The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2562
กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
ANNUAL REPORT 2019
IPD.LDD.report

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wirot Ngiawkerd, 2020-11-30 02:44:37

รายงานประจำปี 2562 กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน

รายงานประจำปี 2562
กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
ANNUAL REPORT 2019
IPD.LDD.report

Keywords: Annual Report 2019 IPD.LDD

รายงานประจําป 2562

Annual Report 2019

กองนโยบายและแผนการใชท ด่ี นิ
กรมพัฒนาที่ดนิ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

สารบัญ 3
4
คํานํา 5
ผบู ริหาร 7
อตั รากําลงั 7
แนะนาํ หนวยงาน 10
หนาที่รบั ผิดชอบ 44
ผลการดาํ เนินงาน
ผลงานและกจิ กรรมเดน

คํานํา

ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-
๒๕๖๔) ภายใตยุทธศาสตรเกษตรและสหกรณ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙) และภายใตแผน
ยุทธศาสตรกรมพัฒนาที่ดิน (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) กองนโยบายและแผนการใชท่ีดิน
ไดดาํ เนินการขับเคล่ือนและผลักดนั ผลการดาํ เนนิ งานของกองนโยบายและแผนการใชท่ีดิน
ใหบรรลุเปาหมายและมีความสอดคลองเช่ือมโยงกับแผนยุทธศาสตรตางๆ เพื่อใหการ
พัฒนาการเกษตรของประเทศบรรลุเปาหมายตามวิสัยทัศน “กําหนดแผนการใชที่ดินให
เหมาะสมกับศักยภาพของทดี่ นิ สูการพฒั นา การเกษตรแบบย่ังยืน”

กองนโยบายและแผนการใชท่ีดิน นับเปนหนวยงานหน่ึงของกรมพัฒนา
ที่ดิน ไดดําเนินการขับเคลื่อนและผลักดันผลการดําเนินงานใหบรรลุเปาประสงค
และเพื่อใหมีความสอดคลองเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตรตางๆ โดยมีภารกิจในการ
ดําเนนิ การคือ ๑) ศกึ ษาและวเิ คราะหน โยบายท่ีดินของประเทศ นโยบายการใชท่ีดิน
ของรัฐ นโยบายดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ๒) ติดตามสถานการณการ
เปลี่ยนแปลงการใชท่ีดินเพ่ือสนับสนุนการวางแผนการใชท่ีดิน ๓) เสนอแนะการ
กําหนดนโยบายการใชท่ีดินทางการเกษตร วิจัยและวางแผนการจัดการที่ดินในพ้ืนที่
เสีย่ งภัยทางการเกษตร ๔) ศึกษา สํารวจ จําแนก วิเคราะห จัดทําแผนท่ีและขอมูล
พื้นท่ีชุมนํ้า เพื่อจัดทําแผนบริหารจัดการพ้ืนที่ชุมน้ํา ๕) ศึกษา วิเคราะห วิจัยการ
ประยกุ ตใ ชขอ มูลระยะไกลและระบบสารสนเทศภมู ิศาสตรเพ่ือการพฒั นาท่ีดนิ
ในปง บประมาณ ๒๕๖๒ กองนโยบายและแผนการใชท่ีดิน ไดจัดทํารายงานประจําป
เพื่อรวบรวมผลการปฏบิ ัตงิ านในรอบปที่ผา นมา การปฏิบตั ิงานตามแผนงานและโครงการตา งๆ พรอมภาพกิจกรรม
เพื่อเปนขอมูลเผยแพรประชาสัมพันธ ใหกับสวนราชการและ เอกชน ตลอดจนผูท่ีสนใจ ไดทราบถึงขอมูล
เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของกองนโยบายและแผนการใชท่ีดิน อาทิ การดําเนินงานขับเคลื่อนการจัดทํา
แผนการใชท่ีดินระดับตําบล การจัดทําแผนที่ความเหมาะสมของท่ีดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
การบริหารจัดการพ้ืนท่ีเกษตรตามแผนท่ีการเกษตรเชิงรุก การวิเคราะหทางเศรษฐกิจเพื่อจัดเขตการใชท่ีดิน
พืชเศรษฐกิจ การวางแผนการใชท่ีดินเพื่อบริหารจัดการพ้ืนที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศ
อุทยานแหงชาตเิ ขาสามรอยยอด การปรับปรุงแผนการใชที่ดินระดับลุมน้ําสาขาเพ่ือการบริหารพื้นท่ีชุมน้ํา
โดยใชแบบจําลองภูมิสารสนเทศ : กรณีศึกษาลุมนํ้าหลักแมนํ้ายม การศึกษากระบวนการดําเนินงานเพื่อรองรับ
การประกาศเขตอนุรักษดินและนํ้าตามพระราชบัญญัติพัฒนาท่ีดิน พ.ศ.๒๕๕๑ กรณีศึกษาลุมนํ้าหวยไคร
ตําบลวาวี อําเภอแมส รวย จงั หวดั เชียงราย และการจดั ทําฐานขอมูลและวางแผนพัฒนาพื้นทเี่ สี่ยงภัย เปน ตน

(นายสมศกั ดิ์ สขุ จนั ทร)
ผอู าํ นวยการกองนโยบายและแผนการใชท ่ีดิน

กันยายน 2562

ผอู าํ นวยการกองนโยบายและแผนการใชทด่ี นิ

ผูเชย่ี วชาญดา นการสํารวจการใชทด่ี ินดวยเทคโนโลยรี ะยะไกล
ผูเชย่ี วชาญดานวางแผนการใชทด่ี ิน
ผูเชย่ี วชาญดานเศรษฐกิจท่ีดิน

นางมินตรา ตรัยรตั นพนั ธ นายสมศกั ด์ิ แจงเพียร
หวั หนา ฝา ยบรหิ ารท่ัวไป ผอู ํานวยการกลมุ วเิ คราะหส ภาพการใชท ด่ี นิ

นางสาวนงนภัส ประสิทธว์ิ ัฒนชยั นายนนั ทพล หนองหารพทิ กั ษ
ผอู ํานวยการกลมุ เศรษฐกจิ ทีด่ ินทางการเกษตร ผอู ํานวยการกลุมนโยบายและวางแผนการใชทด่ี นิ

นางผกาฟา ศรจรัสสุวรรณ นางสาวพมิ พิลยั นวลละออง
ผอู ํานวยการกลุม วางแผนบรหิ ารจัดการพ้นื ทช่ี ุมนํ้า รกั ษาการผูอํานวยการกลมุ วางแผนการจดั การท่ีดิน

