การเรียนรูโ้ ดยใช้สมองเปน็ ฐาน
(Brain-based Learning) : BBL
โครงการพัฒนาศกั ยภาพขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ในสงั กัดสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 1
การเรียนรู้โดยใชส้ มองเปน็ ฐาน(Brain based Learning: BBL)
เปน็ การเรยี นรูท้ ี่ใชโ้ ครงสรา้ งหน้าท่ขี องสมองเป็นเครือ่ งมอื ในการเรยี นรู้โดยไม่สกดั กั้น
การทาํ งานของสมอง
เปน็ การสง่ เสริมให้สมองไดป้ ฏิบัติหนา้ ทใี่ หส้ มบรู ณ์ที่สุด ภายใตแ้ นวคิดท่วี ่า
“ทกุ คนสามารถเรยี นรไู้ ดเ้ พราะทุกคนมสี มองพรอ้ มทีจ่ ะเรยี นรมู้ าตง้ั แตก่ ําเนดิ ”
เป็นการสอนใหส้ อดคล้องกับวิธกี ารทาํ งานของสมองแทนทจี่ ะสอดคลอ้ งกับอายชุ น้ั เรียน
หรอื หอ้ งเรียนเพราะเดก็ ทอ่ี ายเุ ท่ากนั อาจมีสมองไม่เหมอื นกันมีความสามารถแตกต่างกนั
มีความสนใจแตกต่างกนั ดว้ ยการใชค้ วามรูค้ วามเขา้ ใจทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั สมอง
เป็นเคร่อื งมือในการออกแบบกระบวนการเรียนรแู้ ละกระบวนการอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งเพื่อ
สร้างศกั ยภาพสูงสุดในการเรยี นรูข้ องมนษุ ย์อย่างเหมาะสม
การทางานของสมอง
สมองกบั การเรียนรู้
1. คนเราเกดิ มาพรอ้ มกบั จานวนเซลลส์ มองที่เพยี งพอตอ่ การดารงชวี ติ
2. การขยายตัวของสมองไม่ได้มาจากการเพ่ิมจานวนเซลล์ของสมอง
แต่มาจาก “ ใยประสาท ”
3. สมองมีความยืดหยุ่น หากเราใช้สมองในการแก้ไขปัญหา สมองก็จะมี
การสรา้ งใยประสาทเพ่มิ ขน้ึ แตถ่ า้ ไมไ่ ดใ้ ชใ้ ยประสาทกจ็ ะถูกทาลายลงไป
สมองกบั การเรยี นรู้ (ตอ่ )
4. อารมณ์มีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้ โดยอารมณ์จะเป็นตัวช่วยเรา
ในการเรยี กความทรงจาเดมิ ที่เก็บไวใ้ นสมอง
5. ภาวะของสมองท่ีเหมาะสมท่ีสุดต่อการเรียนรู้ว่าความตื่นตัวแบบผ่อนคลาย
(Relaxed alertness)
6.การเรียนรู้จะประสบความสาเร็จท่ีสุดเมื่อกิจกรรมการเรียนรู้เก่ียวข้อง
โดยตรงกับประสบการณท์ างกายภาพทเ่ี ป็นรปู ธรรมจับต้องได้
สมองกับการเรียนรู้ (ตอ่ )
7. เราจะจาส่ิงต่าง ๆ ได้แม่นยาที่สุดเมื่อข้อเท็จจริงต่าง ๆ และทักษะฝังอยู่
ในจากกิจกรรมในชีวิตจริงตามธรรมชาติ ซ่ึงจะทาให้เกิดความจาการเรียนรู้
โดยอาศัยประสบการณ์
8. เราเรยี นรู้สง่ิ ตา่ ง ๆ เหลา่ นัน้ โดยการปฏิบัติ หรือการฝกึ ทา
สมองกับการเรยี นรู้ (ตอ่ )
9. สมองซีกซา้ ย คือ ตรรกะ ตวั เลข การวิเคราะห์
10. สมองซีกขวา ส่งั การเกี่ยวกับ ศิลปะ ดนตรี จนิ ตนาการ การสงั เคราะห์
หลกั การ 12 ข้อ ของการเรียนร้โู ดยใชส้ มองเป็นฐาน (BBL)
1. สมองนั้นทางานพร้อมกนั หลายๆ สว่ น ซ่งึ สมองจะเกิดการเรียนรู้ไดด้ ีใน
สภาพแวดลอ้ มท่ีมสี ิ่งเร้าอยา่ งหลากหลาย
2. ศักยภาพในการเรียนรนู้ ั้นมีความเกย่ี วข้องกับพัฒนาการเจรญิ เติบโต
บุคลกิ ภาพ ลักษณะนสิ ัย และสภาวะอารมณ์
3. ความสงสัยใคร่รู้เป็นสิ่งท่ีมีมาตามธรรมชาติและติดตัวมาต้ังแต่เกิด
ซงึ่ สมองนนั้ ก็ถูกออกแบบมาเพ่ือรบั รแู้ ละขบคดิ เพ่ือค้นหาคาตอบ
หลกั การ 12 ขอ้ ของการเรยี นรโู้ ดยใชส้ มองเป็นฐาน (BBL)
