําเนิน
ศักยภาพ ปญหา และความตองการของชุมชน โครงการตามพันธกิจและศักยภาพมหาวิทยาลัย
ในการพัฒนาชุมชนทองถิ่นได และหนวยงานภาคี เชน กําหนดเปาหมาย กําหนดกรอบระยะเวลา
เครือขา ยตา งๆ ทง้ั ภาครฐั และองคกรพฒั นาเอกชน ในการดําเนินงาน พัฒนาเชิงพื้นท่ี ชุมชนทองถ่ิน
สามารถเชื่อมโยงกับฐานขอมูลของมหาวิทยาลัย อยา งเปนรปู ธรรม
ราชภฏั เชียงราย และนาํ ไปใชใ นการพฒั นาทอ งถิน่ ได
อยางมปี ระสิทธิภาพ นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological
Innovation)
Outcomes
• เกิดนวัตกรรมจัดระบบฐานขอมูลชุมชน
ภาคีเครอื ข‹ายภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชน ระดับตําบล เพ่ือที่สามารถนําไปใชประโยชน
สามารถเชื่อมโยงกิจกรรมโครงการและฐานขอŒ มูลตําบล อยางบูรณาการระหวางการเรียนรูของนักศึกษา
นําไปใชเŒ พือ่ การพฒั นาทŒองถนิ่ ไดŒอย‹างมปี ระสทิ ธิภาพ อาจารย และการพฒั นาชุมชนทอ งถนิ่ ของมหาวิทยาลัย
ที่สามารถบูรณาการกับการจัดการจากหนวยงาน
เกดิ ฐานขอŒ มลู ตําบลที่หน‹วยงานภาครฐั สามารถเชือ่ มโยง ภาครัฐท่ีสนับสนุนดานการพัฒนาทองถ่ินไดอยางมี
และนําไปใชŒในการตดั สนิ ใจเพอ่ื การพัฒนาทŒองถ่ินไดอŒ ย‹าง ประสทิ ธิภาพ

มปี ระสิทธิภาพ • อาจารยและนักศึกษาเกิดการพัฒนา
ทักษะการเรียนรูชุมชน และการทํางานรวมกับ
ชุมชนทองถ่ินในเชิงพ้ืนท่ี โดยมีพื้นฐานและขอบเขต
การพัฒนาดานการรวบรวมขอมูลที่พัฒนาจาก
เทคโนโลยี

• ไดระบบขอมูลตําบล ที่สามารถ
นําไปใชประโยชนในชุมชนทองถ่ินได ทั้งดานการพัฒนา
และท่ีเก่ียวของ โดยเปนนวัตกรรมท่ีมีขอบเขตของ
การพฒั นามาจากเทคโนโลยีสารสนเทศ

10 ฐานขŒอมูลตําบล ชุดองคความรŒู
สู‹ คําตอบการเสร�มสราŒ งความเขมŒ แขง็ ชมุ ชน

กรอบแนวคดิ ในการดําเนนิ งาน ดาŒ นสิ่งแวดลอŒ มการบรู ณาการฯ

จากวัตถุประสงคของโครงการ การประยุกตใชŒในรายวชิ า
เปาหมาย และผลลัพธใ นการดําเนนิ งาน อาจารย บุคลากร
ส า ม า ร ถ แ ส ด ง ก ร อ บ แ น ว คิ ด ใ น และนกั ศกึ ษา
การดําเนนิ งาน ไดด งั น้ี

Œดานเศรษฐกิจ

ดาŒ นสงั คมวัฒนธรรม

ภาพประกอบ กรอบแนวคดิ การดําเนนิ งาน

โครงการพัฒนาระบบขอŒ มลู ตําบลในจงั หวัด ประจําป‚งบประมาณ พ.ศ. 2563 11
ยุทธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาทอŒ งถิน� มหาวท� ยาลัยราชภัฏเชยี งราย

กระบวนการดาํ เนนิ งาน = ภาครฐั
หนว‹ ยงาน = อปท.
คณะกรรมการดาํ เนนิ งาน
ผูนŒ าํ /ประชาชน

มหาวิทยาลยั ชมุ ชน/ทอŒ งถิ่น

อาจารย/ บคุ ลากร นักศึกษา • การนาํ เสนอ
• การนําขอŒ มูล
• พฒั นากรอบ • การประสานงาน • การสังเคราะห
ตวั ชว้ี ดั ขอŒ มลู ชุมชน • ตรวจสอบ ไปใชปŒ ระโยชน
• การจดั การ ของชุมชน
• การวางแผน • การทดสอบ
• รายวิชาท่เี กย่ี วขอŒ ง เคร่ืองมอื และ ฐานขŒอมูล 4
รวบรวมขอŒ มูล
1 3
2

ระบบฐานขŒอมูลชมุ ชน

ผลการดําเนนิ งาน

12 ฐานขŒอมลู ตาํ บล ชุดองคความรูŒ
ส‹ู คําตอบการเสร�มสรŒางความเขŒมแข็งชมุ ชน

บทที่ 2

วิธกี ารดําเนินงาน

โครงการพัฒนาระบบขอŒ มลู ตาํ บลในจังหวดั ประจาํ ป‚งบประมาณ พ.ศ. 2563 13
ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพัฒนาทอŒ งถ�นิ มหาวท� ยาลัยราชภฏั เชียงราย

14 ฐานขŒอมลู ตําบล ชดุ องคความรŒู
ส‹ู คาํ ตอบการเสร�มสรŒางความเขมŒ แขง็ ชมุ ชน

กลุ‹มเปา‡ หมายในการดาํ เนนิ งาน

ไดแ บง กลุมเปาหมายในการดาํ เนนิ งานตามขัน้ ตอนของการดาํ เนนิ งาน ดงั นี้

ขน้ั การวางแผน : อาจารยแ ละนกั ศึกษามหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งราย
ขั้นดําเนินงาน : อาจารย บุคลากร นกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงราย ผูนาํ ชุมชน
การถอดสรุปบทเรยี น : ตวั แทนชมุ ชน และหนวยงานในพน้ื ทที่ งั้ ภาครัฐและองคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ
ประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งาน อาจารย บุคลากร นกั ศึกษามหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงราย ผนู าํ ชมุ ชน
และสรุปผลการดําเนนิ งาน ตวั แทนชมุ ชน และหนว ยงานในพื้นทที่ ัง้ ภาครฐั และองคก รปกครองสว นทองถิน่

โดยมีรายละเอยี ดการดาํ เนนิ งาน ดังนี้

พื้นทด่ี าํ เนนิ งาน

เทศบาลตาํ บลสิริเวียงชัย และเทศบาลตําบลเวยี งชยั อาํ เภอเวยี งชยั จังหวัดเชียงราย จํานวน 20 หมูบา น
และองคการบรหิ ารสว นตาํ บลเชียงบาน อําเภอเชยี งคํา จังหวัดพะเยา จาํ นวน 11 หมูบา น

พ้ืนท่ดี ําเนินงาน จาํ นวนหมูบ‹ Œาน

ตาํ บลเวยี งชยั อําเภอเวียงชยั 20 หมูบา น ดงั นี้
จงั หวัดเชียงราย หมูที่ 1 บานกลางเวียง
หมทู ่ี 2 บานรองบวั ลอย
หมทู ี่ 3 บานศรีเวียง
หมทู ่ี 4 บานดาย
หมทู ี่ 5 บา นไชยเจรญิ
หมทู ่ี 6 บา นปง
หมูที่ 7 บานดา ยกูแกว
หมูท่ี 8 บา นเวียงชยั
หมทู ี่ 9 บานไชยนารายณ
หมทู ี่ 10 บา นชยั ภมู ิ
หมูท ่ี 11 บา นหนองหลม
หมทู ี่ 12 บานใหมโพธ์งิ าม
หมทู ี่ 13 บา นชัยนเิ วศน
หมทู ี่ 14 บา นไชยปราการ
หมูท่ี 15 บานเดา ยจรญิ
หมทู ่ี 16 บานหนองหลวง

โครงการพัฒนาระบบขŒอมูลตาํ บลในจงั หวัด ประจําปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 15
ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาทŒองถ�นิ มหาว�ทยาลัยราชภฏั เชียงราย

พ้ืนทด่ี ําเนนิ งาน จาํ นวนหมู‹บŒาน

ตาํ บลเชียงบาน อาํ เภอเชียงคํา หมูที่ 17 บานเจรญิ เหนอื
จังหวัดพะเยา หมูท่ี 18 บา นดา ยทาลอ
หมูท่ี 19 บา นเวียงชยั ทอง
หมูท ี่ 20 บานดายพฒั นา
11 หมบู า น ดงั นี้
หมทู ี่ 1 บานปางวัว
หมูที่ 2 บานทุงมอก
หมทู ี่ 3 บา นเชยี งบาน
หมทู ี่ 4 บานเชยี งบาน
หมูท่ี 5 บานแวนวัฒนา
หมทู ่ี 6 บา นแพด
หมทู ี่ 7 บา นเชยี งคาน
หมูที่ 8 บา นสบแวน
หมูที่ 9 บา นแพทยบุญเรือง
หมูท่ี 10 บา นเชียงบาน
หมทู ี 11 บานฝงแวน

การบูรณาการกบั การจัดการเรียนการสอน ดํ า เ นิ น ก า ร ต า ม พั น ธ กิ จ แ ล ะ ศั ก ย ภ า พ ข อ ง
มหาวิทยาลัยโดยกําหนดเปาหมายท้ังเชิงปริมาณ
ก า ร จั ด ทํ า ฐ า น ข  อ มู ล ข อ ง พื้ น ท่ี บ ริ ก า ร ท่ี และคุณภาพ รวมถึงกรอบระยะเวลา (Timeline)
ม หาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายรับผิดชอบ มีความ ในการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรมสูการบูรณาการ
สําคัญตอการพัฒนาทองถ่ิน ทําใหเรียนรูถึงตนทุน การจัดการเรียนการสอน การวิจัยของนักศึกษาและ
และศักยภาพชุมชน ซึ่งถือวาเปนเคร่ืองมือ อาจารยกับการพัฒนาทองถิ่น โดยมีเปาหมายเพื่อ
ชวยตัดสินใจในการวางแผนการพัฒนาใหสอดคลองกับ พัฒนาระบบฐานขอมูลตําบล ดําเนินงานพัฒนา
ปญหาและความตองการของชุมชนทองถิ่นได โดยมี เคร่ืองมือกระบวนการประเด็นดานขอมูลและ
การพัฒนาระบบขอมูล ในดานความทันสมัยของ รวบรวมขอมูล โดยใชเทคนิควิธีการบูรณาการ
ขอมูล การวิเคราะหเพื่อตอบสนองตอการใชงาน การจัดการเรียนการสอนกับรายวิชารวมกับนักศึกษา
รวมถึงการจัดการฐานขอมูล โดยการพัฒนา ในการเก็บรวบรวมขอมูล จากน้ันวิเคราะหและ
ฐานขอมูลตําบลจะสามารถเปนประโยชนตอ สังเคราะหเพ่ือจัดทําฐานขอมูล และสามารถนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ในพันธกิจตามยุทธศาสตร ขอมูลระดับตําบลไปใชในการดําเนินโครงการ
ดานการพัฒนาทองถ่ินของมหาวิทยาลัย ในมิติของ ยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาทองถ่ิน
ก า ร พั ฒ น า เ ชิ ง พื้ น ที่ บ น ฐ า น ส ภ า พ ก า ร ณ  แ ล ะ ตลอดจนคืนขอมูลใหกับชุมชนทองถิ่นนําไปใช
ฐานขอมูลชุมชน ซึ่งสามารถพัฒนาความรวมมือกับ ประโยชนในดา นการพัฒนาได
หนวยงานรัฐ ประชาชนในพื้นที่ระดับตําบล อําเภอ
และจังหวัดในการวางแผนพัฒนาเชิงพ้ืนที่ และ

16 ฐานขอŒ มูลตําบล ชุดองคค วามรŒู
ส‹ู คาํ ตอบการเสร�มสรŒางความเขมŒ แข็งชมุ ชน

โดยเปนกระบวนการการบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนของอาจารยและนักศึกษาในรายวิชา
ที่เกี่ยวของจากหลากหลายสาขาวิชาในคณะครุศาสตร สํานักวิชาสังคมศาสตร สํานักวิชาบริหารรัฐกิจ
สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักวิชาคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ และหนวยงานสนับสนุน
ของมหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย ดังแผนภาพ