ในพน้ื ทีเ่ ส่ียงภยั ทางการเกษตร

กองนโยบายและแผนการใชท่ีดนิ

ผอู าํ นวยการ
กองนโยบายและแผนการใชที่ดนิ

ฝานบริหารทว่ั ไป - ผูเช่ียวชาญดานการสํารวจการใชที่ดิน
- ดวยเทคโนโลยรี ะยะไกล
• ชํานาญการพิเศษ 1 ผเู ชีย่ วชาญดานวางแผนการใชท ีด่ ิน
• ชาํ นาญการ 1
• ปฏบิ ัตกิ าร 1 ผูเชยี่ วชาญดา นเศรษฐกิจทีด่ ิน
• อาวโุ ส 1
• ชาํ นาญงาน 2 กลุม วเิ คราะหสภาพการใชท่ีดนิ
• ลกู จา งประจาํ 13
• พนกั งานราชการ • ชาํ นาญการพเิ ศษ 8
• จา งเหมาเอกชน • ชาํ นาญการ 3
• ปฏิบตั กิ าร 5
กลมุ เศรษฐกิจท่ดี ินทางการเกษตร • อาวุโส -
• ชาํ นาญงาน -
• ชํานาญการพิเศษ 3 • ลกู จา งประจาํ 2
• ชาํ นาญการ 3 • พนักงานราชการ 8
• ปฏิบตั กิ าร 1 • จา งเหมาเอกชน 54
• อาวุโส -
• ชํานาญงาน - กลมุ นโยบายและวางแผนการใชท่ีดนิ
• ลูกจางประจํา 1
• พนักงานราชการ 4 • ชํานาญการพิเศษ 9
• จางเหมาเอกชน 13 • ชํานาญการ 7
• ปฏบิ ตั ิการ 2
กลุมวางแผนบรหิ ารจดั การพน้ื ท่ีชมุ น้ํา • อาวุโส -
• ชํานาญงาน -
• ชาํ นาญการพเิ ศษ 4 • ลกู จางประจาํ 3
• ชาํ นาญการ 2 • พนักงานราชการ 12
• ปฏิบตั กิ าร 2 • จางเหมาเอกชน 24
• อาวโุ ส -
• ชํานาญงาน - กลุมวางแผนการจดั การท่ดี ิน
• ลกู จางประจํา 1 ในพ้ืนท่เี ส่ยี งภยั ทางการเกษตร
• พนกั งานราชการ 7 • ชาํ นาญการพิเศษ 2
• จา งเหมาเอกชน 8 • ชาํ นาญการ 2
• ปฏิบัติการ 2
• อาวุโส -
• ชํานาญงาน -
• ลูกจางประจํา 2
• พนกั งานราชการ 11
• จา งเหมาเอกชน 2

อํานาจหนาที่

- ศึกษาขอมูลทรัพยากรดิน สํารวจภาวะเศรษฐกิจสังคม วิเคราะหสภาพการใชท่ีดิน เพ่ือการวางแผน
การใชท่ีดิน การจัดทําเขตพัฒนาท่ีดิน การจัดทําเขตความเหมาะสมของท่ีดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ และสนับสนุน
การขับเคล่ือนการบรหิ ารจดั การพื้นทเ่ี กษตรกรรม (Zoning)

- ศึกษาและวิเคราะหยุทธศาสตรการบริหารจัดการท่ีดินและทรัพยากรที่ดินของประเทศ นโยบาย
ดานเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอม เพื่อสนับสนุนการจัดทําแผนการใชที่ดิน การติดตามสถานการณ
การเปลย่ี นแปลงการใชที่ดินทางการเกษตร และการวางแผนการใชทีด่ นิ บนพน้ื ที่สงู

- วางแผนและพัฒนาการจัดการที่ดนิ ในพื้นทีเ่ ส่ียงภยั ทางการเกษตร ดานภยั แลง ภัยน้ําทว ม และดินถลม
- ศึกษา สํารวจ จําแนก วิเคราะห การจัดทําแผนท่ีและขอมูลพ้ืนที่ชุมน้ํา เพื่อจัดทําแผนบริหาร
จดั การพืน้ ท่ีชุม นํา้
- วิเคราะหและวิจัยการประยุกตใชขอมูลระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และคาดการณ
การเปลย่ี นแปลงการใชท ่ีดิน เพอ่ื การพัฒนาท่ีดนิ
- ถายทอดเทคโนโลยีใหบริการทางวิชาการแกหนวยงานที่เกี่ยวของและเกษตรกร และความรวมมือ
ทางวชิ าการระหวา งประเทศ ดานการวางแผนการใชทีด่ ิน
- ปฏิบตั ิงานรว มกับหรือสนับสนนุ การปฏิบัติงานของหนว ยงานอืน่ ที่เกย่ี วของหรือไดรับมอบหมาย

การแบง สว นราชการ

- ฝายบรหิ ารทัว่ ไป
- กลุมวเิ คราะหส ภาพการใชท ี่ดิน
- กลุมเศรษฐกจิ ที่ดนิ ทางการเกษตร
- กลุมนโยบายและวางแผนการใชท ด่ี นิ
- กลุมวางแผนบริหารจดั การพื้นทช่ี ุม นาํ้
- กลมุ วางแผนการจัดการทด่ี นิ ในพ้นื ทเ่ี สยี่ งภัยทางการเกษตร

หนาทรี่ บั ผดิ ชอบ
ฝา ยบริหารทัว่ ไป

- ดาํ เนินการเก่ยี วกบั งานบรหิ ารท่ัวไป
- จัดทําแผนงาน งบประมาณประจําป ควบคุมการเบิกจายงบประมาณ ติดตามผลการปฏิบัติงาน
ของกลุมตา งๆ ภายในกอง
- อํานวยการและประชาสัมพันธงานกอง
- ตรวจสอบและกล่ันกรองเร่ืองตางๆ กอนนําเสนอผูอํานวยการกอง รวมท้ังประสานงานระหวาง
กองกบั หนวยงานอน่ื ๆ
- จัดทําทะเบียนวจิ ัย ตดิ ตามงานวจิ ัยและรวบรวมผลงานวิจยั
- ปฏบิ ตั ิงานอืน่ ๆ ตามทไ่ี ดรบั มอบหมาย

กลุมวิเคราะหส ภาพการใชท ีด่ นิ

- วิเคราะหแผนท่ีรูปถายทางอากาศ และขอมูลจากดาวเทียม เพ่ือการสํารวจและจัดทํา
แผนท่สี ภาพการใชท ีด่ นิ และติดตามสถานการณส ภาพการใชทดี่ นิ และการเปลยี่ นแปลงการใชทด่ี นิ

- สํารวจ วิเคราะหจัดทําแผนท่ีปลูกพืชเศรษฐกิจ และจัดทําขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อ
ใชในการกาํ หนดการใชทดี่ ิน

- ศึกษา วิเคราะหและวิจัยการประยุกตใชขอมูลระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อการ
พฒั นาที่ดนิ

- ประสานงานและประสานความรวมมือทางวิชาการกับหนวยงานอื่นที่เก่ียวของท้ังในและระหวาง
ประเทศ

- ปฏิบตั ิงานอ่ืน ๆ ตามทไ่ี ดร บั มอบหมาย

กลุมเศรษฐกิจทีด่ นิ ทางการเกษตร

- ศึกษา สํารวจ วิเคราะหวิจัย ดานเศรษฐกิจที่ดินตามประเภทการใชประโยชนที่ดินทางการเกษตร
รวมถงึ ปญ หาและทศั นคติของชมุ ชนหรือเกษตรกร เพื่อสนับสนุนงานวางแผนและการกําหนดเขตการใชท่ีดิน