4.การคน้ หาคาตอบของมนษุ ยเ์ ป็นกจิ กรรมท่เี ป็นรูปแบบ
5.อารมณ์ความรู้สกึ ไม่ได้แยกออกจากการเรยี นรู้ ซึ่งมีความสาคัญมากต่อการ
จดจาข้อมูล รวมไปถึงการเรยี กใช้ข้อมูล
6.สมองแต่ละส่วนนั้นทางานท้ังแบบเฉพาะด้าน และประสานสัมพันธ์กับส่วน
อ่ืนๆ
หลกั การ 12 ข้อ ของการเรยี นรโู้ ดยใชส้ มองเป็นฐาน (BBL)
7.การเรียนรนู้ น้ั จะเกิดขน้ึ ไดต้ อ่ เม่ือผู้เรียนสนใจและใส่ใจในการเรยี นรู้
8.การเรียนเปน็ สิ่งท่ีมีความเกี่ยวขอ้ งกับจิตสานกึ และจิตใต้สานกึ
9.มนุษย์มีความทรงจา 2 ประเภท คือความทรงจาที่มาจากประสบการณ์ใน
ชวี ิตประจาวนั และความทรงจาท่มี าจากการท่องจา
10.ความเข้าใจที่ดีของสมองจะเกิดจากข้อมูลและทักษะจากความทรงจาที่มา
จากประสบการณจ์ รงิ
หลกั การ 12 ขอ้ ของการเรยี นรโู้ ดยใชส้ มองเปน็ ฐาน (BBL)
11. แรงเสริมทางบวกมีผลดีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน แต่ถ้าผู้เรียนได้รับส่ิง
ไม่พึงพอใจจากการคุกคามทางความรู้สึก ความเครียดและความวิตกกังวล
ก็จะทาใหส้ มองไม่เกิดการเรยี นรู้
12. สมองของมนุษย์น้ันมีความแตกต่างกันแต่โครงสร้างสมองของแต่ละคน
สามารถเปลย่ี นแปลงได้
พ้นื ฐาน 3 ขอ้ ของการเรียนร้โู ดยใช้สมองเปน็ ฐาน (BBL)
1. การทาให้เด็กเกิดการตื่นตัวแบบผ่อนคลาย
2. การทาให้เดก็ จดจอ่ ในส่งิ เดียวกัน
3. การทาให้เกดิ ความรจู้ ากการกระทาดว้ ยตนเอง
การเรยี นรู้โดยใชส้ มองเปน็ ฐานกบั การประยกุ ตใ์ ชใ้ นห้องเรยี น
ด้านหลักสูตร ต้องออกแบบการเรียนรู้ให้ครอบคลุมความสนใจของผู้เรียนและสร้าง
กรอบการสอนสาหรบั การเรียนรู้
การสอน ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างหลากหลายใช้การเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมภายนอก
ห้องเรียนและภายในห้องเรียน ผู้สอนกาหนดโครงสร้างการเรียนรู้ครอบคลุมปัญหา
ทเ่ี กิดขนึ้ จรงิ และคอยให้กาลงั ใจผ้เู รียน
การประเมิน ผู้สอนควรแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และหลักการวัดผลประเมินผลให้
ผเู้ รยี นทราบกอ่ นเรียน
บทบาทของครู
1. ครสู รา้ งบรรยากาศในการจดั ประสบการณ์
2. จดั สงิ่ แวดลอ้ มเพื่อสง่ เสริมการเรยี นรู้
3. ปฏิสัมพนั ธร์ ะหวา่ งครูกบั นักเรยี น
4. ให้แรงเสรมิ ในทางบวก
5. สงั เกตและจดบนั ทกึ ตามแบบบันทกึ
หลักการวัดและประเมินผล
1. เนือ้ หา (Content) ผเู้ รยี นรู้อะไร
2. อารมณ์(Emotions) ผูเ้ รยี นรู้สกึ กบั สิ่งที่เรียนอยา่ งไร
3. บรบิ ท (Context) ผ้เู รียนเชื่อมโยงสงิ่ ท่เี รียนกบั บริบท
4. กระบวนการ(Processing) ผเู้ รยี นจัดการกับขอ้ มูลอยา่ งไร
เคล็ดลับปรับห้องเรยี นแบบ BBL (Brain-based Learning)
1. เตรียมปรบั ห้องเรียนใหม่
นักเรียนมีส่วนร่วมเปิดโอกาสให้นักเรียนช่วยกันทาความสะอาดและทาสีโต๊ะของ
ตัวเองเพ่ือลดภาวะของคุณครูและภารโรงการใช้กระดาษทรายขัดโต๊ะก่อนทาสีจะทาสี
ติดดีและดเู รยี บรอ้ ย
ทาความสะอาดพนื้ หอ้ งเรียนและบรเิ วณโรงเรยี น
ทาความสะอาดโตะ๊ เรยี นของตวั เอง
เก็บสง่ิ ที่ไม่ได้ใช้ออกจากห้องเรียน
เคลด็ ลบั ปรับห้องเรยี นแบบ BBL (Brain-based Learning)