การเรียนการสอน

การบรกิ ารวชิ าการ บรู ณาการ การวิจัย

ทํานบุ าํ รุงศลิ ปวัฒนธรรม

นกั ศึกษา อาจารย ชมุ ชนทŒองถนิ่
ภาคเี ครือข‹าย หนว‹ ยงานภาครัฐ

และเอกชน

ภาพที่ 2 การบูรณาการการเรยี นการสอนในรายวิชา

ซึ่งจะกอใหเกิดการพัฒนาขอมูลตําบล และการบูรณาการการเรียนการสอนในรายวิชา เกิดกิจกรรม
ที่ดําเนินการรวมระหวางอาจารยและนักศึกษา รวมถึงมีขอมูลตําบลท่ีสามารถนําไปใชประโยชน
ในการพัฒนาชุมชนทองถิ่นได และหนวยงานภาคีเครือขายตางๆ ท้ังภาครัฐ และองคกรพัฒนาเอกชน
สามารถเชอื่ มโยงกับฐานขอมูลของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงราย และนาํ ไปใชในการพัฒนาทองถิน่ ได

โครงการพฒั นาระบบขอŒ มลู ตาํ บลในจังหวัด ประจําปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 17
ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การพัฒนาทอŒ งถิ�น มหาวท� ยาลัยราชภัฏเชยี งราย

รายวชิ าทีบ่ รู ณาการการเรียนการสอน โครงการพฒั นาระบบขŒอมูลตําบลในจังหวดั

คณะ อาจารยผูŒสอน รายวชิ า

ครุศาสตร ผศ.ดร.รณดิ า ปงเมือง ESS3702 การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ
สงั คมศาสตร ผศ.ดร.นาวนิ พรมใจสา และสิ่งแวดลอ มไทย

บรหิ ารรฐั กจิ ผศ.ดร.ตองรัก จติ รบรรเทา OST3330 การสมั ภาษณเ ชงิ จิตวทิ ยา
การปรกึ ษา

อาจารยพิมทรัพย พมิ พิสทุ ธ์ิ SOC2201 แนวคดิ และทฤษฎีการจัดการ
ทรพั ยากรทางวัฒนธรรม

อาจารยว รญั ญา พรหมสาขา ณ สกลนคร SOC3103 ปญหาสงั คม

อาจารย ดร.เบญจมาศ เมืองเกษม SCD2102 หลกั การและกลยทุ ธก ารฝกอบรม
เพือ่ การพฒั นาสังคม

อาจารยณ รงค เจนใจ SCD3101 การวางแผนการพฒั นาสงั คม

ผศ.ดร.นาวนิ พรมใจสา SD3106 การระดมทุนเพอ่ื การพัฒนาสังคม

อาจารยจามรี พระสุนลิ SCD3103 จติ วทิ ยาสงั คม
SCD2606 การจดั การโครงการพัฒนา

อาจารยนพชัย ฟองอิสสระ

อาจารยท ิพวรรณ เมืองใจ

อาจารยทศพล พงษต ะ LG3805 เศรษฐกิจชุมชนกบั การพัฒนา
วิสาหกิจชุมชน

ผศ.ภูรพิ ฒั น แกว ศรี

การดําเนินงาน

กระบวนการดําเนินงานและผลการดําเนินงานของโครงการฯ เปนการแลกเปล่ียนเรียนรูระหวาง
อาจารย นกั ศึกษา และชุมชนทองถ่ินในพื้นท่ี 20 หมบู านของตําบลเวยี งชัย อาํ เภอเวียงชัย จังหวดั เชียงราย
และ 11 หมูบานในตําบลเชียงบาน อําเภอเชียงคาํ จังหวดั พะเยา ซ่ึงขอมลู ตา งๆ ในชมุ ชนน้ี ในกระบวนการ
ทํางานของโครงการฯ ไดเร่ิมต้ังแตการวางแผนเพื่อการพัฒนาการเก็บรวบรวมขอมูลอยางเปนระบบ
ถูกตอ ง มคี วามนา เช่ือถอื และสามารถเกิดการแลกเปลี่ยนเรยี นรไู ปพรอมๆ กนั ภายใตแนวคิดของกรมการ
พฒั นาชมุ ชน

18 ฐานขอŒ มูลตาํ บล ชุดองคค วามรูŒ
ส‹ู คาํ ตอบการเสร�มสรŒางความเขŒมแข็งชุมชน

ในระยะเริ่มตนของโครงการ ระบบขอมูลตําบลในจังหวัดจะเปนการพัฒนาอาจารยและนักศึกษา
รวมกับการวางแผนในดานการพฒั นาระบบขอ มูล โดยใชท รัพยากรหรือทนุ ของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งราย
ในดา นการบรู ณาการศาสตรต า งๆ ทางดานสังคมศาสตร ครุศาสตร เทคโนโลยีคอมพิวเตอร การบรหิ ารรัฐกจิ
วิทยาศาสตรสุขภาพ และหนวยงานสนับสนุนตางๆ เชน กองนโยบายและแผน สถาบันวิจัยและพัฒนา
กองอาคารสถานที่ และหอปรัญารัชกาลที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เปนตน เพ่ือเปน
กิจกรรมท่ีกอใหเกิดการพัฒนาระบบฐานขอมูลตําบลในจังหวัดรวมกัน การออกแบบการดําเนินงานรวมกัน
การวางแผนพัฒนาเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลรวมกัน และกิจกรรมการฝกอบรมอาจารยและนักศึกษา
จากหลากหลายสาขาวิชา ท่ีมีการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีเก่ียวของประจําปการศึกษา 2562
ในลักษณะกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพรอมรวบรวมขอมูลในโครงการระบบขอมูลตําบล
ในจงั หวัด

ดับ ุคณภาพการศึกษา การ ัพฒนาทอ งถนิ่ การผลิตและพฒั นาครู การพัฒนาระบบบริ

หารจัดการ การยกระ การดาํ เนินการโครงการพฒั นา
ระบบขŒอมูลตาํ บลในจังหวดั

ตนŒ ทาง กลางทาง

START กจิ ก1รรม กจิ ก2รรม การลงพืน้ ท่ี เพอ่ื รวบรวมขอŒ มูลการจดั
การประชมุ การประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ ร‹วมมือจดั ทาํ ระบบบันทึกขŒอมูลตําบล การจัดเวที
วางแผนและ ระบบบนั ทกึ ขŒอมูลกรอบตัวช้วี ัดขŒอมลู ตรวจสอบขŒอมูล และคนื ขอŒ มูลชมุ ชน
กําหนดตวั ช้ีวัด พืน้ ฐานชุมชน และเทคนคิ วิธีการรวบรวมขอŒ มลู ในพน้ื ท่ี
และผลลัพธของ
โครงการ

ลงพืน้ ที่ประสานงานกลุม‹ ชุมชนเป‡าหมาย
และลงพื้นทีเ่ พ่ือช้แี จงโครงการ
การจดั ประชุมวางแผนดําเนินการ
โครงการพัฒนาระบบขŒอมูลตําบลในจังหวัด

โครงการพฒั นาระบบขอŒ มูลตาํ บลในจงั หวัด ประจําปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 19
ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาทอŒ งถนิ� มหาว�ทยาลยั ราชภฏั เชียงราย

ซ่ึงเปรียบไดกบั การเปน ตนทาง ของโครงการ ในจังหวัด โดยเปนการประชุมเชิงปฏิบัติการของ
ที่มีกิจกรรมการดําเนินการตางๆ ไดแก กิจกรรม ผูมีสวนไดสวนเสีย ไดแกคณะกรรมการดําเนินงาน
การวางแผนดําเนินการโครงการพัฒนาระบบขอมูลตําบล ผูเช่ยี วชาญดานระบบขอ มูล ตวั แทนอาจารย นักศึกษา
ในจงั หวัด โดยเปน การประชุมวางแผน คณะกรรมการ และแกนนําชุมชนพ้ืนที่เปาหมาย ในการรวมมือ
ดําเนนิ งาน ตัวแทนคณาจารยและนักศึกษา ในรายวิชา จัดทําระบบบันทึกขอมูล และกรอบตัวชี้วัดขอมูล
ท่เี กย่ี วของ และคาดวา จะบูรณาการการเรยี นการสอน พ้ืนฐานชุมชนในตําบลเวียงชัย อําเภอเวียงชัย
กับกิจกรรมในปการศกึ ษา กิจกรรมการประสานงาน จงั หวัดเชยี งราย และตําบลเชียงบาน อาํ เภอเชยี งคํา
กลุมชุมชนเปาหมายและลงพื้นท่ีเพ่ือช้ีแจงโครงการ จังหวัดพะเยา
และกิจกรรมการดําเนินการเพื่อพัฒนาระบบขอมูลตําบล

ภาพที่ 3 แสดงกระบวนการดาํ เนนิ งานของโครงการฯ

ปลายทาง

กิจก3รรม ผลลัพธ
การดําเนินงาน

การนาํ เสนอผลการดาํ เนนิ งานการพฒั นาระบบ การนําเสนอผลการดาํ เนนิ งานการพัฒนา
ขอŒ มูลตาํ บลในจังหวดั ต‹อชุมชน ทŒองถน่ิ พน้ื ท่ี ระบบขŒอมูลตําบลในจงั หวัดตอ‹ ภาครัฐ
เพ่อื นาํ ไปใชŒประโยชน ระดับจงั หวัด ของจังหวัดเชยี งราย
และจังหวดั พะเยาเพอ่ื นาํ ไปใชปŒ ระโยชน

20 ฐานขŒอมลู ตาํ บล ชุดองคความรŒู
ส‹ู คาํ ตอบการเสรม� สราŒ งความเขมŒ แขง็ ชุมชน

โครงการพัฒนาระบบขอŒ มลู ตําบลในจังหวดั ประจําปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 21
ยุทธศาสตรท ี่ 1 การพัฒนาทŒองถ�นิ มหาว�ทยาลยั ราชภัฏเชยี งราย

ภาพประกอบ กจิ กรรมวางแผนการดาํ เนินการเพ่ือพัฒนาระบบขŒอมูลตาํ บลในจังหวัด
การพัฒนาทกั ษะนักศกึ ษาและอาจารยในการร‹วมมือจัดทาํ ระบบบนั ทกึ ขŒอมลู
กระบวนการรวบรวมขŒอมูลและศกึ ษาชมุ ชน และสราŒ งกรอบตวั ช้วี ดั ขอŒ มูลพืน้ ฐานชมุ ชนรว‹ มกนั

22 ฐานขŒอมลู ตาํ บล ชุดองคความรŒู
ส‹ู คาํ ตอบการเสรม� สราŒ งความเขมŒ แขง็ ชุมชน

โครงการพัฒนาระบบขŒอมลู ตาํ บลในจังหวดั ประจําป‚งบประมาณ พ.ศ. 2563 23
ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การพฒั นาทŒองถิ�น มหาว�ทยาลยั ราชภฏั เชยี งราย

ภาพประกอบ กิจกรรมวางแผนการดําเนินการเพือ่ พฒั นาระบบขอŒ มูลตําบลในจงั หวัด
การพัฒนาทักษะนกั ศกึ ษาและอาจารยใ นการรว‹ มมอื จัดทําระบบบันทึกขŒอมูล
กระบวนการรวบรวมขอŒ มลู และศึกษาชุมชน และสรŒางกรอบตวั ชีว้ ัดขอŒ มูลพนื้ ฐานชมุ ชนรว‹ มกนั