- ศึกษา สํารวจ วิเคราะหขอมูลภาวะเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอม เพื่อสนับสนุนการจัดทํา
แผนการใชทด่ี ินตามนโยบายการใชท ่ดี ินในระดับตา งๆ

- ศึกษา วิจัย ประเมินผลผลิตและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงสภาพการผลิตเพ่ือเปนแนวทางในการ
ผลิตทางการเกษตร

- ประสานงาน และประสานความรวมมือทางวิชาการกับหนวยงานอื่นที่เก่ียวของ ท้ังในและระหวาง
ประเทศ

- ปฏบิ ัตงิ านอ่นื ๆ ตามท่ีไดร บั มอบหมาย

กลมุ นโยบายและวางแผนการใชท่ีดิน

- ศึกษา วิเคราะหขอมูลทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม นโยบายและขอกฎหมายท่ีเก่ียวของ เพื่อ
จดั ทาํ แผนและกาํ หนดเขตการใชทีด่ ินในระดบั ตางๆ

- ศึกษาและวจิ ัยรูปแบบการใชท ่ดี ินที่เหมาะสมตามภูมิสังคม
- ประสานงาน และประสานความรวมมือทางวิชาการกับหนวยงานอื่นท่ีเกี่ยวของท้ังในและระหวาง
ประเทศตลอดจนติดตามการดําเนนิ งานในโครงการความรว มมือทางเศรษฐกิจ
- ศึกษา วิเคราะหขอมูลทางกายภาพและนโยบายการใชที่ดิน เพื่อกําหนดเขตและวางแผนการใช
ทด่ี ินบนพนื้ ทีส่ ูง พรอมทง้ั ประสานงานพัฒนาพน้ื ทีส่ ูงรว มกบั องคกรภาครัฐและเอกชน
- ศึกษาและวิเคราะหขอมูลทางกายภาพของที่ดินและดานเศรษฐกิจที่ดิน เพื่อใชเปนขอมูลในการ
พิจารณาประกาศเขตตามพระราชบัญญตั ิกรมพัฒนาทด่ี ิน พ.ศ.2551
- ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะดา นการใชท ่ีดนิ ท่ีเหมาะสมแกเ กษตรกร องคก รภาครฐั และเอกชน
- ปฏิบัติงานอนื่ ๆ ตามท่ไี ดรบั มอบหมาย

กลมุ วางแผนบริหารจดั การพน้ื ที่ชมุ นา้ํ

- ศึกษา สํารวจ จําแนก วิเคราะหและจัดทําแผนที่และขอมูลพื้นที่ชุมน้ําเพื่อจัดทําแผนบริหาร
จัดการพ้นื ที่ชมุ น้ํา

- ศกึ ษาและวิจยั รปู แบบการใชท่ีดินทเ่ี หมาะสมตามภมู ิสงั คม
- ประสานงาน และประสานความรวมมือทางวชิ าการกับหนว ยงานอื่นท่ีเกีย่ วของท้ังในและระหวาง
ประเทศ
- ใหคาํ ปรกึ ษาและขอ เสนอแนะดานการใชท่ดี นิ ที่เหมาะสมแกเกษตรกร องคก รภาครัฐและเอกชน
- ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ๆ ตามทไ่ี ดร ับมอบหมาย

กลมุ วางแผนการจดั การท่ีดินในพื้นทเี่ สี่ยงภยั ทางการเกษตร

- ศึกษา วิเคราะห เพ่ือวางแผนการจัดการทด่ี ินในพืน้ ท่เี สยี่ งภยั ทางการเกษตร
- ศึกษา คนควา และสังเคราะหองคความรู มาตรการ/วิธีการที่เหมาะสม นํามาประยุกตใชในการ
ปองกัน และฟนฟูพ้ืนทเี่ กษตรทไี่ ดรบั ความเสยี หายจากภัยธรรมชาติ
- ศึกษา วิเคราะหผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีมีตอสภาพพื้นท่ีดิน ระบบ
การเกษตรและส่ิงแวดลอม
- พัฒนาเทคโนโลยีการปองกันและเตือนภัยพิบัติทางธรรมชาติ เกี่ยวกับดินถลม พื้นที่น้ําทวมและ
แหงแลงซํ้าซาก เพ่ือใหเกษตรกรและประชาชนทั่วไปไดรับขอมูลขาวสารดานภัยธรรมชาติท่ีถูกตอง ทันตอ
สถานการณ เพอื่ ลดความสญู เสียที่จะเกดิ ขน้ึ
- ประสานงาน และประสานความรวมมือทางวิชาการกับหนวยงานอื่นที่เก่ียวของท้ังใน และระหวาง
ประเทศ
- ปฏิบตั ิงานอนื่ ๆ ตามท่ไี ดร ับมอบหมาย





เกษตรอัจฉรยิ ะ (Smart Agriculture)

โดย : นางจฬุ าลกั ษณ สทุ ธิรอด
ผเู ชีย่ วชาญดานการสาํ รวจการใชทีด่ นิ ดว ยเทคโนโลยรี ะยะไกล

ในปจจุบันแรงงานในภาคเกษตรลดลง คนมีอายุมากขึ้น คนรุนใหมสนใจการทําเกษตรนอยลง ภาค
เกษตรจึงตองปรับตัวโดยการนําเอาเทคโนโลยีเขามาปรับปรุงการผลิตใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เกษตร
อจั ฉริยะ (Smart Agriculture) เปนการทําเกษตรสมัยใหมดวยการใชเทคโนโลยีหรือหุนยนต เครื่องจักร ฯลฯ
ที่มีความแมนยําสูงเขามาชวยในการทํางาน โดยมีแนวคิด คือ การเกษตรแมนยําสูง (Precision Agriculture
หรือ Precision Farming) การทําเกษตรที่เขากับสภาพพ้ืนที่ เนนประสิทธิภาพในการเพาะปลูก ต้ังแตการ
คัดเลือกเมล็ดพันธุจนถึงกระบวนการปลูกโดยนําเอาเทคโนโลยีเขามาชวย จากนโยบาย Thailand 4.0 และ
ยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป รวมท้ังนโยบายการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) กระทรวงเกษตรและ
สหกรณไ ดแ ตง ต้ังคณะกรรมการขับเคล่ือนการพัฒนาเกษตรอัจฉริยะข้ึน มีหนาที่กําหนดนโยบายและแผนการ
พัฒนาเกษตรอัจฉรยิ ะ ตลอดจนขับเคล่ือนการพฒั นาเกษตรอจั ฉรยิ ะของกระทรวงฯ

