The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศศิธร นาม่วงอ่อน, 2019-08-22 14:07:38

บทที่ 1

บทที่ 1

1

บทท่ี 1

บทนำ

ควำมเป็ นมำของปัญหำ
ปัจจุบนั โลกเริ่มเข้าสยู่ ุคระบบเศรษฐกิจและสงั คมดิจิทลั ท่ีเทคโนโลยีดิจิทลั จะไม่ได้เป็น

เพียงเคร่ืองมือสนบั สนนุ การทางานเฉกเช่นท่ีผ่านมาอีกตอ่ ไป หากแต่จะหลอมรวมเข้ากบั ชีวิตคน
อย่างแท้จริงและจะเปล่ียนโครงสร้ างรูปแบบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กระบวนการผลิต การค้า
การบริการ และกระบวนการทางสงั คมอ่ืน ๆ รวมถึงการมีปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลไปอยา่ งสนิ ้ เชิง
ประเทศไทยจึงต้องเร่งนาเทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้เป็นเครื่องมือสาคญั ในการขบั เคลอ่ื นการพัฒนา
ประเทศ โดยในบริบทของประเทศไทยเทคโนโลยีดจิ ิทลั สามารถตอบปัญหาความท้าทายทป่ี ระเทศ
กาลงั เผชิญอยู่หรือเพ่ิมโอกาสในการพฒั นาทางเศรษฐกิจและสงั คม และด้วยตระหนกั ถึงความท้า
ทายและโอกาสต่าง ๆ นนั้ รัฐบาลไทยโดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร จึงได้
จัดทาแผนพฒั นาดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมขนึ ้ เพ่ือใช้เป็นกรอบในการผลกั ดนั ให้เทคโนโลยี
ดิจิทัลเป็นกลไกสาคญั ในการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ ซ่ึงรวมถึงการปรับเปลีย่ น
กระบวนทศั น์ทางความคิดในทุกภาคสว่ น การปฏิรูปกระบวนการทางธุรกิจ การผลิต การค้า และ
การบริการ การปรับปรุงประสทิ ธิภาพการบริหารราชการแผน่ ดิน และการยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ของ
ประชาชน ท่ีจะนาไปสคู่ วามม่ันคง ม่ังคั่ง และยัง่ ยืนของประเทศไทยตามนโยบายของรัฐบาล
ซ่งึ วิสยั ทศั น์และเปา้ หมายของการพฒั นาม่งุ เน้นการพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ืองในระยะยาวอยา่ งยง่ั ยืน
ให้สอดคล้องกบั การจัดทายทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร,
2559)

จากพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 และท่แี ก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ 2)
พุทธศกั ราช 2545 หมวด 4 มาตรา 24 ได้กลา่ วถึง การจดั กระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศกึ ษาและ
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องดาเนินการ ดังต่อไปนี ้คือ 1) จัดเนือ้ หาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกบั
ความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 2) ฝึกทักษะ
กระบวนการคิด การจดั การ การเผชิญสถานการณ์และการประยกุ ต์ความรู้มาใช้เพ่ือปอ้ งกันและ
แก้ไขปัญหา 3) จดั กิจกรรมให้ผ้เู รียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบตั ิให้ทาได้ คดิ เป็น
ทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่ รู้อย่างต่อเนื่อง 4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระ
ความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทัง้ ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ีดีงามและ

2

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา 5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ
สภาพแวดล้อม สอ่ื การเรียนและอานวยความสะดวกเพื่อให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้
รวมทงั้ สามารถใช้การวจิ ยั เป็นสว่ นหนงึ่ ของกระบวนการเรียนรู้ ทงั้ นี ้ผ้สู อนและผ้เู รียนอาจเรียนรู้ไป
พร้อมกันจากส่ือการเรียนการสอนและแหลง่ วิทยาการประเภทต่าง ๆ 6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขนึ ้ ได้
ทกุ ทท่ี กุ เวลาทกุ สถานท่ี (สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ สานกั นายกรัฐมนตรี, 2545)
จงึ จาเป็นต้องจดั การเรียนการสอนให้ตอบสนองตอ่ แนวทางดงั กลา่ วในการพฒั นาทกั ษะการคิด

ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพฒั นาและเสริมสร้ างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ในด้านการ
ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ ได้กล่าวถึงการ
ปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ให้เอือ้ ต่อการพัฒนาทักษะสาหรับศตวรรษท่ี ๒๑ โดยออกแบบ
กระบวนการเรียนรู้ในทกุ ระดบั ชนั้ อยา่ งเป็นระบบ ตงั้ แตร่ ะดบั ปฐมวยั จนถึงอุดมศึกษาทม่ี งุ่ เน้นการ
หลอ่ หลอมทกั ษะการเรียนรู้และความคิดสร้ างสรรค์ที่ผู้เรียนสามารถนาองค์ความรู้ไปใช้ในการ
สร้างรายได้หลายช่องทาง รวมทงั้ การเรียนรู้ด้านวิชาชีพและทกั ษะชีวติ สอดคล้องกบั จุดเน้นและ
ประเด็นพฒั นาหลกั ในชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมฉบบั ท่ี ๑๒ ในด้านการเตรียมพร้อมด้าน
กาลงั คนและการเสริมสร้ างศกั ยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย ท่ีต้องการพฒั นาทกั ษะความรู้
ความสามารถของคน เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการในตลาดแรงงานและทกั ษะที่จาเป็นต่อ
การดารงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ของคนในแต่ละช่วงวยั ตามความเหมาะสม เช่น เด็กวยั เรียนและ
วยั รุ่นพฒั นาทกั ษะการวเิ คราะห์อยา่ งเป็นระบบ มีความคดิ สร้างสรรค์รวมทงั้ การให้ความสาคญั กบั
การพฒั นาให้มีความพร้อมในการตอ่ ยอดพฒั นาทกั ษะในทกุ ด้าน

สภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) ได้เปิ ดเผย 10 ทักษะสาคัญท่ีเป็ นท่ี
ต้องการในตลาดงานในปี 2020 มากท่ีสดุ รองรับยคุ ดจิ ิทลั พบวา่ ความคดิ สร้างสรรค์ อยใู่ นอนั ดบั ที่
3 ทงั้ ๆ ที่ในปี 2015 ทกั ษะความคิดสร้างสรรค์อยอู่ นั ดบั สดุ ท้าย จะเห็นได้วา่ ในยคุ ดิจิทลั ความคดิ
และไอเดียสามารถถูกเผยแพร่ได้อย่างรวดเร็ว ดงั นนั้ ความสร้างสรรค์จึงสาคญั มากในการสร้ าง
ความแตกต่าง (กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี, 2560) สอดคล้องกับการสารวจความต้องการจาก
นายจ้างที่ประสบความสาเร็จในประเทศสมาชิกกวา่ 34 ประเทศขององค์การเพือ่ ความร่วมมือทาง
เศรษฐกิจและการพฒั นา (OECD) พบวา่ นายจ้างคาดหวงั ให้ลกู จ้างมีทกั ษะด้านการคิดวิเคราะห์
และความคิดสร้ างสรรค์สงู ที่สุด (สานักงานสง่ เสริมสงั คมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน,
2558)

จากท่กี ลา่ วมาจะเห็นได้วา่ ความคิดสร้างสรรค์เป็นสง่ิ ที่มีความสาคญั และจาเป็นตอ่ การ
พฒั นาสงิ่ ตา่ ง ๆ เพราะจะทาให้สามารถมองเหน็ แนวทาง วิธีการ รวมทงั้ โอกาสใหม่ ๆ ในการพฒั นา

3

นวตั กรรม เพิ่มโอกาสประสบความสาเร็จ และเป็นท่ีต้องการอย่างย่ิงในศตรรษที่ 21 และจดั เป็น
ความสามารถขนั้ สงู สดุ ด้านพทุ ธิพิสยั ตามแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ของบลมู (Bloom’s Taxonomy)
เนอื่ งจากเป็นความสามารถในการออกแบบ วางแผน ผลติ นาเสนอสง่ิ ใหม่ท่ีตา่ งไปจากเดมิ ดงั นนั้
หลกั สูตรทุกระดับต่างให้ความสาคัญกับความคิดสร้ างสรรค์ และพยายามส่งเสริมให้ผู้เรียนมี
ความสามารถดงั กลา่ ว เพ่ือให้มีทกั ษะท่ีสาคญั ในการทางานท่ีมีประสทิ ธิภาพต่อไปเม่ือเข้าสูก่ าร
ประกอบอาชีพในอนาคต (บญุ ชู บญุ ลขิ ติ ศิริ, 2560)

การเรียนการสอนหลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศึกษา
คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร เป็นการเรียนการสอนหลกั สตู รหนงึ่ ที่มีแนวทางในการ
พฒั นาหลกั สตู รที่เน้นการพฒั นาศกั ยภาพของผู้เรียน เพื่อม่งุ สวู่ ิชาชีพเทคโนโลยีและการสื่อสาร
การศึกษาหรือนกั เทคโนโลยีการศกึ ษาที่มีความรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะด้านเทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยดี ิจิทลั การสอ่ื สารการศกึ ษา ซึ่งผ้ทู ี่สาเร็จการศึกษาต้องสามารถคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วางแผน ออกแบบ พฒั นา ประยกุ ต์ใช้ บริหารจดั การและประเมิน ทงั้ ในรูปแบบสอ่ื พืน้ ฐาน สอ่ื โสต
ทศั น์ ส่อื มัลติมีเดีย สอ่ื ดิจิทลั สื่อออน์ไลน์ สอื่ เครือข่ายสงั คม การประยุกต์ความรู้ ศาสตร์ เทคนิค
วิธีการ เพ่อื การเรียนรู้ในระบบ นอกระบบ การเรียนตามอชั ญาสยั การเรียนรู้ตลอดชีวิตได้

โดยมีรายวชิ าพนื ้ ฐานศิลปะและการออกแบบกราฟิก ท่ีนกั ศกึ ษาต้องลงทะเบยี นเรียนใน
รายวิชาดงั กลา่ ว ซึ่งเป็นรายวิชาพืน้ ฐานท่ีต้องการให้ผ้เู รียนได้ฝึกทกั ษะ ฝึกการคิด และมีความคดิ
สร้างสรรค์ เพ่ือให้สามารถออกแบบสอ่ื กราฟิ กเพื่อการส่ือสารหรือเพ่ือการเรียนการสอนได้ และ
สามารถใช้เทคนิคในการวิเคราะห์และออกแบบที่เหมาะสม มีวิจารณญาณในการวิเคราะห์
กระบวนการการออกแบบ การผลิตสอ่ื ทางด้านกราฟิกเพ่อื นามาใช้ในการศึกษา การประยกุ ต์งาน
กราฟิ กผลติ สอ่ื เพือ่ การเรียนรู้ โดยวิธีการเรียนการสอนเป็นการบรรยาย การให้กรณีศกึ ษาและการ
ฝึกปฏิบัติ โดยท่ีผู้เรียนต้องสร้างสรรค์ชิน้ งานท่ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาต่าง ๆ หรือ
อาชีพตา่ ง ๆ ที่สนใจได้ในอนาคต จากการเรียนการสอนในรายวิชาพืน้ ฐานศิลปะและการออกแบบ
กราฟิก พบวา่ ผ้เู รียนยงั มีความคดิ สร้างสรรค์น้อย ซง่ึ เหน็ ได้จากชิน้ งานตา่ ง ๆ ที่ผ้เู รียนได้สร้างสรรค์
ขึน้ ดังนนั้ จึงต้องส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ให้มากขึน้ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการสร้ างสรรค์
ผลงานหรือนวตั กรรมใหม่ ๆ ได้ ซ่งึ สอดคล้องกับ ประภสั สร เพชรสมุ่ (2558) ที่กลา่ วไว้วา่ ปัจจุบนั
การเรียนรู้ของผ้เู รียนถกู ผกู ขาดโดยการบอกของครู ทาให้ผ้เู รียนไม่เกิดการฝึกทกั ษะการคิด และไม่
สามารถตอ่ ยอดความรู้ต่าง ๆ ได้ ซึง่ ทกั ษะดงั กลา่ วเป็นสง่ิ ที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 ดงั นนั้ ครูยุค
ใหม่จึงจาเป็นต้องจดั การเรียนการสอนให้สอดคล้องกบั ยคุ สมยั ท่ีเปลย่ี นไป เพื่อการให้การเรียนรู้
ของผ้เู รียนมีความคงทนและสามารถนามาปรับใช้กบั บริบทตา่ ง ๆ ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