24 ฐานขŒอมลู ตําบล ชดุ องคค วามรูŒ
สู‹ คําตอบการเสร�มสราŒ งความเขŒมแขง็ ชุมชน

และในระยะท่ี 2 เปน กระบวนการสรา งเครอื ขา ย การใหค วามหมาย และการใชประโยชนเชิงสาธารณะ
ความรวมมือทางดานบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย ของสถานทสี่ าํ คญั ตางๆ ในระดับหมบู าน ดานภูมิศาสตรสงั คม
ราชภัฏเชียงรายและหนวยงานในพ้ืนที่ศึกษา ตั้งแต หรือดานสังคมวฒั นธรรม ท่แี สดงใหเห็นถึงสภาพการณ
ร ะ ดั บ ห น  ว ย ง า น ป ก ค ร อ ง ภ า ค รั ฐ ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด ปจ จบุ นั ของชุมชน เกย่ี วกบั สังคมวัฒนธรรม กลมุ องคกร
ในจังหวัดเชียงรายและจังหวัดพะเยา หนวยงานภาครัฐ ในชุมชน กลุมชาติพันธุของประชาชนในพ้ืนท่ี
ระดบั อาํ เภอ ในพน้ื ทอ่ี ําเภอเวียงชัย จังหวดั เชียงราย กิจกรรมทางบญุ ประเพณี ในระยะเวลาตา งๆ ของรอบป
และอาํ เภอเชยี งคํา จังหวัดพะเยา รวมถึงภาคีเครอื ขา ย ในแตละหมูบานท่ีศึกษา ดานเศรษฐกิจ ชุมชน เปน
ความรวมมือในกระบวนการเก็บรวบรวมขอมูล กระบวนการรวบรวมขอมูลทางดา นเศรษฐกิจ ไดแก
และพัฒนาระบบฐานขอมูลตําบลในจังหวัดรวมกัน อาชีพหลกั ของคนในชมุ ชน อาชีพเสริม และแหลง ที่มา
ขององคกรปกครองสวนทองถ่นิ ในพืน้ ทศ่ี กึ ษา 31 หมูบา น ของรายได เพอ่ื สามารถนํามาวิเคราะหทุนหรอื ปจ จยั
2 ตําบล 2 จังหวัดไดแก 1) องคการบริหาร ทางเศรษฐกจิ ของชมุ ชน ทีเ่ ชื่อมโยงกบั การรวบรวมขอมูล
สว นตาํ บลเชียงบาน ตําบลเชยี งบาน อาํ เภอเชียงคํา ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในชุมชน
จังหวัดพะเยา 2) เทศบาลตําบลสิริเวียงชัย ดานสุขภาพและสาธารณสุขชุมชน ในโครงการ
ตําบลเวยี งชยั อาํ เภอเวยี งชัย จังหวดั เชยี งราย และ ระบบขอ มูลตาํ บลในจังหวดั มีการรวบรวมขอมูลพ้ืนฐาน
3) เทศบาลตาํ บลเวยี งชยั อาํ เภอเวียงชัย จงั หวดั เชยี งราย ดา นสขุ ภาพชมุ ชน โดยวเิ คราะหถ ึงรปู แบบการดแู ลตนเอง
รวมถึงภาคีเครือขายความรวมมือสําคัญผูนําชุมชน ของประชาชน ลักษณะและระบบสุขภาพชุมชน
ผูนําตามธรรมชาติ ตัวแทนหนวยงานองคกรชุมชนตางๆ ในพนื้ ทศ่ี กึ ษาระดับหมบู า น เชน เปน การดแู ลสขุ ภาพ
เชน กลุมวิสาหกิจชุมชน โรงพยาบาลสงเสริม ในลักษณะระบบสุขภาพแบบดงั้ เดิม หรือแพทยพ ้ืนบาน
สุขภาพตําบล กลุม อสม. กลุมสตรี ในพื้นท่ีท้ัง หรือชุมชนเนนการดูแลสุขภาพในลักษณะเปนระบบ
31 หมูบา น ซึง่ การรวบรวมขอมลู มีกิจกรรมสําคญั ทางการแพทยสมยั ใหม ซ่ึงจะมกี ารลงลึกในรายละเอียด
ทดี่ าํ เนนิ การระหวางนกั ศกึ ษา อาจารย มหาวิทยาลยั การรวบรวมขอมูลที่เชื่อมโยงกับโครงการสงเสริม
ราชภัฏเชียงราย และผูใหขอมูลหลักภาคีเครือขาย การสรางความสุขมวลรวมของชุมชน ซึ่งดําเนินการ
ที่เปน ตัวแทนจากชมุ ชน และหนวยงานดังทก่ี ลาวมาแลว เกยี่ วกับสุขภาพชมุ ชนในมิติของสขุ ภาวะไดแก กาย ใจ
ไดรวมกันรวบรวมขอมูลพ้ืนฐานหมูบาน เพ่ือจัดทํา สงั คม และสภาวะทางปญ ญาหรือจิตวญิ ญาณของชมุ ชน
ฐานขอมูลระดับตําบล ใน 5 มิติ คือ ขอมูล โดยมีการประเมินระดับของความสุขมวลรวม
เชิงกายภาพ ดานภูมิศาสตรสังคมหรือดานสังคม ในระดับหมูบานท้ัง 2 ตําบลในพื้นที่ศึกษา ภายใต
วัฒนธรรม ดานเศรษฐกิจชุมชน ดานสุขภาพ โครงการของยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาทองถิ่น
และสาธารณสุขชุมชน ดานทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย ป พ.ศ. 2563 เชนเดยี วกัน
และส่งิ แวดลอ มชมุ ชน และการศึกษาชุมชนในมติ สิ ดุ ทาย ไดแก การรวบรวม
ขอมูลชุมชนดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เพ่ือสงตอในกระบวนการรวบรวมขอมูล โดยมีการออกแบบเครื่องมือรวบรวมขอมูลชุมชน
หรือระยะ กลางทาง ของการดําเนินการโครงการฯ เก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติในพื้นท่ี ระดับหมูบาน
ท่ีเปนกิจกรรมการรวบรวมขอมูล ในโครงการ การจัดการทรัพยากร เชน ปาชุมชน แหลงนํ้า
พัฒนาระบบขอมูลตําบลในจังหวัด โดยดําเนินการ ในพน้ื ทห่ี มบู า น เพื่อรวบรวมเปนฐานขอมูลระดบั ตาํ บล
ตามข้ันตอน 1) การพัฒนาเคร่ืองมือและทดลองใช และในมิติของการจัดการส่ิงแวดลอม มีท้ังเรื่องของ
2) การรวบรวมขอมูล 3) การสังเคราะหและ การจัดการสิ่งแวดลอมชุมชนโดยชุมชนเอง และ
ตรวจสอบขอมูล และ 4) การวิเคราะหและจดั ระบบ กิจกรรมสําคัญดานการพัฒนาหรือจัดการเกี่ยวกับ
ขอมลู เพือ่ พฒั นาเปน ฐานขอมูลชุมชน ส่ิงแวดลอมที่สนับสนุนโดยหนวยงานภาครัฐ หรือ
องคก รพัฒนาเอกชนในพน้ื ที่
ดานการรวบรวมขอมูลเชิงกายภาพของพ้ืนที่ศึกษา
ทางดานสภาพภูมิศาสตร ท่ีต้ัง สถานที่สําคัญ

โครงการพฒั นาระบบขอŒ มูลตาํ บลในจงั หวดั ประจําปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 25
ยุทธศาสตรที่ 1 การพฒั นาทŒองถ�นิ มหาว�ทยาลยั ราชภฏั เชียงราย

จากนั้น จะเปนกจิ กรรมการลงพน้ื ทภี่ าคสนาม อําเภอเชียงคาํ จังหวดั พะเยา ท่ีไดอ นุเคราะหส ถานท่ี
เพ่ือการรวบรวมขอมูลชุมชน โดยมีการจัดเวทีชุมชน ในเวทีชุมชนเพอื่ ชีแ้ จงวตั ถปุ ระสงคข องโครงการคร้ังนี้
เพ่ือชี้แจงแนวทางการรวบรวมขอมูลอีกครั้งและ และทําความเขาใจเก่ียวกับรูปแบบกระบวนการ
เปนการเสวนากลุมอยางมีสวนรวมเพื่อรวมวิเคราะห การรวบรวมขอมูลชมุ ชนในโครงการระบบขอ มลู ตําบล
ศกั ยภาพของชุมชน ในตําบลเชยี งบาน อําเภอเชยี งคาํ ในจังหวัด ตลอดจนพิจารณาความรวมมือและ
จังหวัดพะเยา และตําบลเวียงชัย อําเภอเวียงชัย การแลกเปลี่ยนเรียนรูเชิงวิชาการและมหาวิทยาลัย
จังหวัดเชียงราย ไดมีการดําเนินงานรวบรวมขอมูล ราชภัฏเชียงรายในฐานะพี่เล้ียงของชุมชนเพื่อสราง
ในพนื้ ที่ระดบั หมบู า นกอ นจะนาํ มาจดั ระบบเปน ฐานขอมูล การพัฒนาสูการมีคุณภาพชีวิตท่ีดีของชุมชนตอไป
ระดับตําบล โดยคณะกรรมการโครงการระบบ และในพ้ืนที่ตาํ บลเวียงชัย อาํ เภอเวยี งชยั จงั หวัดเชียงราย
ขอมูลตําบลในจังหวัดเปนผูประสานงานกับหนวยงาน ไดดําเนินการในลักษณะเดียวกันกับพื้นที่ของ
ภาครัฐระดับอําเภอในอําเภอเวยี งชัย จงั หวัดเชยี งราย ตํ า บ ล เ ชี ย ง บ า น แ ต  ใ น พื้ น ท่ี ตํ า บ ล เ วี ย ง ชั ย
และอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา ตอเนื่องจาก มีองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2 องคกรดวยกัน
การดําเนินงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายท่ีได ไดแก เทศบาลตําบลสิริเวียงชัยรับผิดชอบในพื้นที่
ประสานงานกับหนวยงานภาครัฐระดับจังหวัดเชียงราย จํานวน 14 หมูบานของตําบลเวียงชัยและเทศบาล
และจังหวัดพะเยาในชวงเดอื นกันยายน พ.ศ. 2562 ตําบลเวยี งชยั รบั ผดิ ชอบในพนื้ ทจี่ ํานวน 6 หมูบา น
จากนั้นในกระบวนการลงพ้ืนที่ภาคสนามไดเขาไป ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค รั้ ง แ ร ก ใ น เ ว ที ชุ ม ช น เ พ่ื อ ช้ี แ จ ง
ดําเนินการในสถานท่ีขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน วัตถุประสงคของโครงการตลอดจนสรางขอตกลง
ไดแก ในพ้ืนท่ีตําบลเชียงบาน อําเภอเชียงคํา ภาคีเครือขายการดําเนินงานรวมกัน เพ่ือพัฒนา
จังหวัดพะเยา คณะกรรมการดําเนนิ โครงการรว มกับ ชุมชนทองถิ่นและสงเสริมในดานการแลกเปลี่ยน
อาจารยประจํารายวิชาที่เกี่ยวของ และบูรณาการ เรียนรูเชิงวิชาการและการเรียนรูเชิงประสบการณ
รวมกับการจัดการเรียนการสอน ในภาคเรียนที่ 2 ของอาจารยและนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ปการศกึ ษา 2562 ไดลงพ้นื ทป่ี ระชุมครั้งที่ 1 เพือ่ ชแ้ี จง กับชุมชนพ้ืนที่ตําบลเวียงชัยน้ีไดดําเนินการที่หองประชุม
กับกลุมผูนําชุมชนไดแก ตัวแทนองคการบริหาร ของเทศบาลตําบลสิริเวียงชัย โดยไดเชิญนายกเทศมนตรี
สวนตําบลเชียงบาน ตัวแทนหนวยงานภาครัฐคือ ตําบลเวียงชัย นําคณะการทํางานผูท่ีมีสวนเกี่ยวของกับ
พัฒนาการอําเภอเชียงคําและพัฒนากรผูดูแลรับผิดชอบ กจิ กรรมตางๆ ในการพฒั นาชุมชนทอ งถ่นิ มารว มประชมุ
ในพื้นท่ีตําบลเชียงบาน ตัวแทนองคกรหรือ ในคร้ังนี้ โดยประกอบไปดวยภาคสวนการพัฒนาชุมชน
หนวยงานตางๆ ท่ีเกยี่ วของในพืน้ ทไ่ี ดแ กสว นงานวัฒนธรรม การวิเคราะหนโยบายและแผน การสาธารณสุข
สวนงานพฒั นาชุมชน สว นงานการจัดการศกึ ษา และ การศึกษาและดานวฒั นธรรม รวมกับ กลุมองคก รชมุ ชน
สว นงานสาธารณสขุ ขององคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลเชยี งคาํ กลุมวิสาหกิจชุมชนในพื้นท่ีและผูนําที่เปนทางการ
รวมถึงตัวแทนกลุมองคกรชาวบานในระดับตําบล ไดแก ผูใหญบานทั้ง 20 หมูบานของตําบลเวียงชัย
ไดแก ประธานกลุมผูสูงอายุ ประธานกลุมสตรี อําเภอเวียงชัย จงั หวดั เชยี งราย ในสวนของกระบวนการ
แมบ า น ตาํ บลเชยี งบาน ตัวแทนจากการจัดการศกึ ษา ลงชุมชนไดเกิดข้ึนหลังจากการลงพื้นที่ประสานงาน
ตามอัธยาศัย (กศน.) ประธานและตัวแทนอาสาสมัคร และประชุมกบั ตัวแทนของชมุ ชนทอ งถนิ่ ในท้ัง 2 พื้นที่
สาธารณสุขมลู ฐานระดับหมูบา น (อสม.) ผูนําชุมชน ระดบั ตาํ บลขางตน และในการรวบรวมขอมลู พน้ื ฐาน
ตวั แทนกลุมวสิ าหกจิ ชมุ ชน กลุมทอผาไทลื้อบา นทงุ มอก ดําเนินการรวบรวมในระดับหมูบาน ซ่ึงใหนักศึกษา
กลุมเกษตรอินทรีย และผูนําชุมชนท่ีเปนทางการ เปนกลไกสําคัญในการทําหนาที่ และมีบทบาท
ไดแกผูใหญบานท้ัง 11 หมูบานในตําบลเชียงบาน เปนผูร วบรวมขอ มลู ชมุ ชน (รวมกับอาจารยทปี่ รึกษา
อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา โดยการนําของกํานัน ในรายวิชาตางๆ ท่ีเกี่ยวของและบูรณาการจัดการเรียน
ตําบลเชียงบานและนายกองคการบริหารสวนตําบลเชียงบาน การสอน ตลอดจนแลกเปล่ียนเชิงสหวิทยาการ)