ในปงบประมาณ 2562 กรมพฒั นาที่ดิน โดยการนําของ ผูเช่ียวชาญจุฬาลักษณ สุทธิรอด ผูเชี่ยวชาญ
ดานการสํารวจการใชที่ดินดวยเทคโนโลยีระยะไกล กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน รวมการขับเคล่ือนการ
พัฒนาเกษตรอัจฉริยะโดยจัดสัมมนาวิชาการดาน Smart Agriculture เพ่ือใหผูเขารวมประชุมไดรับทราบ
เกี่ยวกับเทคโนโลยี ท่ีใชในการทําเกษตรอัจฉริยะสําหรับนํามาประยุกตใชในประเทศ รวมทั้งแลกเปล่ียน
ประสบการณในการทําเกษตรอัจฉริยะของภาครัฐและเอกชน นอกจากน้ีมีการจัดทําแปลงเรียนรูเกษตร
อัจฉริยะในการผลิตขาว ออย ขาวโพดเล้ียงสัตว มันสําปะหลัง และสับปะรด โดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมใน
กระบวนการการผลิต มีการประสานความรวมมือจากหนวยงานทั้งในและตางประเทศ เพ่ือนําเทคโนโลยีดาน
ตาง ๆ มาประยุกตใช และมีการจัดเก็บขอมูลดานตาง ๆ เพ่ือเชื่อมโยงไปสูการจัดทํา Big Data ดานเกษตร
อัจฉริยะ สําหรับใชเปนเคร่ืองมือประกอบการตัดสินใจ และชวยกําหนดแนวทางการทําการเกษตรอัจฉริยะ
ตอ ไปในอนาคต

การสัมมนาเกษตรอจั ฉริยะและการประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ เร่ืองการจดั การฐานขอมูล (Big Data)
สําหรบั เกษตรอัจฉรยิ ะ 25-26 เมษายน 2562 ณ โรงแรมมริ าเคิลแกรนด

งานรณรงคการใชเ ทคโนโลยีเกษตรอัจฉรยิ ะเพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพและลดตนทุนการผลิตขา วในนาแปลงใหญ
อาํ เภอสวนแตง จังหวัดสุพรรณบรุ ี 30 พฤษภาคม 2562

การสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสงั คมของจงั หวดั นครนายก
เพือ่ วางแผนการการใชท ด่ี นิ ปการผลติ 2561/62

โดย : นางสาวปรกั มาศ อิ่มเอบิ เศรษฐกรชาํ นาญการ
กลมุ เศรษฐกจิ ทีด่ นิ ทางการเกษตร

ดินเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญ เปนสวนหน่ึงของการผลิตปจจัย 4 ไดแก อาหาร ที่อยู
อาศัย เครื่องนุงหม และยารักษาโรค นอกจากนี้ยังมีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
โดยเฉพาะประเทศไทย ซึ่งเปนประเทศเกษตรกรรม แตในปจจุบันประชากรเพ่ิมมากขึ้น และการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ ทําใหทรัพยากรดินถูกนําไปใชโดยไมระมัดระวัง หรือขาดความรูความเขาใจ สงผลใหดินเกิด
ความเสื่อมโทรม

กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน ไดตระหนักถึงความสําคัญของปญหาดังกลาว จึงไดทําโครงการวาง
แผนการใชที่ดินระดับจังหวัดขึ้น และมอบหมายใหกลุมเศรษฐกิจท่ีดินทางการเกษตร ซึ่งเปนหนวยงานที่มี
หนา ทีส่ ํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม เขาไปดําเนินการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดนครนายก
ซึ่งเปนจังหวัดหน่ึงในภาคกลาง มีพื้นที่ทําการเกษตรประมาณ 708,983 ไร หรือรอยละ 53.48 ของพ้ืนท่ีจังหวัด
มีพืชที่ปลูกมากที่สุดไดแก ขาว รองลงมาไดแก ไมผลไมยืนตน ไมดอกไมประดับ และพืชผักสมุนไพร เพื่อใช
เปนขอมูลประกอบในการวางแผนการใชที่ดิน สําหรับเปนทางเลือกใหเกษตรกร สามารถนําทรัพยากรดินไปใชให
เกิดประโยชนสูงสุด สอดคลองกับความตองการของตนเอง สภาพเศรษฐกิจ และภูมิสังคม ซ่ึงผลการสํารวจได
ดังน้ี

ประชากรสวนใหญ มีอายเุ ฉล่ีย 59.12 ป สวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษา รอยละ 66.67 มี
ที่ดินถือครองเฉล่ีย 30.01 ไร โดยเปนท่ีดินของตนเองเฉล่ีย 13.59 ไร และเชา 16.42 ไร มีหนังสือสําคัญในท่ีดิน
ของตนเองมากที่สุด คือ โฉนด เฉล่ีย 12.85 ไร มีหนี้สินเฉลี่ย 36,790.12 บาทตอครัวเรือน ประสบปญหาดานการ
ผลิต รอยละ 65.43 ของเกษตรกรที่สาํ รวจ ปญหาท่ีประสบมากท่ีสุด คือศัตรูพืชรบกวน รอยละ 43.40 ของ
เกษตรกรที่ประสบปญหาดานการผลิต รองลงมาคือ ราคาผลผลิตตกตํ่า รอยละ 35.85 และสภาพดินเสื่อมโทรม
รอยละ 22.64 ประสบปญหาภัยธรรมชาติ ไดแก ปญหาภัยแลง รอยละ 14.81 ของเกษตรกรที่สํารวจ ปญหา
อทุ กภัย รอ ยละ 7.41 และปญ หาวาตภัย รอยละ 4.94

มีความตอ งการใหร ัฐบาลชวยเหลือ รอ ยละ 95.06 ของเกษตรกรท่ีสํารวจ โดยเกษตรกรตองการใหรัฐชวยเหลือมาก
ที่สุด คือ จัดหาปจจัยการผลิตคุณภาพดี ราคาตํ่ากวาทองตลาด รอยละ 50.65 ประกันราคาพืชผลการเกษตร รอย
ละ 37.66 และสงเสริมและแนะนําทําเกษตรแบบอินทรีย สงเสริมและแนะนําการทําปุย สารปองกันและกําจัด
ศัตรพู ชื ใชเ อง รอ ยละ 10.39 เทา กัน

หนวย ประเภท ผลผลิต ราคาเฉลยี่ มูลคาผลผลติ ผลตอบแทนเหนอื ตน ทุน (บาท/ไร) B/C
ท่ดี ิน การใชป ระโยชนท ดี ิน (กก./ไร) (บาท/ไร) (บาท/ไร) เงินสด ผนั แปร ทง้ั หมด Ratio
4,433.00 1,027.30 1,224.50 320.54 1.08
2I ขาวนาปรงั นาหวา นน้ําตม ครัง้ ที่ 1 650.00 6.82 3,532.85 -153.78 328.42 -683.79 0.84
26,437.64 24,752.53 19,306.59 17,875.70 3.09
2I ขา วนาปรังนาหวานนํ้าตม ครั้งท่ี 2 505.88 6.82 5,482.38 1,439.74 1,552.04 545.51 1.11
5,378.73 1,333.08 1,400.80 394.26 1.08
2I มะยงชิด 136.94 193.06 2,962.88 857.97 923.80 446.84 1.18
3,348.01 729.23 690.37 110.75 1.03
11I ขาวนาปน าหวานนาํ้ ตม 807.42 6.79 4,753.00 1,061.73 787.39 54.82 1.01
3,229.39 889.09 866.09 32.04 1.01
11I ขาวนาปรงั นาหวา นนา้ํ ตม 788.67 6.82 3,849.69 1,438.32 1,166.39 638.80 1.20
50,160.85 47,885.97 44,383.57 42,929.11 6.94
11I ขา วนาปน าหวา น 436.36 6.79 9,860.74 4,570.73 3,085.79 1,889.99 1.24