4

การเรียนรู้เชิงรุก เป็นกระบวนการเรียนการสอนอยา่ งหนึ่งที่สามารถสง่ เสริมความคิด
สร้างสรรค์ได้ ซงึ่ การเรียนรู้เชิงรุก คอื กระบวนการท่ผี ้เู รียนได้ลงมือกระทาและได้ใช้กระบวนการคิด
เก่ียวกบั สง่ิ ที่เขาได้กระทาลงไป เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผ้เู รียนได้มีบทบาทในการ
แสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสมั พนั ธ์กับเพื่อน ผู้สอน และส่ิงแวดล้อมผ่านการปฏิบัติ
จนเกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และพัฒนาตนเองเต็ม
ศกั ยภาพ สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ (Bonwell & Eison, 1991) ทาให้ผ้เู รียนเป็น
คนกล้าคิด กล้าตัดสินใจ แก้ปัญหาเป็น คิดอย่างรอบคอบมีเหตุผล มีวิจารณญาณในการคิด
มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ท่ีข้อมลู ในการสร้างงานตา่ ง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม โดยผ้สู อนต้องออกแบบกิจกรรมท่ีเน้นผ้เู รียนเป็นสาคญั ซึง่ สอดคล้องกบั งานวิจยั ของ
นิพาดา ไตรรัตน์ (2559) ได้ศกึ ษา รูปแบบห้องเรียนกลบั ทางเสมือนจริงทีม่ ีฐานความช่วยเหลอื ด้วย
การเรียนรู้เชิงรุกเพอื่ พฒั นาความคิดสร้างสรรค์และการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ของ
นกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรี พบวา่ คะแนนความคิดสร้างสรรค์และการรู้เทคโนโลยี สารสนเทศและ
การสอื่ สารหลงั เรียนสงู กวา่ กอ่ นเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติทร่ี ะดบั .05

นอกจากการเรียนรู้เชิงรุกแล้วเทคโนโลยีดิจิทลั ก็สามารถนามาประยุกต์ใช้ร่วมกับการ
เรียนรู้เชิงรุกได้ สอดคล้องคากลา่ วของ อญั ญาณี สมุ น และอุทิศ บารุงชีพ (2561) ท่กี ลา่ ววา่ การใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้เชิงรุกนนั้ สามารถตอบสนองแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยเน้น
ผ้เู รียนเป็นสาคญั เป็นอีกทางเลือกหนงึ่ ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ตอบสนอง
แนวการจดั การเรียนรู้แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2574 ทไี่ ด้กลา่ ววา่ สถานศกึ ษาทกุ ระดบั
สามารถจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลกั สตู รอยา่ งมีคณุ ภาพ ม่งุ พฒั นาผ้เู รียนให้มีคณุ ลกั ษณะและ
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นั่นคือทักษะการคิด และมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะท่ี
สอดคล้องกับนโยบายยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 และสอดคล้องกับคากล่าวของ เจนจิรา
เงินจนั ทร์ (2561) ที่กลา่ ววา่ การจัดการเรียนโดยนาเทคโนโลยีมาประยกุ ต์ใช้กบั การจัดการเรียน
แบบ Active Learning หรือการเรียนรู้เชิงรุก จะทาให้ผ้เู รียนเกิดการกระต้นุ อีกทงั้ ยงั เป็นรูปแบบทีม่ ี
ความท้าทายความสามารถของผู้เรียน เพราะสนับสนุนสง่ เสริมให้คิดเอง ทาเอง และสามารถ
แก้ปัญหาของตนเองได้ เรียนรู้ให้สงิ่ ใหม่ท่ีเกิดประโยชน์ตอ่ ตนเองสามารถร่วมปฏิบตั ิงานกับผ้อู ื่น
ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการกาหนดจุดมงุ่ หมายในการเรียนรู้ เรียนรู้อย่างมีความหมาย และสนกุ สนาน
โดยมีผ้สู อนเป็นผ้อู านวยความสะดวก

จากท่ีได้กลา่ วมาข้างต้น ผ้วู ิจัยจึงมีความตงั้ ใจที่จะพฒั นารูปแบบการจดั การเทคโนโลยี
ดิจิทัลร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี

5

เพื่อเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความคิดสร้ างสรรค์ และมุ่งหวังให้เกิดการปรับเปลี่ยนในการ
จัดการเรียนการสอนให้มีการนาเทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้ในการเรียนการสอน ซ่ึงจะช่วยให้ผ้เู รียนมี
ความสนใจในการเรียนรู้มากขนึ ้

คำถำมกำรวจิ ยั
1. รูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทัลร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริมความคิด

สร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีควรมีองค์ประกอบอะไรบ้าง
2. รูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทัลร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุก เพ่ือส่งเสริมความคิด

สร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีตามองค์ประกอบทพ่ี ฒั นาขนึ ้ มีประสทิ ธิภาพเพยี งใด
3. รูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทัลร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริมความคิด

สร้างสรรค์ของนกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรีอย่างมีคุณภาพนนั้ สามารถสง่ เสริมความคิดสร้างสรรค์
ได้เพียงใด

วตั ถปุ ระสงค์ของกำรวิจัย
1. วตั ถปุ ระสงค์ท่วั ไป

1.1 เพอ่ื พฒั นารูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทลั ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก เพอื่ สง่ เสริม
ความคดิ สร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี
2. วตั ถุประสงค์เฉพำะ

2.1 เพื่อศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทัลร่วมกับการเรียนรู้
เชิงรุก เพอ่ื สง่ เสริมความคดิ สร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

2.2 เพื่อสร้างและหาประสทิ ธิภาพของรูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทลั ร่วมกบั การ
เรียนรู้เชิงรุก เพือ่ สง่ เสริมความคดิ สร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

2.3 เพอื่ ศกึ ษาผลของการใช้รูปแบบการจดั การเทคโนโลยีดจิ ิทลั ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก
เพอ่ื สง่ เสริมความคดิ สร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

2.3.1 เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาหลงั การเรียนกับเกณฑ์
โดยใช้รูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทลั ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก เพอ่ื สง่ เสริมความคิดสร้างสรรค์
ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

2.3.2 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อการเรียนด้วยรูปแบบการ
จดั การเทคโนโลยดี จิ ิทลั ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก เพือ่ สง่ เสริมความคดิ สร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาระดบั
ปริญญาตรี

6

ขอบเขตของงำนวิจัย
1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
ประชากรที่ใช้ในการวจิ ยั ได้แก่ นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยแี ละ

สอื่ สารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร จานวน 143 คน
กลมุ่ ตวั อยา่ งทใี่ ช้ในการวจิ ัย ได้แก่ นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยี

และสอื่ สารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ที่ลงทะเบยี นเรียนรายวิชา พนื ้ ฐาน
ศลิ ปะและการออกแบบกราฟิก ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 จานวน 36 คน

2. ตวั แปรทใี่ ช้ในการวิจยั
ตวั แปรต้น ได้แก่ การเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทลั

ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก เพื่อสง่ เสริมความคิดสร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี
ตวั แปรตาม ได้แก่ ความคดิ สร้างสรรค์ และความพงึ พอใจของนกั ศึกษาท่ีมีตอ่

การเรียนโดยใช้รูปแบบการจดั การเทคโนโลยีดิจิทลั ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก เพ่ือสง่ เสริมความคิด
สร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

ควำมสำคญั ของกำรวิจยั
1. ได้รูปแบบการจดั การเทคโนโลยีดิจิทลั ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก เพื่อสง่ เสริมความคิด

สร้ างสรรค์ของนกั ศึกษาระดับปริญญาตรีอันจะเป็นประโยชน์สาหรับอาจารย์ผู้สอนเพื่อใช้เป็น
แนวทางในการจดั การเทคโนโลยีดจิ ิทลั กบั การเรียนการสอน

2. เป็นแนวทางในการสร้างองค์ความรู้ใหมส่ าหรับการศกึ ษาในอนาคต

นิยำมศัพท์เฉพำะ
กำรพัฒนำ หมายถึง การสร้างและจดั การองค์ประกอบของเทคโนโลยีดิจิทลั ท่ีร่วมกบั

การเรียนรู้เชิงรุก เพื่อสง่ เสริมความคดิ สร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี
รูปแบบ หมายถึง องค์ประกอบท่ีมีความสมั พนั ธ์กนั เป็นขนั้ ตอนและกิจกรรมซง่ึ แสดง

ด้วยภาพและความเรียงทส่ี ามารถเข้าใจได้งา่ ย
กำรจัดกำร หมายถึง การบูรณาการในการใช้เทคโนโลยีดิจิทลั ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก

ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ
เทคโนโลยีดจิ ิทัล หมายถงึ เทคโนโลยกี ารนาเสนอข้อมูลสารสนเทศหรือข้อความผ่าน