26 ฐานขŒอมูลตําบล ชุดองคค วามรŒู
สู‹ คาํ ตอบการเสร�มสรŒางความเขŒมแข็งชมุ ชน

ดวยวิธีการสัมภาษณ สนทนากลุมผานเคร่ืองมือ
รวบรวมชุมชนท่ีพัฒนารวมกันในระยะของการวางแผน
โครงการทั้ง 5 ดา นทไี่ ดกลาวมาแลว โดยดาํ เนินการ
ลงพ้ืนท่ีรวบรวมขอมูลชุมชน ตั้งแตวันท่ี 30
พฤศจกิ ายน 2562 จนถึงวนั ท่ี 29 กุมภาพนั ธ 2563
โดยดําเนินการท้ังสองพ้ืนท่ีในครั้งแรกเริ่มตน
ที่ตําบลเชียงบาน อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา
โดยจัดกิจกรรมในลักษณะเวทีชุมชนเพ่ือการวิเคราะห
ศักยภาพของชุมชน ที่ศูนยการเรียนรูตลาดชุมชน
องคก ารบรหิ ารสวนตาํ บลเชียงบาน เปนการเปดพ้นื ที่
คร้ังแรกกอนท่ีจะใหนักศึกษาลงพื้นท่ีภาคสนาม
ในระดับหมูบานรวมกับตัวแทนประชาชนและ
ผนู ําชมุ ชนตอไป สวนท่ีตําบลเวียงชัย อําเภอเวยี งชัย
จังหวัดเชียงรายน้ัน ไดจัดเวทีชุมชนเพ่ือพัฒนา
วิเคราะหศักยภาพของชุมชนเปนคร้ังแรกที่โรงเรียน
อนุบาลเวยี งชัย อยูในพื้นท่ีของหมทู ่ี 11 ตาํ บลเวยี งชยั
อาํ เภอเวียงชัย จงั หวัดเชียงราย เปน การเปดเวทีชมุ ชน
คร้ังแรกรว มกับผูน ําชมุ ชน ไดแ ก ผูใหญบา น ผูชว ย
ผูใหญบาน สมาชิกเทศบาลหรือแกนนํากลุมตางๆ
ไดเปนผูพานักศึกษาในการลงพ้ืนที่รวบรวมขอมูล
ชุมชนภาคสนาม

โครงการพฒั นาระบบขอŒ มูลตาํ บลในจังหวัด ประจาํ ปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 27
ยุทธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาทŒองถิ�น มหาวท� ยาลยั ราชภัฏเชียงราย

ภาพประกอบ การรวบรวมขอŒ มูลในพืน้ ทต่ี าํ บลเวียงชยั อําเภอเวยี งชัย จงั หวัดเชยี งราย

28 ฐานขŒอมลู ตาํ บล ชุดองคความรŒู
ส‹ู คาํ ตอบการเสรม� สราŒ งความเขมŒ แขง็ ชุมชน

โครงการพัฒนาระบบขอŒ มลู ตาํ บลในจงั หวัด ประจาํ ปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 29
ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพัฒนาทอŒ งถน�ิ มหาว�ทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ภาพประกอบ การรวบรวมขŒอมลู ในพื้นทตี่ าํ บลเชียงบาน อาํ เภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา

30 ฐานขŒอมลู ตาํ บล ชุดองคความรŒู
ส‹ู คาํ ตอบการเสรม� สราŒ งความเขมŒ แขง็ ชุมชน

โครงการพัฒนาระบบขŒอมูลตาํ บลในจังหวัด ประจาํ ป‚งบประมาณ พ.ศ. 2563 31
ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาทŒองถน�ิ มหาวท� ยาลยั ราชภัฏเชยี งราย

ภาพประกอบ การตรวจสอบและคืนขอŒ มลู ระดบั หม‹ูบŒาน กิจกรรมรวบรวมขอŒ มลู ในพ้ืนท่ี
ตาํ บลเชยี งบาน อาํ เภอเชียงคํา จงั หวดั พะเยา

32 ฐานขอŒ มลู ตาํ บล ชดุ องคค วามรูŒ
ส‹ู คาํ ตอบการเสร�มสรŒางความเขมŒ แข็งชมุ ชน

โดยหลังจากการรวบรวมขอมูลและวิเคราะห Œดานเศรษฐกิจการบูรณาการฯ ดาŒ นสิ่งแวดลอŒ ม
ขอมูลแลว ในสวน ปลายทาง ของการดําเนินงาน
โครงการจะมีการประชุมถอดบทเรียนของการดําเนินงาน ดาŒ นสังคมวัฒนธรรม
พัฒนาระบบขอมูลตําบล และมีกิจกรรมการสรุป
ประเด็นฐานขอมูล และคืนขอมูลตอสวนราชการ
ในจังหวัดเชียงราย และจังหวัดพะเยา เพื่อสามารถ
นําไปใชในการดําเนินโครงการยุทธศาสตรมหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพ่ือการพัฒนาทองถิ่น และสงเสริมพัฒนา
ชุมชนพ้ืนที่ทองถ่ินในดานตางๆ โดยสามารถนํา
ศาสตรพระราชามาประยุกตใชในการแกไขปญหา
ใหกับชุมชนภายใตสถานการณและบริบทของพื้นท่ี
ทเ่ี กดิ จากการจดั เกบ็ รวบรวมขอมลู อยา งเปน รูปธรรม

ภาพท่ี 4 สรุปกระบวนการทาํ งาน

โครงการพัฒนาระบบขŒอมลู ตําบลในจงั หวัด ประจําปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 33
ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพฒั นาทอŒ งถ�นิ มหาว�ทยาลยั ราชภัฏเชียงราย

กระบวนการดําเนนิ งาน

การประยุกตใชŒในรายวชิ า
อาจารย บคุ ลากรและนักศึกษา

คณะกรรมการดําเนนิ งาน = ภาครัฐ
หน‹วยงาน = อปท.

ผŒนู ํา/ประชาชน

มหาวทิ ยาลัย ชมุ ชน/ทอŒ งถนิ่

อาจารย/ บุคลากร นกั ศึกษา • การประสานงาน • การสงั เคราะห • การนําเสนอ
ชุมชน • ตรวจสอบ • การนาํ ขŒอมูล
• พัฒนากรอบ • การทดสอบ • การจัดการ ไปใชปŒ ระโยชน
ตัวชวี้ ัดขอŒ มูล เครื่องมอื และ ฐานขŒอมลู ของชมุ ชน
• การวางแผน รวบรวมขอŒ มลู
• รายวิชา 3 4
ท่เี กย่ี วขŒอง 2

1

ระบบฐานขอŒ มลู ชมุ ชน

ผลการดาํ เนนิ งาน

กิจกรรมการประชมุ ถอดบทเรยี นของการดําเนินงานพฒั นาระบบขŒอมลู ตําบล
เพอื่ สามารถนาํ ไปใชŒในการดาํ เนนิ โครงการยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยราชภฏั
เพื่อการพัฒนาทอŒ งถนิ่

34 ฐานขŒอมูลตําบล ชดุ องคค วามรูŒ
สู‹ คาํ ตอบการเสรม� สราŒ งความเขŒมแขง็ ชุมชน

เครอ่ื งมอื การรวบรวมขŒอมูล เนนการดูแลสุขภาพในลักษณะเปนระบบทางการแพทย
สมัยใหมซ่ึงจะมีการลงลึกในรายละเอียดการรวบรวม
ประกอบไปดวยการดําเนินงานพัฒนาเคร่ืองมือ ขอมูลที่เชื่อมโยงกับโครงการสงเสริมการสรางความสุข
รวบรวมขอ มูลรว มกันในกจิ กรรมการวางแผนดําเนนิ การ มวลรวมของชุมชน ซึ่งดําเนินการเก่ียวกับสุขภาพชุมชน
โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ข  อ มู ล ตํ า บ ล ใ น จั ง ห วั ด ในมิตขิ องสขุ ภาวะ ไดแ ก กาย ใจ สงั คม และสภาวะ
โดยเปน การประชุมวางแผน คณะกรรมการดาํ เนินงาน ทางปญญาหรือจิตวิญญาณของชุมชน โดยมกี ารประเมิน
ตัวแทนคณาจารยและนักศึกษาในรายวิชาที่เกี่ยวของ ระดบั ของความสุขมวลรวมในระดบั หมูบานทงั้ 2 ตาํ บล
และบรู ณาการการเรียนการสอนกับกจิ กรรม รวมถึง ในพ้ืนท่ีศึกษาภายใตโครงการของยุทธศาสตรที่ 1
การประชุมเชิงปฏิบัติการของผูมีสวนไดสวนเสีย การพัฒนาทองถ่ินมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ไดแก คณะกรรมการดําเนินงาน วิทยากรผูเ ชยี่ วชาญ ป พ.ศ. 2563 เชน เดียวกนั
ดานระบบขอ มูลและการจัดเก็บขอมลู ตัวแทนอาจารย
นกั ศกึ ษา และตัวแทนชุมชนพืน้ ท่เี ปาหมาย ในการรว มมอื 5. ดา นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม
จัดทําระบบบันทึกขอมูล และกรอบตัวชี้วัดขอมูล โดยมีการออกแบบเคร่ืองมือรวบรวมขอมูลชุมชน
พ้ืนฐานชุมชนในตําบลเวียงชัย อําเภอเวียงชัย เก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติในพื้นท่ีระดับหมูบาน
จังหวดั เชยี งราย และตําบลเชียงบาน อําเภอเชยี งคาํ การจัดการทรัพยากร เชน ปาชุมชน แหลงนํ้า
จังหวัดพะเยา ไดเคร่ืองมือรวบรวมขอมูล 5 ดาน ในพืน้ ท่ีหมบู า น เพอ่ื รวบรวมเปน ฐานขอมลู ระดับตําบล
และขอ เสนอแนะดังน้ี และในมิติของการจัดการสิ่งแวดลอม มีท้ังเร่ือง
ของการจัดการสิ่งแวดลอมชุมชนโดยชุมชนเอง และ
1. ขอมูลเชิงกายภาพของพื้นท่ีศึกษา กิจกรรมสําคัญดานการพัฒนาหรือจัดการเกี่ยวกับ
ทางดานสภาพภูมิศาสตร ที่ต้ังสถานท่ีสําคัญ สิ่งแวดลอมที่สนับสนุนโดยหนวยงานภาครัฐ หรือ
การใหความหมาย และการใชประโยชนเชิงสาธารณะ องคกรพัฒนาเอกชนในพ้นื ท่ี
ของสถานท่ีสาํ คัญตางๆ ในระดับหมูบาน
6. ขอ เสนอแนะที่มกี ารระบจุ ุดเดน ปญ หา
2. ดานภูมิศาสตรสังคมหรือดานสังคม และความตองการของชุมชน (การวิเคราะห
วัฒนธรรมที่แสดงใหเห็นถึงสภาพการณปจจุบัน ศกั ยภาพชุมชน)
ของชุมชน เก่ียวกับสังคมวัฒนธรรมกลุมองคกร
ในชุมชน กลุมชาติพันธุของประชาชนในพื้นที่ การนําเสนอ คืนกลับขŒอมูล ใหŒชุมชนนําไป
กิจกรรมทางบญุ ประเพณี ในระยะเวลาตา งๆ ของรอบป ใชŒประโยชน
ในแตล ะหมูบา นท่ีศกึ ษา
การตรวจสอบ และนําเสนอขอ มลู คืนขอ มลู ชุมชน
3. ดา นเศรษฐกจิ ชมุ ชน เปนกระบวนการ ใหชุมชนนําไปใชประโยชน เปนการเล็งเห็นโอกาส
รวบรวมขอมูลทางดานเศรษฐกิจ ไดแก อาชีพหลัก ในการพัฒนาจากขอมูลของนักศึกษาและอาจารย
ของคนในชุมชน อาชีพเสริมและแหลงท่ีมาของรายได ในโครงการระบบขอ มลู ตําบลในจงั หวดั เพื่อสามารถ
เพ่ือสามารถนํามาวิเคราะหทุนหรือปจจัยทางเศรษฐกิจ นําขอมูลในระดับหมูบานน้ีไปใชในการพัฒนาดานตางๆ
ของชุมชน ที่เชื่อมโยงกับการรวบรวมขอมูล ตามความรูความสามารถและความถนัดของชุมชนทองถ่ิน
ดา นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมในชมุ ชน รวมกับการสงเสริมจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ซง่ึ จะกอ ใหเกิดการพฒั นาทเ่ี ปนรูปธรรม ไดแก เปน หมูบ าน
4. ดานสุขภาพและสาธารณสุขชุมชน ที่มีความพรอมในการพัฒนา อันประกอบไปดวย
ในโครงการระบบขอมูลตําบลในจังหวัดมีการรวบรวม ภาวะผูนํา ทุนชุมชน ระบบความรูในชุมชน
ขอมูลพื้นฐานดานสุขภาพชุมชน โดยวิเคราะหถึง เครอื ขายทางสังคม ท่จี ะสามารถสรางชุมชนใหเขมแข็งได
รูปแบบการดูแลตนเองของประชาชน ลักษณะและ และตอยอดการเปนหมูบานที่พัฒนาตามยุทธศาสตร
ระบบสุขภาพชุมชน ในพ้ืนท่ีศึกษาระดับหมูบาน
เชน เปนการดูแลสุขภาพในลักษณะระบบสุขภาพ
แบบด้ังเดิม หรือแพทยพื้นบานหรือชุมชน