11I ขาวนาปรงั นาหวา นนา้ํ ตม 490.91 6.82

16 ขา วนาปนาหวา นนาํ้ ตม 700.00 6.79

16I* ขาวนาปน าหวาน 475.61 6.79

16I* ขา วนาปรงั นาหวา นนํ้าตม 564.47 6.82

36I* มะยงชิด 259.82 193.06
36BI ไผตง 532.15 18.53

หมายเหต:ุ ไผต ง จํานวน 50 ตน ตอไร (ป 1- ปที2่ 2)

มะยงชดิ จํานวน 25 ตน ตอไร (ป 1- ปท ่ี 20 ขน้ึ ไป)

เอกสารอา งอิง
สํานักงานจังหวัดนครนายก. 2561 แผนพัฒนาจังหวดั นครนายก 4 ป ปงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564

ฉบับสมบูรณ. กลมุ งานยุทธศาสตรจ ังหวัด จงั หวัดนครนายก กระทรวงมหาดไทย

การวเิ คราะหทางเศรษฐกจิ เพอ่ื จดั ทาํ เขตการใชท่ดี นิ
พืชเศรษฐกจิ สละปการเพาะปลกู 2561/62

โดย :นายณฐั ภาส ศรเี ลศิ เศรษฐกรปฏิบัตกิ าร
กลุมเศรษฐกิจทดี่ ินทางการเกษตร

ในขณะที่ไมผลเศรษฐกจิ ทส่ี าํ คญั เชน ทุเรยี น เงาะ และมังคุด กําลังประสบปญหาในหลาย ๆ ดาน เชน ปญหาราคา
ของปจจัยการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้นทุกป แรงงานหายากและมีราคาแพง ปญหาการใชเทคโนโลยีการผลิต

ที่ยุงยากและซับซอนในการท่ีจะผลิตใหไดมากที่สุด ปญหาความไมแนนอนทาง
การตลาด โดยเฉพาะในชวงท่ีมีผลไมหลายชนิดออกสูตลาดในเวลาไลเลี่ยกัน
จะทําใหราคาของผลผลิตต่ํามาก จากปญหาดังกลาว ทําให“สละ”
เปน พืชที่นาจบั ตา เน่อื งจากเปนพืชที่ปลูกงาย ตายยาก ขั้นตอนการ
ผลิตไมยุงยาก ไมตองการแรงงานท่ีมีฝมือ ใหผลผลิตไดตลอดทั้งป
สามารถขายไดราคาดี ท้ังผลสดและแปรรูปมีตลาดรองรับท้ัง
ในประเทศ และตา งประเทศมรี สชาติหอมหวานเฉพาะตัวเปนท่ีนิยม
ของผูบริโภค ในประเทศไทยจะปลูกกันมากในภาคตะวันออก
โดยทั่วไปสามารถปลูกไดดีเกือบทุกสภาพพ้ืนที่ แตพ้ืนท่ีที่เหมาะสมควร

ไมมีนํ้าทวมขัง ลักษณะดินควรเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนปนเหนียวท่ีมี
ความอุดมสมบูรณสูง ระบายนํ้าไดดี อุณหภูมิเฉล่ียประมาณ 20-40 องศาเซลเซียส มีแหลงนํ้าเพียงพอตลอด
ชวงฤดูแลง สายพันธสุ ละทป่ี ลูกในประเทศไทยมีหลายสายพนั ธุ เชน พนั ธเุ นนิ วง พนั ธหุ มอ พันธุสุมาลี

กรมพัฒนาที่ดินมีภารกิจหลักในการกําหนด
นโยบายและวางแผนการใชท่ีดินในพื้นท่ีเกษตรกรรม
โดยคํานึงถึงการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยูอยาง
จาํ กดั ใหเหมาะสมและเปนธรรมโดยใหค วามสาํ คัญกับการ
บริหารจัดการทรัพยากรการผลิตแบบย่ังยืน โดยเฉพาะ
ท รั พ ย า ก ร ที่ ดิ น แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร น้ํ า ท่ี เ ป น ร า ก ฐ า น ข อ ง
การเกษตรการจัดทําเขตการใชท่ีดินสําหรับพืชเศรษฐกิจสละ
จงึ ตองทําการสาํ รวจขอ มูลท่ัวไปดานเศรษฐกิจ สังคม และ
ภาวการณผลิตพืช ใหถ ูกตองและเปน ปจ จุบัน เพื่อสามารถ
นําไปวางแผนการใชที่ดิน โดยทําการสํารวจในพื้นท่ี
ภาคตะวนั ออกประกอบดวย 2 จังหวัด ไดแก จังหวัดจันทบุรี
และจังหวัดตราด วัตถุประสงคของการสํารวจคือ 1) ศึกษา
ขอ มูลพ้ืนฐานดา นเศรษฐกิจและสงั คมของครวั เรือนเกษตร 2) เพื่อศึกษาการใชปจจัยการผลิตที่สําคัญ เชน
ปุย ยา และแรงงาน เปนตน 3) เพื่อวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชเศรษฐกิจสละ
ตามระดับความเหมาะสมทางกายภาพของดิน

ผลการศึกษาโครงสรางตนทุนการผลิตพืชเศรษฐกิจสละ ปการเพาะปลูก 2561/62 พบวา

พน้ื ทดี่ ินทมี่ ีความเหมาะสมทางกายภาพปานกลาง (S2) มตี นทนุ ทัง้ หมดเฉลยี่ ตอไร 23,305.43 บาท แบงเปนตนทุน

ผันแปรเฉลี่ยตอไร 20,500.25 บาท และตนทุนคงท่ีเฉล่ียตอไร 2,805.18 และพ้ืนท่ีดินที่มีความเหมาะสม

ทางกายภาพเล็กนอย (S3) มีตนทุนท้ังหมดเฉลี่ยตอไร 23,232.96 บาท แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ยตอไร

20,759.65 บาท และตนทุนคงที่เฉล่ียตอไร 2,473.31 บาท จากตารางจะเห็นไดวาพื้นท่ีดินท่ีมีความเหมาะสม

ทางกายภาพปานกลาง (S2) มีตนทุนทั้งหมดสูงกวาพ้ืนที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพเล็กนอย (S3)

เนื่องจาก มีตนทุนคงท่ีสูงกวา (คาเสื่อมอุปกรณการเกษตร และคาเสียโอกาสเงินลงทุนในอุปกรณการเกษตร)

