หนว่ ยที่ 1 การวางเปา้ หมายชีวิตด้วยวงจรควบคมุ คณุ ภาพ
ไพรัตน์ ทองมาก
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีพงั งา
4/6/2562
การวางแผนเป้าหมายชีวติ ด้วยวงจรควบคุมคุณภาพ
PDCA คือ วงจรการควบคุมคุณภาพ หรือวงจรเดมงิ่ ประกอบด้วย
P = Plan คือ การวางแผนงานจากวตั ถุประสงค์ และเป้าหมายที่ไดก้ าหนดข้ึน
D = Do คือ การปฏิบตั ิตามข้นั ตอนในแผนงานที่เขียนไวอ้ ยา่ งเป็นระบบและมีความตอ่ เนื่อง
C = Check คือ การตรวจสอบผลการดาเนินงานแตล่ ะข้นั ตอนของแผนงานวา่ มีปัญหาอะไรเกิดข้ึน
จาเป็นตอ้ งเปล่ียนแปลงแกไ้ ขแผนงานในข้นั ตอนใด
A = Action คือ การปรับปรุงแกไ้ ขส่วนที่มีปัญหา หรือถา้ ไม่มีปัญหาใด ๆ กย็ อมรับแนวทางการ
ปฏิบตั ิตามแผนงานท่ีไดผ้ ลสาเร็จ เพือ่ นาไปใชใ้ นการทางานคร้ังต่อไป
การนา PDCA ไปใช้
วงจรการควบคุมคุณภาพสามารถนามาใชใ้ นการดาเนินชีวิตใหป้ ระสบความสาเร็จได้ ดงั น้ี1. การ
วางแผน (Plan) คือ การวางแผนชีวติ โดยจะตอ้ งทราบวา่ ตนเองน้นั อยากทาอะไร ตอ้ งการอะไร แลว้ จึง
ต้งั เป้าหมายและวธิ ีการในการดาเนินชีวิตใหช้ ดั เจนซ่ึงเป้าหมายของชีวติ แต่ละคนจะมีความแตกต่างกนั
ออกไป ท้งั น้ี การวางแผนครอบคลุมถึงการกาหนดเรื่องที่ตอ้ งการปรับปรุงเปล่ียนแปลงซ่ึงรวมถึงการพฒั นา
สิ่งใหม่ ๆ การแกป้ ัญหาที่เกิดข้ึนจากการปฏิบตั ิงาน ฯลฯ
2. การปฏิบตั ิตามแผน (DO) คือ การทาตามแผนท่ีไดต้ ้งั เป้าหมายไวด้ ว้ ยความต้งั ใจ มุ่งมนั่ พยายาม
3. การตรวจสอบ (Check) คือ การประเมินเป้าหมายชีวติ ท่ีวางแผนไวว้ า่ สามารถปฏิบตั ิไดส้ าเร็จหรือไม่ และ
ตอ้ งปรับปรุงหรือแกไ้ ขอยา่ งไรบา้ งจึงจะทาใหป้ ระสบความสาเร็จในชีวิต ท้งั น้ี การตรวจสอบเป็นการ
ประเมินผลท่ีไดร้ ับจากการปฏิบตั ิ (DO) โดยการตรวจสอบทาใหท้ ราบวา่ ในการปฏิบตั ิน้นั สามารถบรรลุ
เป้าหมายหรือวตั ถุประสงคท์ ่ีไดก้ าหนดไวห้ รือไม่ ส่ิงสาคญั กค็ ือ ตอ้ งรู้วา่ จะตรวจสอบอะไรบา้ งและมีความ
สม่าเสมอมากนอ้ ยเพยี งใด
4. การปรับปรุงแกไ้ ข (Act) คือการนาเอาผลการประเมินมาปรับปรุง และ/หรือพฒั นาวธิ ีการทาใหช้ ีวติ
ประสบความสาเร็จมากข้ึน ท้งั น้ี เป็นการดาเนินงานให้เหมาะสมซ่ึงจะพิจารณาผลที่ไดจ้ ากการตรวจสอบซ่ึง