โครงการพฒั นาระบบขอŒ มูลตาํ บลในจงั หวัด ประจาํ ป‚งบประมาณ พ.ศ. 2563 35
ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาทอŒ งถิน� มหาวท� ยาลัยราชภฏั เชยี งราย

ของทองถนิ่ ของจังหวดั และของชาติ โดยถอื เปน พน้ื ที่ สังคมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
สรางโอกาสในการทํางาน ในลักษณะการบูรณาการศาสตร โ ค ร ง ก า ร ส  ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า ว ะ ชุ ม ช น เ พื่ อ วั ด ดั ช นี
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย อยางสมดุลและ วดั ความสุขมวลรวมชมุ ชน โครงการสงเสริมคุณภาพชีวติ
ตอยอดผลิตภัณฑทางดานเศรษฐกิจสังคมและ ของประชาชน โครงการพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน
ส่ิ ง แ ว ด ล  อ ม ใ น ชุ ม ช น สู  ม า ต ร ฐ า น บ น ป รั ช ญ า และโครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรูดานการอาน
เศรษฐกิจพอเพียง และชุมชนแหงการเรียนรู การเขียนและการวิเคราะหของนักเรียนในระดับ
โดยในกระบวนการทํางานของโครงการฯ เริ่มตน การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซึ่งเปน 6 โครงการ
จากการจัดกิจกรรมตางๆ ท่ีเปนผลลัพธของ ภายใตพันธกิจของเปาหมายการเปนมหาวิทยาลัย
กระบวนการวางแผน การคัดเลือกพื้นท่ีหมูบานเปา หมาย เพื่อการพฒั นาทอ งถ่นิ
การสรางความรวมมือขอตกลงกับพ้ืนท่ี การพัฒนา
หลกั สตู รกระบวนการในการรวบรวมขอ มลู เพอ่ื จดั ทาํ การถอดสรุปบทเรยี นการดาํ เนินงาน
เปนระบบขอมูลตําบลในจังหวัด การบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอน จนไดมาซึ่งฐานขอมูล 1. ไดฐานขอมูลตําบลเพื่อการจัดระบบฐานขอมูล
และเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูเพื่อการพัฒนาทองถ่ิน ในพ้ืนทีต่ ําบลเชียงบาน อําเภอเชียงคาํ จงั หวดั พะเยา
จากนั้นมีการแลกเปล่ียนเรียนรูจากการศึกษาขอมูลชุมชน และตําบลเวยี งชยั อําเภอเวียงชยั จังหวัดเชียงราย
ดา นตา งๆ โดยวิธผี สมผสาน จากน้ันทําการวิเคราะห
ศักยภาพปญหาและความตองการของชุมชน และ โดยเปนการบูรณาการการเรียนการสอน
นาํ เสนอขอมลู แลกเปลี่ยนเรยี นรเู พิม่ เติม จากกลุม ในรายวิชาตางๆ ที่เกี่ยวของในปการศึกษา 2562
ผูนําชุมชน ตัวแทนจากหนวยงาน องคกรภาครัฐ (ปง บประมาณ พ.ศ. 2563) ของอาจารยแ ละนักศึกษา
องคก รปกครองสวนทองถนิ่ ในพื้นที่ องคก รชมุ ชนในพ้ืนที่ สํานักวิชาสังคมศาสตร สํานักวิชาคอมพิวเตอรฯ
และตัวแทนประชาชน เพือ่ จดั ทาํ เปนรางขอมลู ชุมชน สํานักวิชาบริหารรัฐกิจ คณะครุศาสตร สํานักวิชา
ระดับหมูบาน วิทยาศาสตรสุขภาพ โดยพัฒนาศักยภาพและ
ความเชี่ยวชาญในการวิเคราะหพื้นท่ีเปาหมาย
ดังนั้น การนําเสนอขอมูลในระดับหมูบาน เพ่ือพัฒนาระบบฐานขอมูลตําบลรวมกันระหวาง
ในแตล ะพื้นที่ ไดม ีการดาํ เนินการเพ่อื ตรวจสอบขอ มูล อาจารย และนักศึกษา เปนความเชี่ยวชาญของ
รวมกับชุมชน และเผยแพรฐานขอมูลท่ีจะสามารถ อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาท่ีเก่ียวของกับการรวบรวม
นําไปใชในการพัฒนาทองถ่ินของพ้ืนท่ีตําบลเวียงชัย ขอมูลและจัดการฐานขอมูลระดับตําบล ไดแก
อาํ เภอเวยี งชยั จังหวัดเชียงราย และพน้ื ทีต่ ําบลเชยี งบาน กระบวนการศึกษาชุมชน เคร่ืองมือการศึกษา
อาํ เภอเชียงคํา จงั หวัดพะเยา โดยใชวธิ ีการการถอด การจัดระบบขอมูล และการวเิ คราะหขอมูล โดยสงเสริม
บทเรียนกระบวนการทาํ งาน After Action Review อัตลักษณของนักศึกษาในการเปนผูท่ีมีทักษะเดน
ปรับปรงุ ข้ันตอนและวธิ กี ารตา งๆ ใหเหมาะสมรว มกับ ความรูดี มีคุณธรรม และสามารถนําองคความรู
ผูมีสวนเก่ียวของในโครงการ เปนไปตามแนวทาง จากการเรยี นมาประยกุ ตใ ช และปฏบิ ตั ดิ านการรวบรวม
การดําเนินงานยุทธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาทองถ่ิน และจัดการฐานขอมูลตําบลในพื้นที่เปาหมายที่เนน
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ในระยะเร่ิมตน การเขาใจ เขา ถึง และพฒั นา ในกระบวนการทาํ งาน
ซ่ึงโครงการระบบขอมูลตําบลในจังหวัดนี้จะสามารถ ด  า น ง า น พั ฒ น า จ า ก ฐ า น อ ง ค  ค ว า ม รู  ลั ก ษ ณ ะ
นําสารขอมูลไปใชประโยชนตอในโครงการอ่ืนๆ สหวทิ ยาการ
ท่ีดําเนินการใน 2 พื้นที่ ระดับตําบลเชนกัน
ประกอบไปดวย โครงการสง เสรมิ ความรัก ความสามคั คี 2. ภาคเี ครอื ขาย ภาครฐั และองคกรพฒั นา
รูสิทธิหนาท่ีของตนเองและผูอื่น ภายใตพ้ืนฐานของ เอกชนสามารถเช่ือมโยงกิจกรรมโครงการและ
ฐานขอมูลตําบล นําไปใชเพื่อการพัฒนาทองถ่ิน
ไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ

36 ฐานขŒอมลู ตําบล ชุดองคค วามรŒู
สู‹ คาํ ตอบการเสรม� สราŒ งความเขŒมแข็งชุมชน

เกิดการมีสวนรวมในการวางแผนการทํางาน
พฒั นาองคความรู ทักษะและการประยกุ ตใ ชป ระโยชน
จากขอมูลและระบบขอมูลตําบลในจังหวัด สามารถ
ตอยอดสูโครงการดานการสงเสริมความอยูดีมีสุข
และความสุขมวลรวมชุมชน การพัฒนาทักษะ
ดานการศึกษา สงเสริมความรักความสามัคคีหนาท่ี
พลเมือง ตลอดจนการพัฒนาผลิตภัณฑชุมชนทองถิ่น
และโครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
ในพนื้ ที่ ซึง่ เปนโครงการภายใตยทุ ธศาสตรก ารพฒั นา
ทองถ่ินของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงราย ใหเกดิ ผลสําเร็จ
ทนี่ ํามาสกู ารพฒั นาชมุ ชน ทองถ่ิน สงั คม อยา งยั่งยืน

โครงการพัฒนาระบบขอŒ มลู ตาํ บลในจังหวดั ประจาํ ป‚งบประมาณ พ.ศ. 2563 37
ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพัฒนาทอŒ งถ�นิ มหาวท� ยาลัยราชภฏั เชียงราย

38 ฐานขŒอมูลตําบล ชุดองคความรูŒ
ส‹ู คาํ ตอบการเสร�มสรŒางความเขมŒ แขง็ ชุมชน

บทท่ี 3

ผลการดําเนินงาน

โครงการพัฒนาระบบขอŒ มลู ตาํ บลในจังหวดั ประจาํ ป‚งบประมาณ พ.ศ. 2563 39
ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพัฒนาทอŒ งถ�นิ มหาวท� ยาลัยราชภฏั เชียงราย

40 ฐานขŒอมูลตาํ บล ชุดองคความรูŒ
ส‹ู คาํ ตอบการเสรม� สราŒ งความเขมŒ แข็งชมุ ชน

ฐานขŒอมลู ชมุ ชน ละติจูด, ลองจิจูด
ระดบั ตาํ บลเวยี งชัย
เทศบาลตําบลเวียงชัย 19.887212,
ตําบลเวียงชัยมีการแบงการปกครองเปน 99.932649
20 หมูบาน โดยแบงตามการปกครองสวนทองถ่ิน
เปนเทศบาลตําบลเวียงชัย รับผิดชอบดูแลในพ้ืนที่ เทศบาลตําบลสริ เิ วียงชัย 19.866645,
6 หมบู าน และเทศบาลตําบลสริ ิเวียงชัย รับผดิ ชอบ 99.890568
ดแู ลในพ้ืนที่ 14 หมบู าน สามารถแสดงพกิ ดั ไดดงั ภาพ
ส ภ า พ พื้ น ที่ โ ด ย ท่ั ว ไ ป ข อ ง ตํ า บ ล เ วี ย ง ชั ย
สภาพทั่วไป ภมู ิประเทศ อาณาเขตและที่ตั้ง มีลักษณะเปนท่ีราบลุมเหมาะสําหรับทําการเกษตร
โดยมีแมนํ้าสําคัญไหลผาน คือแมน้ําลาว และ
หา งจากตวั จงั หวัดเชียงรายประมาณ 7 กโิ ลเมตร มีหนองนํ้าขนาดใหญ 1 แหง คือ “หนองหลวง”
อยทู างทิศตะวนั ออก ของจงั หวัดเชยี งราย ใชร ะยะเวลา เปนอางเก็บนํ้าที่มีขนาดใหญท่ีสุดของจังหวัดเชียงราย
ประมาณ 15 นาที ในการเดนิ ทางจากอาํ เภอ-จังหวดั มีพ้ืนท่ีประมาณ 9,000 ไร ตงั้ อยูพ้นื ทขี่ อง 3 ตาํ บล
2 อําเภอ คือ ตําบลเวียงชัย จํานวน 1,000 ไร
ทิศเหนือ มีเขตติดตอกับตําบลรอบเวียง ตําบลดอนศลิ า อาํ เภอเวยี งชีย จํานวนกวา 1,000 ไร
อําเภอเมอื งเชียงราย ตาํ บลเวยี งเหนือ และตาํ บลหว ยสกั อาํ เภอเมอื งเชียงรายกวา 6,000 ไร
อําเภอเวยี งชยั หนองหลวงเชียงรายจะมีลักษณะเปนรูปทรงคลายๆ
รปู วงรี และมีหนองน้ําขนาดเลก็ อกี หลายแหง ซงึ่ ถือเปน
ทิศใตŒ มีเขตติดตอกับตําบลทาสายและ แหลงนํ้าสําหรับกักเก็บน้ําไวใชเปนแหลงน้ําดิน
ตําบลหว ยสัก อําเภอเมืองเชียงราย การเกษตรและเลยี้ งปลา ตลอดจนเปน สถานที่พักผอ น
และตาํ บลดอนศิลา อาํ เภอเวยี งชัย และทองเทย่ี วในตาํ บลเวียงชยั

ทิศตะวันออก มีเขตติดตอกับตําบลดอนศิลาและ
ตําบลเมอื งชุม อําเภอเวยี งชยั

ทิศตะวันตก มีเขตติดตอกับตําบลรอบเวียงและ
ตาํ บลทาสาย อําเภอเมืองเชียงราย

โครงการพัฒนาระบบขอŒ มลู ตาํ บลในจังหวัด ประจําปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 41
ยุทธศาสตรที่ 1 การพฒั นาทŒองถิ�น มหาว�ทยาลัยราชภัฏเชยี งราย

ขŒอมูลดาŒ นจํานวนประชากรและการจดั การชมุ ชน

โดยสามารถแสดงจํานวนประชากร จาํ แนกเปน พน้ื ท่กี ารปกครอง คอื ในเทศบาลตําบลสริ ิเวยี งชัย 14 หมูบา น
และเทศบาลตาํ บลเวยี งชัย จาํ นวน 6 หมบู า น รวม 20 หมูบา น ดังน้ี