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ อาทิ คอมพิวเตอร์
โทรศพั ท์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แอปพลเิ คชนั่ และสอ่ื ออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ในการ

7

สื่อสารเพ่ือการเรียนรู้ การปฏิบตั ิงาน และการทางานร่วมกนั หรือใช้เพ่ือพฒั นากระบวนการเรียน
การสอน หรือระบบงานในสถานศกึ ษาให้มีความทนั สมยั และมีประสทิ ธิภาพ

กำรเรียนรู้เชิงรุก หมายถึง การเรียนรู้ผ่านการปฏิบตั ิหรือการลงมือทา ซ่ึงความรู้ที่
เกิดขนึ ้ เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ กระบวนการในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ้เู รียนต้องลง
มือทามากกวา่ การฟังเพยี งอยา่ งเดียว

ควำมคิดสร้ำงสรรค์ หมายถงึ ความสามารถในการคิดนอกกรอบของผ้เู รียนท่ีสามารถ
สร้ างแนวคิดใหม่หรือส่ิงใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิมได้ โดยอาศัยความสามารถคิดดัดแปลง
ผสมอผสานความคิด ประสบการณ์ ความรู้ ให้เกิดความแตกต่างและเป็นสิ่งแปลกใหม่ท่ีมี
ประโยชน์

รูปแบบกำรจัดกำรเทคโนโลยีดิจิทัลร่ วมกับกำรเรี ยนรู้เชิงรุ ก หมายถึง
ความสมั พนั ธ์ขององค์ประกอบ ขนั้ ตอน และกิจกรรมทพี่ ฒั นาขนึ ้ โดยการนาเทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้
ในการเรียนการสอนร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก ซงึ่ เป็นการเรียนท่ีผ้เู รียนได้เรียนรู้ผา่ นการลงมือปฏิบัติ
และได้แสวงหาความรู้ โดยการใช้เทคโนโลยีท่ีจะช่วยกระต้นุ ให้ผ้เู รียนมีความกระตือรือร้นในการ
เรียน

องค์ประกอบของรูปแบบ หมายถึง ผลของการวิเคราะห์สงั เคราะห์แนวคิด ทฤษฎี และ
การวิเคราะห์ผลการสมั ภาษณ์ของผ้เู ช่ียวชาญ ท่ีนามาประกอบกันเพ่ือกาหนดเป็นองค์ประกอบ
หลกั และองค์ประกอบยอ่ ยของรูปแบบ

ประสิทธิภำพของรูปแบบ หมายถึง ความรู้ ความสามารถที่นกั ศึกษาได้รับหลงั การ
เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทัลร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์ท่ีพฒั นาขนึ ้ ได้จากการทดลองใช้กบั นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี พิจารณาจากผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียนของนกั ศึกษา ซ่ึงหาได้จากค่าร้ อยละของคะแนนเฉล่ียจากการทากิจกรรมระหว่าง
เรียนและคา่ ร้อยละของคะแนนหลงั เรียน แล้วนามาเปรียบเทียบกนั ในรูปแบบ E1/E2 โดยถือเกณฑ์
80/80 โดยกาหนดคา่ ดงั นี ้

80 ตวั แรก หมายถึง คา่ คะแนนเฉล่ียของนกั ศกึ ษาทงั้ หมดจากการทากิจกรรม
ระหวา่ งเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทลั ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก เพ่ือสง่ เสริมความคิด
สร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

80 ตัวหลัง หมายถึง ค่าคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาทัง้ หมดจากการทา
แบบทดสอบหลงั เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทลั ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก เพอ่ื สง่ เสริม
ความคิดสร้างสรรค์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

8

ผลกำรใช้ รูปแบบ หมายถึง ผลของการใช้รูปแบบที่ผู้วิจัยสร้ างขึน้ ประกอบด้วย
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ผลความคิดสร้างสรรค์ และผลความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาท่มี ีตอ่ การเรียน
โดยใช้รูปแบบการจดั การเทคโนโลยีดจิ ิทลั ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก เพ่ือสง่ เสริมกระบวนการคิดของ
นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