มี 2 กรณี คือ ผลที่เกิดข้ึนเป็ นไปตามแผนท่ีวางไว้ หรือไมเ่ ป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ ถา้ ผลท่ีเกิดข้ึนเป็นไปตาม
แผนที่วางไว้ ก็จะนาแนวทางหรือกระบวนการปฏิบตั ิ (DO) น้นั มาจดั ทาใหเ้ ป็นมาตรฐานพร้อมท้งั หาวธิ ีการ
ท่ีจะปรับปรุงใหด้ ียง่ิ ข้ึน ซ่ึงอาจจะสามารถบรรลุเป้าหมายไดเ้ ร็ว
2
กวา่ เดิมและเสียคา่ ใชจ้ ่ายนอ้ ยกวา่ เดิม รวมท้งั ทาใหค้ ุณภาพดียงิ่ ข้ึนก็ได้ ถา้ หากไมเ่ ป็นไปตามแผนที่วางไวก้ ็
ควรจะนาขอ้ มูลท่ีรวบรวมไวม้ าวเิ คราะห์ และพจิ ารณาวา่ ควรจะดาเนินการอยา่ งไรตอ่ ไป
การวางแผนเป้าหมายชีวติ
การวางแผน คือ การกาหนดสภาพหรือสถานภาพท่ีคาดหวงั วา่ จะเกิดข้ึนในอนาคตโดยกาหนด
แนวทางปฏิบตั ิเพ่ือใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคท์ ี่วางไว้
เป้าหมายชีวติ (Life Goals) หมายถึง ส่ิงที่ตนเองใหค้ วามสาคญั และปรารถนาจะใหเ้ กิดข้ึนใน
อนาคต และเป็นแรงจูงใจให้ตนเองมีพลงั มุ่งไปสู่อนาคต การมีเป้าหมายในชีวิตจะช่วยใหม้ นุษยใ์ ชช้ ีวติ อยา่ ง
มีความหมาย มีความหวงั และมีทิศทางที่จะมุง่ ไปสู่อนาคต เพราะการมีเป้าหมายจะเป็ นตวั บ่งช้ีวา่ บุคคลน้นั
ตอ้ งการอะไรบา้ ง จะมีชีวติ อยเู่ พือ่ อะไร เพ่ือใคร และเพ่ือที่จะทาอะไร
การวางแผนเป้าหมายชีวติ หมายถึง การต้งั เป้าหมายชีวติ ของบุคคลท่ีไดว้ างแผนไวด้ ว้ ยวธิ ีการที่
เหมาะสมเพื่อนาตนเองไปสู่เป้าหมายของชีวติ ในอนาคต
การวางแผนเป้าหมายชีวติ เป็ นสิ่งท่ีจาเป็นท่ีบุคคลทุกคนตอ้ งใหค้ วามสาคญั ในการรู้จกั วางแผน
ชีวติ ของตนเองอยา่ งมีข้นั ตอน มีวธิ ีการท่ีเหมาะสมกบั สถานะของบุคคล และพยายามดาเนินการโดยปฏิบตั ิ
ทุกวถิ ีทางที่จะนาพาชีวติ ใหป้ ระสบความสาเร็จ
เป้าหมายชีวติ ของบุคคลแบ่งได้ 3 ระดบั คือ
1. การวางแผนเป้าหมายชีวติ ข้นั ตน้ เป็นการวางแผนต้งั เป้าหมายของชีวติ โดยมุ่งมน่ั ฝึกฝนตนเอง ใหบ้ รรลุ
เป้าหมายชีวติ วา่ จะตอ้ งเรียนใหจ้ บ มีอาชีพ มีฐานะที่ดีใหไ้ ด้
2. การวางแผนเป้าหมายชีวติ ข้นั กลาง เป็นการต้งั เป้าหมายของชีวติ วา่ ตอ้ งพยายามต้งั ตวั และสร้างฐานะของ
ตนเอง มีชีวติ คู่ มีชีวติ ครอบครัวท่ีดี ไมย่ อ่ ทอ้ รู้จกั การสร้างคุณคา่ ในชีวติ ดว้ ยการขยนั ต้งั ใจทาความดี เอ้ือ