จาํ นวนประชากรตําบลเวียงชัย อาํ เภอเวียงชัย จังหวัดเชยี งราย

800 750 700 650 600 550 500 450 400 350 300 250 200 150 100 50 0 หมทู‹ ี่ 1 กลางเวยี ง 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 650 700 750 800

209 169

295 หมูท‹ ี่ 2 ร‹องบัวลอย 257

278 หม‹ทู ี่ 3 ศรีเวียง 257

255 หมูท‹ ี่ 4 ดŒาย 207

256 หมทู‹ ่ี 5 ไชยเจริญ 256

213 หมท‹ู ี่ 6 ปง 184

240 หมทู‹ ี่ 7 ดาŒ ยกแ‹ู กŒว 213

221 หมู‹ท่ี 8 เวยี งชยั 227

291 หม‹ทู ี่ 9 ไชยนารายณ 282

491 หมท‹ู ี่ 10 ชัยภมู ิ 389

210 หมูท‹ ่ี 11 หนองหล‹ม 182

353 หมู‹ที่ 12 ใหมโ‹ พธง์ิ าม 347

429 หมท‹ู ี่ 13 ชยั นิเวศน 362

215 หมทู‹ ี่ 14 ไชยปราการ 227

329 หมทู‹ ี่ 15 ดŒายเจริญ 313

268 หม‹ูที่ 16 หนองหลวง 251

258 หมูท‹ ่ี 17 ไทยเจริญเหนอื 234

529 หมทู‹ ี่ 18 ดŒายทา‹ ลŒอ 488

350 หมูท‹ ่ี 19 เวยี งชยั ทอง 314

742 หมทู‹ ่ี 20 ดŒายพฒั นา 662

800 750 700 650 600 550 500 450 400 350 300 250 200 150 100 50 0 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 650 700 750 800

42 ฐานขอŒ มูลตาํ บล ชุดองคความรŒู
สู‹ คาํ ตอบการเสร�มสรŒางความเขมŒ แขง็ ชมุ ชน

ซ่ึงในพน้ื ทีต่ าํ บลเวยี งชัย อําเภอเวียงชยั จงั หวดั เชียงรายนั้นแบงการปกครองทอ งถิ่นออกเปน เทศบาล
ตําบลสิริเวียงชัย และเทศบาลตําบลเวียงชัย โดยสามารถแสดงขอมูลจํานวนครัวเรือนและประชาชน
จํานวน 14 หมูบาน เขตพืน้ ท่ีเทศบาลตาํ บลสริ เิ วยี งชัย ดงั นี้

หม‹ูท่ี ชอื่ บาŒ น ครวั เรอื น ชาย หญิง รวม

2 บา นรอ งบวั ลอย 247 318 352 670
3 บา นศรีเวียง 463 471 499 970
4 บานดา ย 199 233 250 483
5 บา นไชยเจรญิ 242 259 265 524
6 บานปง 286 311 323 634
7 บานดา ยกูแ กว 167 228 214 442
11 บานหนองหลม 580 351 446 797
12 บานใหมโพธิ์งาม 191 283 290 573
14 บา นไชยปราการ 151 213 241 545
15 บา นดายเจรญิ 134 187 212 399
16 บา นหนองหลวง 233 264 261 525
17 บา นไทยเจริญเหนอื 173 202 253 455
18 บานดา ยทาลอ 202 257 277 534
20 บา นดายพฒั นา 160 171 204 375
3,428 3,748 4,087 7,835
รวม

และมีจํานวนครัวเรอื นและประชาชน จํานวน 6 หมูบาน เขตพ้ืนทเ่ี ทศบาลตําบลเวยี งชยั ท่ีสามารถ
แบงเขตการปกครองออกเปน 2 ตาํ บล 10 หมบู า น 14 ชมุ ชน คือ

ตาํ บลเวียงชยั

1. บา นกลางเวยี ง หมู 1
2. บานเวยี งชัย หมู 8
3. บา นไชยนารายณ หมู 9
4. บานชยั ภมู ิ หมู 10
5. บานชัยนเิ วศน หมู 13
6. บานเวียงชัยทอง หมู 19

โครงการพฒั นาระบบขอŒ มูลตําบลในจงั หวัด ประจําปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 43
ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาทŒองถ�นิ มหาว�ทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ตาํ บลเมืองชมุ

1. บานดอนเรอื ง หมู 5
2. บานใหมดอนเรอื ง หมู 6
3. บานเมอื งชุม หมู 7
4. บา นดอนมลู หมู 10 (บางสวน)
โดยจะนําเสนอเฉพาะขอมูลประชากรในเขตตําบลเวียงชัย ดังนี้

หมท‹ู ี่ ชือ่ บาŒ น ครัวเรอื น ชาย หญงิ รวม

1 บานกลางเวียง 863 644 718 863
8 บา นเวียงชัย 380 358 434 792
9 บา นไชยนารายณ 219 346 337 693
10 บา นชัยภูมิ 158 181 201 388
13 บานชยั นเิ วศน 222 231 222 453
19 บานเวยี งชัยทอง 226 252 298 550
2,068 2,012 2,210 3,739
รวม

การจัดการชมุ ชน ทบ่ี านไชยเจรญิ หมทู ่ี 5 พระธาตเุ วยี งฮอ ทีบ่ า นใหมโ พธง์ิ าม
หมู 12 เปนตน นอกจากนี้ยังมีสถานท่ีทองเท่ียว
ในพื้นท่ีตําบลเวียงชัย อําเภอเวียงชัย ในเชิงทรพั ยากรธรรมชาติ เชน สวนสาธารณะหนองหลวง
จงั หวัดเชยี งราย ทง้ั ทางหนว ยงานปกครองสว นทอ งถ่นิ เกาะแมหมาย เกาะสันกลาง ซึ่งอยูในแหลงน้ํา
และประชาชน มีความตองการพัฒนาชุมชน ที่มีความสําคัญ คือ หนองหลวง และยังมีสถานที่
ดานการทองเท่ียวเพื่อใหสอดคลองกับสภาพภูมิศาสตร ทอ งเที่ยววงั มจั ฉา ณ วดั บานปง หมทู ่ี 6 อกี ดวย
ซ่ึงจะเห็นไดวาสภาพพ้ืนที่โดยทั่วไปเปนที่ราบลุม
เหมาะกบั การทาํ การเกษตรมแี มน าํ้ ไหลผา นมหี นองนาํ้ จากขอมูลพ้ืนฐานตางๆ ของตําบลเวียงชัย
ขนาดใหญ ไดแ ก หนองหลวง รวมถึงหนองนา้ํ ขนาดเลก็ อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงรายซ่ึงสอดคลองกับ
เชน หนองเจา นอยเจา แดง หลวงปแู กว ท่ีใชป ระโยชน การพัฒนาทองถ่ินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
สาํ หรบั การกักเกบ็ นาํ้ เพื่อทําการเกษตร การเล้ียงปลา ทั้งสองเทศบาล คือ เทศบาลตําบลสิริเวียงชัย และ
ตลอดจนเปนสถานที่พักผอนและทองเที่ยวของประชาชน เทศบาลตาํ บลเวยี งชัยน้ัน พบวาเปน ไปตามยุทธศาสตร
ในพื้นท่ีและบุคคลทั่วไป อีกทั้งยังมีทรัพยากรปาไมในพ้ืนท่ี การพัฒนาทองถิ่นอยางนอย 6 ยุทธศาสตร
ท่สี าํ คัญอีกดว ย ซ่ึงในตําบลเวียงชยั ไดมีการสนบั สนุน ต า ม แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ท่ี ดี ข อ ง
ดานแหลงทองเท่ียวในพ้ืนที่ไดแก สถานที่ทองเที่ยว คนในทอ งถิ่นพืน้ ที่ ทั้งดา นการพฒั นาสาธารณูปโภค
เชิงสาธารณะประโยชน ที่สอดคลอ งกับดานวัฒนธรรม ดานการพัฒนาสังคมและสาธารณสขุ ดานการพัฒนา
และพุทธศาสนา เชน พระธาตุในวัดชัยสวัสดิ์ ท่ีตั้ง การศึกษา กีฬา ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรม
อยูที่หมูที่ 2 บานรองบัวลอย พระธาตุวัดศรีเวียง ดานการพัฒนาเศรษฐกจิ และการทองเทยี่ ว ดานการพัฒนา
ณ บานศรีเวียง หมูที่ 3 พระธาตุพุทธรัตนมงคล อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมซ่ึงในพ้ืนที่
วัดราษฎรชุมพล ตง้ั อยทู ี่บานดา ย หมทู ี่ 4 วดั ชยั เจรญิ ตําบลเวียงชัยในดานน้ีมีความโดดเดนเปนอยางย่ิง

44 ฐานขอŒ มลู ตาํ บล ชุดองคค วามรŒู
สู‹ คาํ ตอบการเสรม� สรŒางความเขมŒ แข็งชุมชน

ท้ังภูมิศาสตรของพ้ืนที่เอง และทรัพยากรธรรมชาติ งานบริการ, รานตัดผม, เสริมสวย, ตัดเย็บผา,
สิ่งแวดลอมที่อยูในพ้ืนที่ จึงมีกิจกรรมการพัฒนาตางๆ รบั จางทวั่ ไป (ตามฤดกู าล) ทาํ ปราสาท, เรือนตาน
อยางมีสวนรวมของคนในชุมชนเองและหนวยงานภายนอก
เขามาสนับสนุนในการจัดการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ จากสภาพภูมิประเทศ แหลง นา้ํ และสภาพอากาศ
แหลงนํ้า ปาชุมชน ตลอดจนการสนับสนุน ของพื้นที่ตําบลเวียงชัย มีความเหมาะสมกับ
ดานเกษตรอินทรีย และยุทธศาสตรที่ 6 คือ การทําเกษตรกรรม ดังน้ันประชาชนรอยละเจ็ดสิบ
ดานการพัฒนาการบริหารกิจกรรมบานเมือง ของตําบลเวียงชัย ประกอบอาชีพทําการเกษตร
และการมีสวนรวมของประชาชน ซ่ึงท้ัง 2 องคกร ประเภทเพาะปลูก ท้ังนี้เน่ืองจากสภาพภูมิศาสตร
ปกครองสวนทองถิ่นในระดับเทศบาลตําบลไดมี ที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก เฉล่ียรายไดตอหัว/ตอป
การดําเนินงานซ่ึงเปนพันธกิจสําคัญทางดานการพัฒนา ประมาณ 110,000.- บาท รวมถึงในลักษณะ
งานบุคลากรตามหลักธรรมาภิบาลและการมีสวนรวม สังคมกง่ึ เมืองกึ่งชนบท ทําใหมปี ระชากรแฝงอยอู าศยั
ของประชาชนตามแนวทางระบอบประชาธปิ ไตย ในพนื้ ที่ และมีความหลากหลายทางดานอาชีพอีกดวย

การประกอบอาชพี ของประชาชน ฐานขอŒ มลู ระดับตําบลเชยี งบาน

อาชีพหลกั รับจา งทัว่ ไป ตําบลเชียงบาน อยใู นอาํ เภอเชยี งคาํ จังหวัดพะเยา
อาชีพรอง ทํานา, คาขาย, รับราชการ, โดยต้ังอยูทางทิศตะวันตกเฉียงใตของอําเภอเชียงคํา
เจาหนาท่ีของรฐั มีระยะทางหางจากเขตอําเภอเชียงคํา ประมาณ
อาชีพเสรมิ /กล‹มุ อาชพี ทําสวน, ขาวโพด, เลี้ยงสัตว, 3 กิโลเมตร ตั้งอยูริมทางหลวงหมายเลข 1021
โค, กระบือ, สุกร, เปด, ไก, คาขาย, รานคาขาย ถนนพะเยา-เชียงคาํ ระยะทางหางจากตวั จังหวัดพะเยา
ของชํา, ปมนํ้ามัน, โรงสีขาว, รานขายอาหาร, ประมาณ 72 กโิ ลเมตร และระยะหา งจากกรงุ เทพมหานคร
ประมาณ 807 กิโลเมตร

พิกดั ทต่ี ั้ง ตาํ บลเชียงบาน
ละติจูด, ลองจจิ ูด

19.506513, 100.283010

โครงการพัฒนาระบบขŒอมลู ตาํ บลในจังหวัด ประจําปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 45
ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพัฒนาทอŒ งถนิ� มหาวท� ยาลัยราชภัฏเชยี งราย