ผลความคดิ สร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดนอกกรอบของผู้เรียน
ที่สามารถสร้างแนวคิดใหม่หรือส่งิ ใหม่ท่ีแตกต่างไปจากเดิมได้ โดยวดั จากแบบประเมินความคิด
สร้ างสรค์ที่ผู้วิจัยสร้ างขึน้ ซ่ึงมีลกั ษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 4 ระดับ โดยกาหนด
ความหมายคะแนนของตวั เลอื กในแบบประเมินพฤติกรรมการคดิ แตล่ ะข้อ ดงั นี ้ 4 หมายถึง ดีมาก
3 หมายถึง ดี 2 หมายถึง พอใช้ และ 1 หมายถึง ปรับปรุง

ความพึงพอใจท่ีมีต่อรูปแบบการจดั การเทคโนโลยีดิจิทลั ร่วมกบั การเรียนรู้เชิง
รุก หมายถึง ความรู้สกึ ของผ้เู รียนที่มีตอ่ การเรียนด้วยรูปแบบรูปแบบการจดั การเทคโนโลยีดิจิทลั
ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก เพื่อสง่ เสริมความคิดสร้างสรรค์ของนกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรี โดยวดั ได้
จากแบบประเมินความพึงพอใจท่ีผู้วิจัยสร้ างขึน้ มีลกั ษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5
ระดบั โดยกาหนดความหมายคะแนนของตวั เลอื กในแบบประเมินแตล่ ะข้อ ดงั นี ้ 5 หมายถึง พึง
พอใจมากที่สดุ 4 หมายถึง พึงพอใจมาก 3 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง 2 หมายถึง พึงพอใจน้อย
และ 1 หมายถงึ พงึ พอใจน้อยทีส่ ดุ

กรอบแนวคิดในกำรวจิ ัย 9

เทคโนโลยีดจิ ิทลั รูปแบบการจดั การเทคโนโลยีดจิ ิทลั
(LEIGH M. AND THOMAS GOLDRICK, 2017; ใจทพิ ย์ ณ สงขลา ร่วมกบั การเรียนรู้เชิงรุก
, 2561; เอกชยั กี่สขุ พนั ธ์, 2559; ศนั สนีย์ เลยี ้ งพานิชย์, 2561)
1. เทคโนโลยีเว็บ เพือ่ สง่ เสริมความคดิ สร้างสรรค์
2. ระบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี
3. เทคโนโลยีคลาวด์
4. ส่ือสงั คมออนไลน์ ความคดิ สร้างสรรค์
ความพงึ พอใจ
กำรเรียนรู้เชิงรุก
องค์ประกอบของกำรเรียนรู้เชิงรุก
(Meyers and Jones, 1993; Shenker,
Goss and Bernstein, 1996; Grabinger, 1996; Good and
Brophy, 1987; Fink and Fink, 2009; เนาวนิตย์ สงคราม, 2555)
1. ผ้เู รียนเป็นสาคญั
2. กิจกรรมสะท้อนการเรียนรู้
3. การมีส่วนร่วมของผ้เู รียน
4. การสง่ เสริมความรับผดิ ชอบในการค้นคว้า
5. ทรัพยากรการสอน
6. ผลป้อนกลบั และการประเมนิ ผล
7. กลวิธีการสอน
ขนั้ ตอนกำรจัดกำรเรียนรู้เชงิ รุก
(Meyers and Baldwin & Wiliams, 1988; Fink, 2003; Meyers
and Jones, 1993; เนาวนิตย์ สงคราม, 2555; เชดิ ศกั ด์ิ ภกั ดวี โิ รจน์,
2556; จิรภา อรรถพร, 2556; สภุ ทั รา ภษู ิตรัตนาวลี, 2560)
1. ขนั้ เตรียมความพร้อมของผ้เู รียน
2. ขนั้ ดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้
3. ขนั้ สร้างองคค์ วามรู้
4. ขนั้ สะท้อนคดิ
5. ขนั้ สรุป

ควำมคดิ สร้ำงสรรค์
องคป์ ระกอบของความคิดสร้างสรรค์ (Guilford, 1967)
1. ความคิดริเร่ิม
2. ความคิดคล่องแคลว่
3. ความคิดยดื หยนุ่
4. ความคดิ ละเอียดละออ
กระบวนกำรคดิ สร้ำงสรรค์
(Wallas, 1963; Hutchison, 1949; Torrance, 1965; Davis, 1973)
1. ขนั้ เตรียมและรวบรวมข้อมลู
2. ขนั้ วเิ คราะหข์ ้อมลู
3. ขนั้ ใช้ความคิด
4. ขนั้ ประเมนิ ผล


Click to View FlipBook Version