เพราะ มีการใชเ ครือ่ งมือและอุปกรณทางการเกษตรในการผลิตท่ีมากกวา

ตารางโครงสรางตนทนุ การผลติ พืชเศรษฐกิจสละปการเพาะปลกู 2561/62

รายการ S2 S3
ตนทนุ ทง้ั หมด (บาท/ไร) บาท รอยละ บาท รอ ยละ
23,305.43 100.00 23,232.96 100.00
ตน ทนุ ผันแปร (บาท/ไร) 20,500.25 87.96 20,759.65 89.35
ตน ทุนคงท่ี (บาท/ไร) 2,805.18 12.04 2,473.31 10.65
ตนทุนตอกโิ ลกรมั (บาท) 22.53 26.03
ท่ีมา : กลุม เศรษฐกิจทีด่ นิ ทางการเกษตร,จากการสาํ รวจ,2562

ดานผลตอบแทนการผลิตสละ ที่ราคาเฉล่ีย 32.31 บาทตอกิโลกรัม พบวา พ้ืนท่ีดิน
ทีม่ คี วามเหมาะสมทางกายภาพปานกลาง (S2) ผลผลิตเฉล่ียตอไร 1,034.24 กิโลกรัม มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ยตอ
ไร 33,416.29 บาท ผลตอบแทนเหนอื ตน ทนุ ท้งั หมดเฉลี่ยตอ ไร 10,110.86 บาท ระดับผลผลิตคุมทุน 721.31
กิโลกรัมตอไร และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C) เทากับ 1.43 พื้นท่ีดินท่ีมีความเหมาะสม
ทางกายภาพเล็กนอย (S3) ผลผลิตเฉลี่ยตอไร 892.62 กิโลกรัมตอไร มีมูลคาผลผลิตเฉล่ียตอไร 28,840.55
บาท ผลตอบแทนเหนือตนทุนท้ังหมดเฉลี่ยตอไร 5,607.59 บาท ระดับผลผลิตคุมทุน 719.06 กิโลกรัมตอไร
และอตั ราสว นรายไดต อ ตนทุนทงั้ หมด (B/C) เทากบั 1.24
จากผลการศึกษา เกษตรกรผูปลูกสละในพ้ืนที่ดินท่ีมีความเหมาะสมทางกายภาพปานกลาง (S2)
มี ป ริ ม า ณ ผ ล ผ ลิ ต แ ล ะ ไ ด รั บ ผ ล ต อ บ แ ท น จ า ก ก า ร ผ ลิ ต ที่ สู ง ก ว า ใ น พื้ น ที่ ดิ น ท่ี มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม
ทางกายภาพเล็กนอย (S3) และในทั้ง 2 พ้ืนที่มีความคุมคาในการลงทุนเพราะมีอัตราสวนรายได
ตอตนทนุ ท้ังหมด (B/C) มากกวา 1 และมปี ริมาณผลผลติ ทม่ี ากกวาระดับปริมาณผลผลิตคมุ ทุน
ตารางผลตอบแทนการผลติ พชื เศรษฐกิจสละ ปการเพาะปลูก 2561/62

รายการ S2 S3
บาท บาท
ผลผลติ เฉลย่ี (กโิ ลกรัม/ไร) 1,034.24 892.62
ราคาผลผลติ เฉลี่ย (บาท/กโิ ลกรัม) 32.31 32.31
มูลคาผลผลิต (บาท/ไร) 33,416.29 28,840.55
ผลตอบแทนเหนือตน ทนุ ทั้งหมด (บาท/ไร) 10,110.86 5,607.59
ระดับปริมาณผลผลติ คมุ ทนุ (กิโลกรัม/ไร) 721.31 719.06
B/C Ratio 1.43 1.24
ท่มี า : กลุมเศรษฐกจิ ที่ดินทางการเกษตร,จากการสาํ รวจ,2562

การบรหิ ารจัดการพนื้ ทเ่ี กษตรกรรมตามแผนทีก่ ารเกษตรเชิงรุก
(Zoning by Agri-Map)

โดย : กลุมนโยบายและวางแผนการใชทด่ี ิน
ปจจุบันปญ หาสําคญั ดานการเกษตรของประเทศไทย คอื ตน ทนุ การผลิตสูง สินคาการเกษตร
ลนตลาดในบางชวงทําใหเกิดปญหาราคาสินคาตกต่ํา เกิดความไมสมดุลระหวางผลผลิตของสินคาเกษตรกับ
ความตองการของตลาด ซ่ึงเปนปญหาที่เกิดข้ึนอยางตอเน่ืองเปนเวลานาน สาเหตุสําคัญอยางหน่ึงท่ีทําใหเกิด
ปญหาดังกลาว คือเกษตรกรจํานวนมากท่ีผลิตสินคาเกษตรในพ้ืนที่ไมเหมาะสม กระทรวงเกษตรและสหกรณ
จึงใหความสําคัญกับการบริหารจัดการพ้ืนท่ีไมเหมาะสม (S3 และ N) โดยเฉพาะในพื้นท่ีท่ีปลูกขาวและพืช
เศรษฐกิจอื่นๆ รวม 13 ชนิด ใหเกิดการปรับเปล่ียนการผลิตในพ้ืนที่ไมเหมาะสมไปสูการผลิตสินคาชนิดใหมที่
มคี วามเหมาะสม และมีประสิทธิภาพในการเพาะปลูกอยางย่ังยืน จึงเปนที่มาของโครงการบริหารจัดการพื้นที่
เกษตรกรรมตามแผนที่การเกษตรเชิงรุก (Zoning by Agri-Map) ซึ่งเปนการสนับสนุนการปรับเปลี่ยน
โครงสรางการผลิตตามแผนท่ีเกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agricultural Map for Adaptive
Management: Agri-Map) ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซ่ึงเปนแผนท่ีสําหรับบริหารจัดการพ้ืนท่ีเกษตร
รายจงั หวดั ใหส อดคลอ งกับสถานการณปจ จุบนั และในอนาคต โดยพิจารณาจากปจ จัยทางกายภาพ สังคม และ
เศรษฐกจิ เพ่ือแสดงใหเห็นถึงการใชพื้นท่ีในการเพาะปลูกพืชในแตละพื้นท่ีวามีความเหมาะสมกับชนิดของดิน
และปรมิ าณนาํ้ หรือไม หากพบวาไมม ีความเหมาะสมจึงจะสนบั สนุนใหเกษตรกรปรับเปล่ียนการผลิตตามความ
เหมาะสมของพ้นื ทีแ่ ละความตองการของตลาด โดยมีแนวทางการพจิ ารณาพน้ื ท่ีดาํ เนินการ ดังน้ี
1. เปนพ้ืนท่ีปลูกพืชเดิมในพ้ืนท่ีไมเหมาะสม (S3 และ N) การผลิตมีความเสี่ยงที่จะเกิดความ
เสยี หายสูง และผลผลติ ตํ่า
2. ระบบการเกษตรใหม มีโอกาสทางการตลาดสูงสอดคลองกับดานเศรษฐกิจ สังคม และ
สง่ิ แวดลอ ม
3. เกษตรกรมีความประสงคจะเขารวมดวยความสมคั รใจ
4. ภาครัฐสรางแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยน โดยความรวมมือของหนวยงานในกระทรวงเกษตร
และสหกรณ ระบบประชารัฐ และเกษตรกร
5. บริหารจัดการปรับเปลี่ยนการผลิตในรูปแบบการรวมกลุม เพ่ือพัฒนาจาการปลูกพืชในพื้นที่
ไมเ หมาะสม (S3 และ N) นําไปสกู ารปลกู พชื ชนดิ อ่นื ในพน้ื ท่เี หมาะสม (S1, S2) และนําไปสรู ูปแบบแปลงใหญ
6. หนวยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณในจังหวัดรวมบูรณาการ ตั้งแตการพิจารณา
คัดเลือกพนื้ ท่ี รูปแบบการปรับเปลย่ี นการผลิต แผนการปฏิบตั ิ งบประมาณ และหนวยงานรบั ผิดชอบ
7. สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัด เปนหนวยงานหลักในการนําเสนอพื้นท่ีไมเหมาะสมจาก Agri-Map
เพื่อใหคณะทํางานระดบั จังหวดั พจิ ารณาพืน้ ทด่ี ําเนินการ
8. การปรับเปล่ียนการผลิตเปนสนิ คา ชนดิ ใหม จะดําเนินการใหความรูความเขาใจแกเกษตรกรท่ี
เขารวมโครงการ ในดานการปลูกพืช เล้ียงสัตว ประมง และระบบการเกษตรสมัยใหม เพื่อมุงสูเกษตร 4.0
ตามนโยบายยกกระดาษ A4 เพ่ือใหเกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน โดยขับเคล่ือนผานศูนยเรียนรูการเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพการผลิตสนิ คาเกษตร (ศพก.)