สภาพทางกายภาพของตําบล ซ่ึงความหมายจริงๆ ในทํานองทวี่ าเอาแขวนไวก ับฮาว
หรอื ราวนนั่ เอง อยางไรกต็ ามชอ่ื ของลํานา้ํ “หว ยผาฮาว”
เนื้อท่ีประมาณ 30 ตารางกิโลเมตรหรือ เปน ภูมินามวิทยาที่เปนลักษณะทางกายภาพของหนิ ผา
ประมาณ 18,722 ไร สวนใหญเ ปน พน้ื ทีท่ างการเกษตร ที่ทอดเปนแนวยาวจากสันเขายาวลงไปทางใต
ประมาณ 13,039 ไร โดยมอี าณาเขต ดานทิศเหนอื เรียกวาหินฮาว หรอื ผาฮาว
ตดิ ตอ กับ เทศบาลตําบลสบบง อาํ เภอภูซาง บรเิ วณ
รอยตอ บานสบแวน ตาํ บลเชียงบาน และบา นดอนตนั 4. ลําเหมืองรอ งเขียว
เทศบาลตาํ บลสบบง อําเภอภซู าง ดา นทศิ ตะวนั ออก โดยมีลํานํ้าแวนเปนทรัพยากรน้ําสายหลัก
ติดตอกับ เทศบาลตําบลเชียงคํา/เทศบาลตําบลหยวน
บรเิ วณรอยตอ บานเชยี งบาน หมูท ี่ 10 ตําบลเชียงบาน ที่ใชในการอุปโภค-บริโภค เปนแหลงนํ้าดิบท่ีนํามาใช
และบานมาง เขตเทศบาลตําบลเชียงคํา/เทศบาล ในระบบประปาหมูบานในพื้นท่ีตําบลเชียงบาน
ตาํ บลหยว น ดา นทศิ ตะวันตก ตดิ ตอกบั ตําบลอางทอง เปนสวนใหญ ลําน้ําอื่นๆ สวนมากถูกนํามาใช
อําเภอเชยี งคาํ บรเิ วณรอยตอ บานทุงมอก ตาํ บลเชียงบาน ในการเกษตรกรรม รวมถึงมีแหลงนํ้าตามธรรมชาติ
และบานเนินสามัคคี ตําบลอางทอง อําเภอเชียงคํา และมีทรัพยากรทางสิ่งแวดลอมท่ีสรางข้ึนสําหรับ
และเขตองคการบริหารสว นตาํ บลนํา้ แวน สว นดานทิศใต การใชประโยชนโดยคนในชุมชน ท่ีมีการสืบทอด
ติดตอกับ ตําบลทุงผาสุข อําเภอเชียงคํา และ ดานอาชีพ ภูมิปญญา และเทคโนโลยีชาวบาน
เขตองคก ารบริหารสวนตาํ บลนา้ํ แวน มายาวนาน

ลกั ษณะภูมิประเทศ ลักษณะภมู ิอากาศ

สวนใหญเปน ที่ราบลุม เปน สงั คมเมืองก่งึ ชนบท ลกั ษณะภมู ิอากาศในตําบลเชยี งบาน แบงออก
และมแี หลงนาํ้ ธรรมชาตทิ ่สี าํ คญั ไดแก ตามลักษณะอากาศไดเ ปน 3 ฤดู คือ ฤดรู อน ฤดฝู น
ฤดูหนาว
1. ลาํ นาํ้ แวน เปนลุมนํ้ายอ ยของลมุ แมนา้ํ อิง
ซึ่งเปนแมนํ้าสายเดียวกันกับแมนํ้าลาวที่ตนนํ้า • ฤดูรอน อยูในชวงระหวางเดือนกมุ ภาพันธ
อยบู รเิ วณดอยยอดในเขตอําเภอเชยี งคํา แลวไหลผาน ถึงเดือนพฤษภาคม อากาศรอนและแหงแลง
อําเภอเชียงคํา ประมาณ 40 กิโลเมตร จากน้ัน แตบางคร้งั อากาศเยน็ บางครง้ั เกิดพายฝุ นฟา คะนอง
ไหลไปรวมกับแมน้ําแวน จนเขาเขตอําเภอเทิง และลมกระโชกแรงหรืออาจมีลูกเห็บตกกอใหเกิด
จังหวัดเชียงราย แลวจึงไปรวมกับแมนํ้าอิงที่อําเภอเทิง ความเสียหายแกประชาชนทุกปเรียกวา “พายุฤดูรอน”
จังหวัดเชียงราย อากาศรอนจะมีอุณหภมู ริ ะหวา ง 35-39.9 องศาเซลเซียส
รอ นจดั มีอุณหภมู ิประมาณ 40 องศาเซลเซยี สขึ้นไป
2. ลาํ น้าํ เหมอื งแดง
3. หวยผาฮาว เปนลํานํ้าตามธรรมชาติ • ฤดฝู น อยใู นชวงระหวา งเดอื นมิถุนายน
ท่ีใชรวมกันของตําบลเชียงคําและตําบลทุงผาสุข ถึงเดือนตุลาคม แตอาจเกิดชวงฝนทิ้ง ซึ่งอาจนาน
อําเภอเชียงคําอยูทางทิศใตของตําบล โดยมีเรื่องเลา ประมาณ 1-2 สัปดาหหรือบางปอาจเกิดข้ึนรุนแรง
เชงิ ประวัตศิ าสตรชมุ ชนเกี่ยวกับช่ือผาฮาว ท่ีเลาตอ ๆ กนั มา และมฝี นนอ ยนานนบั เดอื น ในเดอื นกรกฎาคม
ของชือ่ บานผาฮาวอยูตาํ บลทงุ ผาสุข วา ชอื่ บา นผาฮาว
มาจากคําพูดลอเลียนในกลุมชาวบานท่ีทําการเกษตร • ฤดูหนาว อยูใ นชวงระหวา งเดอื นพฤศจิกายน
ปลูกพืชผลทางการเกษตร เชน หอมแดง กระเทียม ถึงเดือนกุมภาพันธ ในชวงกลางเดือนตุลาคม
เปนตน ท่ีหากผลผลิตในปการเก็บเกี่ยวใดราคาไมดี นานราว 1-2 สัปดาห เปนชวงเปล่ียนฤดูจากฤดูฝน
ไมมีพอคามารับซ้ือ ชาวบานก็แกเขิน โดยบอก เปนฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไมแนนอน อาจเริ่ม
ผูทถี่ ามวาขายใหใ ครวา มีพอ คา จากผาฮาวโนนมาซื้อ มีอากาศเยน็ หรอื อาจยังมฝี นฟา คะนอง อากาศหนาว
อุณภูมิต่าํ สุด ประมาณ 8 องศาเซลเซยี ส

46 ฐานขอŒ มลู ตําบล ชดุ องคความรŒู
สู‹ คําตอบการเสร�มสราŒ งความเขมŒ แข็งชมุ ชน

ขŒอมูลดŒานประชากรและการจัดการชุมชน
ตาํ บลเชยี งบาน ประกอบไปดว ย หมูบา นจํานวน 11 หมบู าน ไดแก
หมทู ่ี 1 บานปางวัว หมูท ี่ 2 บา นทงุ มอก
หมูท่ี 3 บานเชยี งบาน หมูท่ี 4 บานเชยี งบาน
หมูที่ 5 บานแวนวัฒนา หมทู ่ี 6 บา นแพด
หมทู ่ี 7 บานเชยี งคาน หมูท่ี 8 บา นสบแวน
หมูท่ี 9 บานแพทยบ ญุ เรอื ง หมูท่ี 10 บา นเชยี งบาน
หมูที 11 บา นฝงแวน
โดยแตละหมูบานเปนลักษณะสังคมพหุวัฒนธรรมระหวางลานนาและไทลื้อ (มีประชากร
กลมุ ชาติพันธุอีสาน ซง่ึ อพยพมาจากภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย ชวงป พ.ศ. 2500 กระจาย
อยูในชุมชนเปนกลุมนอย) โดยมีประวัติศาสตรชุมชนที่สอดคลองกับเรื่องราวความเปนมาของแตละหมูบาน
โดยสามารถแสดงจํานวนประชากรในพน้ื ทีต่ าํ บลเชียงบาน จาํ แนกตามเพศ ไดดังนี้

จํานวนประชากรตําบลเชยี งบาน อําเภอเชียงคํา จงั หวดั พะเยา จําแนกตามเพศ

224 หมท‹ู ี่ 11 ฝ˜›งแวน 213
216 หมูท‹ ี่ 10 เชยี งบาน 220
264 หมทู‹ ี่ 9 แพทยบุญเรือง 268
216 หมท‹ู ่ี 8 สบแวน 204
256 หมู‹ที่ 7 เชียงคาน 243
251 หมู‹ที่ 6 แพด 210
260 หม‹ูท่ี 5 แวน 379
593 หม‹ูที่ 4 เชยี งบาน 1,526
321 หมท‹ู ี่ 3 เชยี งบาน 298
374 หมท‹ู ่ี 2 ทงุ‹ มอก 329
343 หมทู‹ ่ี 1 ปางวัว 352

1111111,,,,,,,231560400000000000000
900
800
700
600
500
400
230000
100

0
0
100
200
300
400
560000
700
800
1111111,,,,,,,356120940000000000000000

จํานวนประชากรตําบลเชียงบาน รวมทั้งส้ิน 7,677 คน แยกเปน ประชากรชาย 4,347 คน
ประชากรหญิง 3,330 คน ครวั เรือน 3,109 ครวั เรือน

อาชพี

การผลิตและรายไดหลักของประชากรในเขตพื้นท่ีองคการบริหารสวนตําบลเชียงบาน ไดแก การประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม (การใชท ีด่ ินเพ่ือกสกิ รรม) สวนอาชพี รองลงมา ไดแ ก การรบั จา ง การพาณชิ ย การรบั ราชการ
อุตสาหกรรมในครวั เรือน และอืน่ ๆ

โครงการพัฒนาระบบขŒอมูลตาํ บลในจังหวัด ประจาํ ป‚งบประมาณ พ.ศ. 2563 47
ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพฒั นาทŒองถ�นิ มหาว�ทยาลยั ราชภฏั เชยี งราย

โดยมีหนวยธุรกิจในเขตองคการบริหารสวนตําบลเชียงบาน ประกอบไปดวย ประเภทโรงแรมรีสอรท
5 แหง ปม นํ้ามัน 2 แหง ปม กา ซ 1 แหง โรงงานอตุ สาหกรรม 1 แหง โรงสี 7 แหง ตลาดนัดโค, กระบือ
1 แหง ตลาดนัด 1 แหง ตลาดสดเชยี งบาน 1 แหง
นอกจากน้ียังมีกลุมอาชีพที่ประชาชนจัดตั้งกันเองและสวนราชการตางๆ สนับสนุนในการจัดต้ังและ
มีการดาํ เนินกจิ กรรมตอ เน่อื งถึงปจ จบุ ัน ประกอบไปดว ยขอ มูลกลุม ทางเศรษฐกิจ และพ้นื ท่ตี ้งั ใน 11 หมบู าน
ของตาํ บลเชียงบาน ดังนี้
กลมุ ทอผาบานทุง มอก หมูท ี่ 2
กลมุ กองทนุ ฝายของกลมุ ทอผา ไทลือ้ หมูท่ี 2
กลุมอาชีพผสู ูงอายุบา นทงุ มอก หมทู ่ี 2
กลุมอาหารและสมนุ ไพรเพ่อื สขุ ภาพ หมูที่ 3
กลุมทอผา ตงุ หมทู ี่ 3
กลุมนํา้ ยาอเนกประสงค หมทู ่ี 3
กลมุ ทอผาผสู ูงอายุ หมูท่ี 4
กลุมผลิตภัณฑขา วชุมชน หมทู ่ี 4
กลมุ ตัดเยบ็ เสื้อผา ถักผา แมบา น หมูท่ี 4
กลุมแมบ า นเกษตรกรผลิตแหนมบา นแพด หมทู ่ี 6
กลมุ เกษตรทาํ นาครบวงจรบานแพด หมทู ี่ 6
กลมุ เล้ียงไกและเปด หมทู ี่ 6
กลุมทอผาผูสงู อายุ หมทู ี่ 6
กลุมฉางขา วนานํ้าฝน หมทู ี่ 8
กลุมตัดเย็บเส้ือผาสาํ เร็จรปู หมทู ่ี 9
กลุมออมทรพั ยบานแพทยบ ญุ เรือง หมทู ี่ 9
กลมุ ทํานาบา นฝง แวน หมทู ี่ 11
กลุมวิสาหกิจชมุ ชน ทาํ แหนม หมูท ี่ 11
กลุมปยุ อนิ ทรียช ีวภาพ หมูท ่ี 11