2.ปรับสีผนังห้องเรียน ห้องเรยี นควรมีสีสันกระตุ้นสมองการใชค้ ู่สีท่ีเข้ากันจะทาให้ห้อง
ดสู วยงามแต่ทีส่ าคัญคือทาใหห้ ้องร้สู ึกมีเอกภาพเปน็ ระบบทาให้ครูสามารถควบคุมช้ันเรียนไดง้ ่าย
ทาความสะอาดพื้นห้องเรยี นและบริเวณโรงเรียน ควรใช้สีเดียวทั้งห้องหรอื เลือกทาสีเฉพาะด้านใด
ดา้ นหนง่ึ ของห้องอาจเลอื กใชส้ องสีได้ สิง่ ท่ีไม่ควรทา
ไมค่ วรใชส้ ีสะท้อนแสงเพราะรบกวนสายตาของนกั เรยี น
ไม่ใชส้ ีโทนมดื หรือสเี ขม้ เช่น มว่ ง แดง นา้ เงิน สม้ เขม้
ในหอ้ งเรียนไมค่ วรใชส้ เี กนิ 2 สี ถ้าใชใ้ ห้เนน้ สีอ่อน
พน้ื ห้องควรเปน็ สเี รียบ ไมใ่ ช้กระเบื้องลาย เพราะจะทาใหห้ อ้ งดูไม่สงบรบกวนสมาธิ
หนา้ ต่างและประตูควรจะเปน็ สโี ทนเดียวกันหมด
เคล็ดลับปรบั ห้องเรียนแบบ BBL (Brain-based Learning)
3. การปรบั ปรุงโต๊ะเรียนและเก้าอ้ี
โต๊ะเรียนและเก้าอี้ควรใช้สีโทนอ่อน เช่น เขียวอ่อน เหลืองอ่อน ชมพูอ่อน ฟ้าอ่อน
หลกี เลย่ี งสโี ทนเขม้ สมี ืด เช่น นา้ ตาล ดา แดงเข้ม เขยี วแก่ สโี ทนเข้ม สีมืด
ไม่ชว่ ยกระต้นุ สมอง ทาใหส้ มองปดิ ต่อการเรียนรู้
เคล็ดลับปรับห้องเรียนแบบ BBL (Brain-based Learning)
3. การจัดโต๊ะเรียน การจัดโต๊ะเรียนท่ีดี มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ต่อการสอนของคุณครู
อย่างไรกต็ ามลกั ษณะการจัดโตะ๊ เรยี นขน้ึ อย่กู บั วิธีการสอนทค่ี ุณครถู นดั ดว้ ยเช่นกัน
เหมาะสาหรับการสอนทีใ่ ชก้ ระดานดาเป็นหลกั การสอนทเ่ี นน้ ใหเ้ ด็กลงมือทากิจกรรมเอง การสอนที่จะเปน็ ต้องใชก้ ระดานดา ไมเ่ นน้
หรอื เปน็ กล่มุ มีการอภิปรายสนทนา กิจกรรมกลมุ่ แตต่ อ้ งการทาใหห้ อ้ งเรียนดแู ปลก
ใหมแ่ ละนา่ สนใจทาให้เดก็ รสู้ กึ มสี ่วนร่วม
การจัดการเรียนการสอนแบบ BBL (Brain-based Learning)
ตวั อย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ BBL (Brain-based Learning)
สรุปการจัดการเรียนการสอนแบบ BBL (Brain-based Learning)
การจดั การเรยี นรู้ทส่ี อดคลอ้ งกบั พฒั นาการทางสมอง (Brain-based Learning) จะมีส่วนช่วย
ให้นักเรยี นสามารถพัฒนาความรคู้ วามเขา้ ใจตลอดจนพฒั นาทักษะการคดิ ของนักเรยี นใหเ้ พ่มิ มากข้ึน
เนอ่ื งจากเปน็ การจดั การเรยี นรทู้ ี่ได้รับการออกแบบเพื่อตอบสนองความแตกตา่ งของสมองในผเู้ รยี นในแตล่ ะวัย
ซง่ึ แนวปฏบิ ตั ิตามแนวคิดดงั กลา่ วครผู ้สู อนสามารถนาไปใชเ้ ปน็ ฐานคิดในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ให้
เหมาะสมกับผเู้ รยี นในชน้ั เรียน แตค่ รผู ้สู อนกย็ งั คงต้องตระหนักวา่ เนื่องจากเด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกนั
ทง้ั พฒั นาการทางสมองและบริบทของสังคมทแ่ี วดล้อม ดังนั้นคงไม่อาจใช้วิธีการสอนใดเพยี งวิธีการเดยี วได้
ตลอดเวลา หากแตค่ รูต้องวิเคราะห์และพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบว่าควรจะนาหรอื ประยุกตว์ ิธกี ารสอนรูปแบบใดบา้ ง
เพอ่ื นาไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนใหก้ ับผเู้ รียนจงึ จะเกดิ ประสิทธภิ าพสูงสุด