กระทรวงเกษตรและสหกรณใหความสําคัญและสงเสริมการขับเคลื่อนโครงการบริหารจัดการ
พน้ื ที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) อยา งตอเนือ่ ง โดยกําหนดเปาหมายในยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป
ยุทธศาสตรที่ 2 : การสรางความสามารถในการแขงขัน ใหมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมในพ้ืนที่ไมเหมาะสม (S3
และ N) เปา หมาย 6 ลา นไร โดยมแี ผนการดําเนินงานปละ 300,000 ไร การขับเคลื่อนโครงการบริหารจัดการ
พื้นทีเ่ กษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) ในระดับกระทรวงฯ ต้ังแตป 2559 - 2561 ดําเนินการปรับเปลี่ยน
พืน้ ที่ไมเหมาะสมแลว กวา 460,000 ไร ครอบคลุมพืน้ ท่ี 68 จงั หวัด เกษตรกรไดรับประโยชนกวา 85,000 ราย
สําหรับในป 2562 มเี ปา หมายดําเนินการ 252,775 ไร เนน ดําเนินการในพ้นื ทีศ่ ูนยเ รียนรูการเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลติ สินคาเกษตร (ศพก.) และเกษตรแบบแปลงใหญ โดยใชแผนที่ความเหมาะสมในการปลูกพืชสําคัญใน
ระดับตําบล เปนเคร่ืองมือในการสรางความรูเร่ืองความเหมาะสมของพ้ืนที่ทําการเกษตรใหเกษตรกร กําหนด
ระดบั ความเหมาะสมในการปลูกพืชแตละชนิดเปน 4 ระดับ คือ S1 เหมาะสมมาก S2 เหมาะสมปานกลาง S3
เหมาะสมนอย และ N ไมเหมาะสม ซึ่งเกษตรกรท่ีปลูกพืชเหมาะสมพื้นท่ีอยูแลว (S1 และ S2) จะไดรับการ
ถายทอดความรูเพิ่มเติมดานการลดตนทุนการผลิต สวนเกษตรกรที่ปลูกพืชไมเหมาะสมกับพ้ืนท่ี (S3 และ N)
มีมาตรการสนับสนุนใหดําเนินการปรับเปลี่ยนมาผลิตสินคาเกษตรที่เหมาะสม เชน การเสนอทางเลือกในการ
ผลติ พชื ทเี่ หมาะสม การปศุสตั ว การเล้ยี งสตั วน้ํา การปลูกหมอ นเล้ยี งไหม การทําเกษตรผสมผสาน เปนตน

ในสวนของกรมพัฒนาท่ีดิน ในป 2562 มีการปรับเปล่ียนในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 และ N) โดย
การจดั ทาํ ระบบอนุรักษดนิ และนํา้ ในพน้ื ทีป่ รบั เปล่ียนเพ่ือปรับโครงสรางของพื้นท่ีใหเหมาะสมสําหรับการผลิต
พืชชนิดใหม ในพื้นท่ีปลูกขาวเพ่ือปรับเปลี่ยนเปนทําเกษตรผสมผสานและปลูกพืชชนิดอื่น 90,000 ไร ใน 52
จังหวัด อีกท้ังปรับปรุงและเพ่ิมศักยภาพการผลิตในพ้ืนที่ดินปญหาโดยการสนับสนุนวัสดุปรับปรุงบํารุงดินใน
พ้นื ทป่ี รบั เปลยี่ นดว ย

ปรับเปลีย่ นพ้ืนที่ปลูกขา วในพ้ืนที่ไมเ หมาะสมเปน เกษตรผสมผสาน

ตัวอยา งเกษตรกร

ปรบั เปลีย่ นพ้ืนท่ปี ลูกขาวเพื่อทําการเกษตรแบบผสมผสาน

นางสาํ เนียง แสงสอี อน 337 หมทู ี่ 8 บานโนนดู ตําบลบานฝาง อาํ เภอสระใคร จงั หวัดหนองคาย
พ้นื ทท่ี ้งั หมด 25.34 ไร พิกดั แหลง น้ําในไรนานอกเขตชลประทาน 48N 254969 E 1956862 N (S3)

การดาํ เนนิ งานขบั เคลอ่ื นการจดั ทาํ แผนการใชท่ดี นิ ระดับตําบล

โดย : กลุมนโยบายและวางแผนการใชทด่ี นิ
กองนโยบายและแผนการใชท่ีดินไดรวมดําเนินงานขับเคลื่อนการจัดทําแผนการใชท่ีดินระดับตําบล
ตามยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ.2561-2580) และแผนการปฏิรูปประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอม (ดานทรัพยากรดิน) ป 2561-2565 เพ่ือใหสามารถใชเปนกรอบแนวทางในการกําหนดทิศทาง
กิจกรรมในการพัฒนาพื้นท่ีตําบลใหสอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่และความตองการของชุมชน โดยนํารอง
ดําเนนิ การ จังหวัดละ 1 ตําบล รวม 77 ตําบล เพ่ือพรอมนําสูการปฏิบัติงานแบบบูรณาการกับภาคสวนตางๆ
ที่เก่ียวของในปงบประมาณ 2563 ในการจัดทําแผนพัฒนาการเกษตรและแผนงบประมาณรวมกับองคการ
บริหารสวนตําบล และจังหวัด นําไปสูการปฏิบัติไดอยางรวดเร็ว เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดในการจัดการ
ทรพั ยากรท่ีดิน