ขŒอมลู ดŒานศาสนา
ในพ้ืนที่ตําบลเชียงบาน สวนใหญประชาชนนับถือพุทธศาสนา และมีนับถือศาสนาคริสตบางสวน
ซ่ึงกิจกรรมทางศาสนาและวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน สามารถรวมกันจัดกิจกรรมรวมกันระหวางกลุมชาติพันธุ
และผูท ่นี บั ถือศาสนาทแี่ ตกตา งกนั ได โดยมีศาสนสถานในพืน้ ทีต่ าํ บลเชยี งบาน ดงั น้ี
1. วัด ในเขตตาํ บลเชียงบาน ไดแก
วดั ปางวัว ตัง้ อยูหมูท่ี 1 บา นปางววั
วดั ทุงมอก ตง้ั อยูหมูที่ 2 บา นทงุ มอก
วัดทองแยม ตัง้ อยหู มทู ่ี 4 บานเชียงบาน
วดั แวนพฒั นา ตงั้ อยหู มูท่ี 5 บา นแวน
วัดเชยี งคาน ต้ังอยูหมูท่ี 7 บา นเชยี งคาน
วัดศรีบุญเรอื ง ตั้งอยหู มูท ่ี 6 บา นแพด
วดั บา นเชยี งบาน ต้งั อยหู มูที่ 10 บา นเชียงบาน

48 ฐานขอŒ มูลตาํ บล ชุดองคค วามรูŒ
ส‹ู คําตอบการเสร�มสราŒ งความเขŒมแขง็ ชมุ ชน

2. สํานกั สงฆ ในเขตตาํ บลเชียงบาน ไดแก
วัดปา สมนุ ไพร ตัง้ อยหู มูที่ 2 บานทงุ มอก
วดั ใหมส ันกลาง ตง้ั อยูหมทู ่ี 4 บา นเชยี งบาน
3. โบสถ ในเขตตําบลเชียงบาน ไดแ ก
ครสิ ตจักรชยั บรบิ รู ณ ตง้ั อยูหมูที่ 8 บา นสบแวน
4. ศาลเจา ในเขตตําบลเชยี งบาน ไดแ ก
ศาลเจาพอขนุ ดง ตั้งอยหู มูที่ 1 บานปางวัว
ศาลเจาพอพญาคาํ ต้ังอยหู มูที่ 2 บานทงุ มอก
ศาลปู-ยา ตง้ั อยูหมูที่ 3 บานเชยี งบาน
ศาลเจาหลวงเมอื งลา ตัง้ อยหู มูที่ 5 บานแวน
ศาลเจา พอพญาคําแดง ต้งั อยูหมทู ่ี 6 บานแพด
ศาลเจาพอ พญาชา งเผอื ก ตั้งอยหู มทู ่ี 7 บานเชยี งคาน
ศาลเจา พออาชญาตา ว ตั้งอยูหมูท่ี 9 บา นแพทยบ ญุ เรือง
ศาลเจา พอพญาชางเผอื ก ต้งั อยหู มทู ่ี 10 บา นเชียงบาน
ศาลเจา หลวงเมอื งลา ต้ังอยหู มูที่ 11 บานผ่งั แวน
สถานที่สําคัญดานสาธารณสุขของตําบลเชียงบาน ไดแก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล
ตําบลเชียงบาน โดยอยูในพ้ืนท่ี หมูที่ 9 บานแพทยบุญเรือง ซ่ึงมีขอมูลดานสุขาภิบาลและสาธารณสุข
ของครัวเรือนนระดับตําบล พบวา อัตราการมีและการใชสวมราดนํ้า รอยละ 100 โดยมีอาสาสมัคร
สาธารณสุขมลู ฐานประจําหมบู าน (อสม.) 187 คน และอาสาสมัครดูแลผูสงู อายทุ ่บี าน (อผส.) 40 คน

ขŒอมูลดาŒ นสาธารณสขุ

ในพ้นื ท่ีตําบลเชียงบาน มขี อ มลู การดูแลสขุ ภาพตนเอง โดยผสมผสานระหวางการดูแลสุขภาพดวยภมู ิปญ ญา
และการรักษาโรคดวยการแพยแผนปจ จุบนั โดยมีโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตําบล ตาํ บลเชยี งบาน จํานวน
1 แหง ซ่ึงประชากรสวนมากมีสุขภาพท่ีดี มีการคัดกรองสุขภาพใหกับประชาชนกลุมเสี่ยง และผูสูงอายุ
โดยมีโรคท่ีมักเกิดแกประชากรในชุมชนเชนกัน ไดแก โรคความดัน เบาหวาน โรคเอดส โรคไขเลือดออก
มอื -เทา -ปากในเดก็ และโรคอน่ื ๆ อกี มาก มสี ถิตเิ ขา รับการรักษาพยาบาล พบวา มขี อมลู ดานการดแู ลสุขภาพ
ท่ีประชาชนมักไมต รวจสุขภาพประจาํ ป ทกุ ป ซง่ึ ทางชุมชน อสม. และ อบต.เชยี งบาน ไดจ ัดกิจกรรมรว มกัน
ในลักษณะรณรงคสงเสริมการดูแลสุขภาพใหชุมชนเห็นความสําคัญในเร่ืองสุขภาพรางกาย การดูแลตัวเอง
เกย่ี วกับโรคตา งๆ ทเี่ ปน อยู ซ่ึงประชาชนใหค วามรว มมือเปนอยางดี แตต อ งเปน การดําเนินการอยางตอ เนอ่ื ง

การปกครองทอŒ งถิ่นในพ้ืนที่ตําบลเชยี งบาน

การจดั ตั้งองคการบรหิ ารสวนตําบลเชียงบาน
องคก ารบรหิ ารสว นตําบลเชยี งบาน ไดร ับประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ืองการจดั ตัง้ องคก ารบรหิ ารสวนตาํ บล

เมอื่ วันที่ 19 มกราคม 2539 เพ่อื จัดตั้งสภาตาํ บลท่ีมรี ายไดโดยไมรวมเงนิ อุดหนุนในปง บประมาณ 2536 ถงึ ป 2548
เฉล่ียไมตํ่ากวาปละ 150,000 บาท เปนองคการบริหารสวนตําบล ประกาศ ณ วันที่ 30 มีนาคม 2539
ตงั้ อยเู ลขท่ี 168 หมูท ี่ 9 บา นแพทยบ ญุ เรือง ตาํ บลเชียงบาน อาํ เภอเชียงคาํ จังหวดั พะเยา 56110 เปน
องคการบริหารสวนตําบลขนาดกลาง และมีวิสัยทัศนการพัฒนาทองถ่ิน วา “ชุมชนนาอยู บริหารจัดการดี
วิถีวัฒนธรรม นาํ เศรษฐกิจ มีจิตสํานกึ ใสใจส่งิ แวดลอม” ซง่ึ สอดคลอ งกบั คําขวญั ตําบลเชียงบาน คือ

โครงการพัฒนาระบบขอŒ มูลตาํ บลในจงั หวดั ประจําปง‚ บประมาณ พ.ศ. 2563 49
ยุทธศาสตรท ี่ 1 การพัฒนาทŒองถ�นิ มหาวท� ยาลัยราชภฏั เชียงราย

พระพุทธสหิ ิงคศากยมนุ ี พระเจดยี ศ รเี ชียงบาน
ตาํ นานทหารกลา อนุสรณผ ูเสยี สละ
แหลง ธรรมะประเพณี ลําไยรสดี มนั แกวหวาน
ตาํ บลเชียงบานลือช่อื ผาทอไทลอื้ งามตา

ผลการวเิ คราะหศ กั ยภาพชุมชนเพอ่ื ต‹อยอดสูก‹ ารสรŒางโครงการพฒั นาคุณภาพชวี ิตในพื้นที่

ตาํ บลเวียงชัย อําเภอเวยี งชัย จังหวดั เชยี งราย

ประเด็นหลกั สถานการณป ˜จจุบนั ป˜ญหา ความตอŒ งการแกŒไขปญ˜ หา/
การพฒั นา

ดาŒ น อาชพี ของคนในชุมชน - ปญ หาคา ใชจ า ยในการขนสง - ตองการทาํ การเกษตร
เศรษฐกิจ - เกษตรกร โดยมปี ลกู ขา ว (ขาวเหนียว, ขา วเจา) พนั ธขุ า วมตี นทนุ ทีส่ งู แบบครบวงจร ตง้ั แต
และขาวโพดสัตวเ ปนสวนใหญ โดยมกี ารขาย - ปญหาในดานการเกบ็ เมล็ดพันธุ การเพาะเมล็ดไปจนถงึ
ผลผลติ ทงั้ ในจังหวัดและตางจงั หวดั เชน เชยี งใหม เนื่องจากทางชมุ ชนมคี วามตองการ การขายผลผลิตและ
ลาํ พนู ลําปาง พะเยา แพร นาน รวมไปถงึ ท่ีจะเพาะปลูกขาวและขาวโพด แปรรปู ผลผลติ
จังหวดั ทางภาคอีสาน จุดเดนของชุมชน แบบครบวงจรแตย งั ขาดความรู - ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ
จึงเปนเรื่องขา ว หนว ยงานรฐั ท่ีเก่ยี วขอ ง คือ ในดา นการเพาะเมล็ดพนั ธุ ใหแกผ ลผลติ
ศนู ยวิจยั ขาว จ.พะเยา และศูนยว จิ ยั ขา ว ท้ังในเร่ืองการเตรยี มดนิ การเกบ็ - ความรใู นดานการแปรรูปปลา
การดแู ลควบคุมรวมไปถึง - การสรา งชอ งทางการขาย
จ.เชยี งราย เชงิ พาณชิ ย การมีแหลง รวบรวม
- คา ขาย/การทาํ ประมง โดยการเพาะพนั ธปุ ลา ชอ งทางการตลาด
และจาํ หนายพนั ธปุ ลาหลากหลายสายพนั ธุ - การขาดแคลนนา้ํ ในการทาํ สินคาทางการเกษตร ผลิตภณั ฑ
เชน ปลาดกุ ปลานลิ ปจ จบุ นั มี 10 ราน นาปรัง ภยั แลง, ขาวตายคอ จากวสิ าหกิจชมุ ชนเพอื่ กระจาย
- ขาดองคความรู การแปรรูป เปน ศนู ยก ลางในการกระจาย
เพาะพนั ธุป ลา ผลติ ภัณฑขา ว สนิ คา หรอื ผลผลติ ทางการเกษตร
- แหลงทอ งเที่ยวเชงิ อนรุ ักษห นองหลวง
โดยมกี ารจดั ถนนสาํ หรบั กจิ กรรมปน จกั รยาน - การออกแบบบรรจุภณั ฑ ของชุมชน
และมสี รา งแพเรือทองเที่ยวทบ่ี รรจคุ นไดม ากสดุ และโลโกผ ลิตภัณฑ - ตองการใหม กี ารรวมกลมุ กัน
ถงึ 40 คน เพื่อรับประทานอาหารกลางนํา้ - ปญหาของกลมุ เพาะพันธุป ลา เพือ่ เพิม่ อํานาจในการตอ รอง
และเนอื่ งจากหนองหลวงมีพ้นื ทีต่ ดิ กับอกี หลายๆ ขาดการรวมกลุม อยา งชัดเจน ราคาขาว สรา งกลมุ แปรรปู
หมบู านทําใกลๆ กนั ยงั มวี ดั ปาขนั ติอดุ มธรรม (ยังมคี วามเปน ธุรกจิ สว นตัว) ผลิตภัณฑ
และแหลง สักการะบชู า (แหลง ใหอาหารปลา) - ผลผลติ มเี ยอะเกินไปและ - นวัตกรรมชุมชน ลดตนทุน
ขาดความรูในดา นการแปรรปู ปลา การผลติ
- สนิ คา ผลิตภัณฑของชุมชน - การใชว สั ดุเหลือใชใ นการทําปุย
กลุม‹ อาชีพ/ผลติ ภณั ฑในชมุ ชน
- กลมุ ทาํ ปลาสม สองพน่ี อ ง, ปลาสม หนองหลวง, ไมเ ปน ทร่ี ูจัก ไมมีแหลง - การพฒั นาบุคลากร
ปลาสม สําลี ท่สี ืบทอดสตู รการทาํ ปลาสม กระจายสนิ คา ไมม ตี ลาดรองรบั ดานการเกษตร ปลอดภัย
จากบรรพบรุ ุษ พฒั นาเปน OTOP ของชมุ ชน - ปญหาหนีส้ ินครัวเรอื น ลดตนทนุ และสรา งรายได
รายไดนอยกวารายรับ ใหกบั คนในชมุ ชนรวมถงึ
- กลุมทาํ ไมก วาด - ชมุ ชนมีการรวมกลุมอาชีพ การสงเสริมอาชพี เสรมิ
- กลุมกจิ การครอบครวั ตมี ีด ม.16
- กลมุ การพฒั นาหนองหลวงเปนแหลงทอ งเท่ยี ว แตข าดกระบวนการทํางาน หลงั จากวา งงานจากชว งทาํ นา
รวมหนุ เพ่อื ลงทุนกจิ การทองเทยี่ ว คือ การลองแพ อยางตอ เน่ือง และขาด ใหกับคนในชมุ ชน การปลกู
- งานหตั ถกรรมชุมชนหมู 12 งานจากกาบกลวย การขับเคลอ่ื นกจิ กรรมของกลมุ ผกั สวนครวั ปลอดภยั
หมู 11 งานจักสานผา การสง เสรมิ การเล้ยี งผ้งึ โกน


Click to View FlipBook Version