อาทร มีเมตตาตอ่ ผอู้ ื่น ซ่ึงเป็ นเป้าหมายชีวติ สูงสุด
3. การวางแผนเป้าหมายชีวติ ข้นั สูงสุด เป็นการต้งั เป้าหมายของชีวติ ที่เป็ นประโยชน์อยา่ งยงิ่ ตอ่ ตนเอง และ
บุคคลอื่น คือการต้งั ใจดาเนินชีวติ ใหป้ ระสบความสาเร็จในการศึกษาเล่าเรียน หนา้ ท่ีการงาน ชีวติ ครอบครัว
และต้งั ใจปฏิบตั ิธรรมโดยการต้งั ใจทาความดี
3
ช่วงชีวติ ในการวางแผนเป้าหมาย
การวางแผนเป้าหมายชีวติ จะมีการเคลื่อนไหวอยตู่ ลอดเวลา ดงั น้นั วงจรชีวิตของแต่ละบุคคลต้งั แต่
เด็กจนวยั ชราก็จะมีอายแุ ตกต่างกนั ไป ความตอ้ งการและเป้าหมายจึงเปลี่ยนแปลงตามไปดว้ ย บุคคลส่วน
ใหญ่จึงตอ้ งวางเป้าหมายและวางแผนในแตล่ ะช่วงชีวติ ให้สอดคลอ้ งกบั รายไดแ้ ละความรับผดิ ชอบในช่วง
น้นั เพื่อป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดปัญหาในอนาคต โดยสามารถแบ่งช่วงชีวติ ไดด้ งั น้ี
1. ช่วงวยั เด็ก อายใุ นวยั เด็กจนถึงประมาณ 20 ปี เป็นวยั ท่ีอยใู่ นความดูแลรับผดิ ชอบของบิดา
มารดา ที่ตอ้ งเล้ียงดู และเป็นช่วงการศึกษาหาความรู้ จึงยงั ไม่มีรายไดท้ ่ีจะนามาจุนเจือ
ครอบครัว
2. ช่วงวยั หลงั จบการศึกษา อายปุ ระมาณ 21-30 ปี เป็ นวยั ที่อยรู่ ะหวา่ งการเริ่มสร้างครอบครัว เริ่ม
ทางาน บางคนกแ็ ตง่ งานและสร้างฐานะ รายไดใ้ นช่วงน้ีจะคอ่ ยเป็นค่อยไป และเพม่ิ ข้ึนเร่ือย ๆ
บางครอบครัวกเ็ ร่ิมมีบุตร และเกบ็ เงินบางส่วนไวใ้ ชจ้ า่ ยภายในครอบครัว
3. ช่วงวยั ทางานเตม็ ที่ อายปุ ระมาณ 31-45 ปี เป็นช่วงระยะเวลาท่ีกาลงั ขยายครอบครัวและมี
หนา้ ท่ีการงานมน่ั คง มีรายไดแ้ น่นอน แตเ่ ป็นช่วงท่ีมีความรับผดิ ชอบและค่าใชจ้ า่ ยคอ่ นขา้ งสูง
เนื่องจากตอ้ งจ่ายคา่ เล่าเรียนบุตร ค่าอาหาร ค่ารักษาพยาบาล เคร่ืองนุ่งห่ม เป็ นตน้
4. ช่วงก่อนวยั เกษียณอายุ อายปุ ระมาณ 46-50 ปี เป็ นช่วงท่ีมีรายไดแ้ ละหนา้ ท่ีการงานสูงสุด
ในช่วงระยะเวลาหน่ึงในระยะน้ีสาหรับผมู้ ีบุตรก็จะจบการศึกษาและทางานหรือสร้าง
ครอบครัวของตนเองไดแ้ ลว้ คา่ ใชจ้ ่ายกจ็ ะลดลง เงินออมก็จะมีเพม่ิ ข้ึน
5. วยั เกษียณอายุ อายตุ ้งั แต่ 60 ปี ข้ึนไป เป็นช่วงที่รายไดจ้ ะลดลงเรื่อย ๆ เน่ืองจากรายไดป้ ระจาไม่
มีเพราะออกจากงานแลว้ แหล่งรายไดม้ าจากเงินบาเหน็จ บานาญ เงินประกนั สงั คม ดอกเบ้ีย
เป็ นตน้