การดําเนินการกรมพัฒนาที่ดินไดมอบใหกองการเจาหนาที่ และกองนโยบายและแผนการใชท่ีดิน
อบรมเจาหนาที่ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขตและเจาหนาที่สถานีพัฒนาท่ีดินทั่วประเทศ 178 คน หลักสูตร การ
วางแผนการใชท่ีดินระดับตําบล จํานวน 3 รุน รุนที่ 1 วันที่ 22-24 มกราคม 2562 จัดฝกอบรมท่ีจังหวัด
พิษณุโลก รุนท่ี 2 วันที่ 28-30 มกราคม 2562 จัดฝกอบรมท่ีจังหวัดรอยเอ็ด และรุนที่ 3 วันท่ี 11-13
กุมภาพันธ 2562 จัดฝกอบรมท่ีจังหวัดสุราษฎรธานี พรอมจัดทําแผนการใชท่ีดินระดับตําบลนํารองเปน
ตัวอยางใน 3 จังหวดั

ขั้นตอนการจัดทําแผนการใชที่ดินระดับตําบลดําเนินการโดยสถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดรวมกับ
สํานักงานพัฒนาท่ีดินเขต และหนวยงานสวนกลางของกรมพัฒนาท่ีดิน มีขบวนการจัดทําที่สําคัญโดยอาศัย
การประสานของหนวยงานของรัฐในพื้นที่ และการมสี ว นรวมของชุมชน (Participatory Rural Appraisal:

PRA) เพื่อใหชุมชนเจาของพื้นที่มีสวนรวมในการ
กําหนดแนวทางการพัฒนาของตนเองท่ีสอดคลอง
ตรงกับสภาพปญหา และความตองการท่ีแทจริง
ของชุมชน บนพ้ืนฐานศักยภาพของทรัพยากรใน
พื้นท่ี เพ่ือกอใหเกิดการใชที่ดินของตําบลที่มีความ
มน่ั คง และเกดิ ความมงั่ คั่งยงั ยนื ของชุมชนตอไป

ประโยชนข องแผนการใชที่ดินระดับตาํ บล
1. เพื่อใชเปนแนวทางในการวางแผนการใชท่ีดิน
ของตําบลใหตรงตามศักยภาพของทรัพยากรและมี
ความยั่งยนื
2. หนวยงานท่ีเก่ียวของในการพัฒนาพ้ืนที่สามารถ
ใชแผนการใชที่ดินที่มีขอมูลสนับสนุนตามหลัก
วิชาการประกอบการเขยี นแผนพัฒนาทองท่ี
3. แผนการใชท่ีดินระดับตําบลเปนการวิเคราะห
ขอมูลดานกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ประกอบ
กบั ขอ มูลเชิงพ้ืนที่ ผูมีสวนไดสวนเสียในการใชที่ดิน
สามารถใชส นบั สนุนการตัดสินใจในการพัฒนาพ้ืนที่
ไดอ ยางแมน ยาํ และสอดคลอ งกบั สภาพท่เี ปนจรงิ
4. ผูท่ีมีสวนไดสวนเสียในการใชที่ดิน และชุมชน
สามารถมองภาพของพ้ืนท่ีตําบลเปนภาพรวม
เดยี วกนั อันจะกอใหเกิดการพัฒนาอยางเปนระบบ
ในทศิ ทางเดียวกัน

การจดั ทําแผนทีค่ วามเหมาะสมของที่ดิน
สําหรบั การปลกู พชื สมุนไพร

โดย : กลุมนโยบายและวางแผนการใชท ่ดี ิน
ประเทศไทยเปนประเทศท่ีมีความหลากหลายในการผลิตสินคาเกษตร สามารถที่จะสงออกพืช
อาหารสตู ลาดโลกมาเปนเวลานาน นอกจากพืชอาหารและพืชพลงั งานแลว พืชสมุนไพรก็ยังเปนสินคาเกษตรมี
ศักยภาพสูงในการผลิตเพ่ืออุตสาหกรรมทางการแพทย ซ่ึงขณะนี้กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมพัฒนา
การแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ไดดําเนินการจัดทํารางแผนแมบทแหงชาติวาดวยการพัฒนา
สมุนไพรไทยฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ในการน้ีการจัดทําเขตการใชที่ดินที่เหมาะสมกับการปลูกพืช
สมุนไพรจะสามารถชวยสนับสนุนใหการจัดทําแผนแมบทฯ มีความสมบรูณมากย่ิงขึ้น โดยจะสามารถกําหนด
พ้ืนท่ีที่เหมาะสมในการผลิตพืชสมุนไพร ใชวางแผนการจัดหาวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมพืชสมุนไพรสําหรับ
การแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก รวมท้ังอตุ สาหกรรมตอเนอ่ื งอน่ื ๆ

ประกอบกับปจจุบันนโยบายการพัฒนาการ
เกษตรของประเทศ มีนโยบายสําคัญในการวางแผนการ
ใชที่ดินเพื่อใหทางเลือกในการใชที่ดินท่ีเหมาะสมแก
เกษตรกรผานโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม
(Zoning) ดังน้ันการจัดทําเขตการใชที่ดินที่เหมาะสมกับ
การปลูกพืชสมุนไพรจึงเปนการเพิ่มทางเลือกหนึ่งท่ีจะ
ชวยสงเสริมใหการพัฒนาการเกษตรของประเทศมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งข้นึ

ในสวนของกรมพัฒนาท่ีดิน ปงบประมาณ
2562 กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน ไดมอบหมาย
ใหกลุมนโยบายและวางแผนการใชที่ดินจัดทําแผนที่
ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร 10
ชนิด ไดแก กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญา
ยอ เพชรสังฆาต มะระข้ีนก มะลิ มะแวงเครือ และ
มะแวงตน เพื่อสนับสนุนแผนแมบทแหงชาติวาดวยการ
พัฒนาสมนุ ไพรไทย ฉบบั ท่ี 1 พ.ศ. 2560 – 2564

การจัดทําแผนท่ีความเหมาะสมของท่ีดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร 10 ชนิด ทําใหเจาหนาท่ีและ
เกษตรกรมีแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับปลูกพืชสมุนไพรเปนเคร่ืองมือและทางเลือกท่ีเหมาะสม
สําหรับการปรบั เปลยี่ นการผลิตสนิ คา เกษตรกรรมจากสินคาเกษตรท่ีลน ตลาดหรือไมเหมาะสมกับพื้นท่ี มาเปน
พืชสมนุ ไพรทีเ่ หมาะสมกวา โดยดาํ เนินการ

1. ศกึ ษารวบรวมขอ มลู พืน้ ฐานและจดั กลุม พืชสมุนไพร เพือ่ ใชในการประเมนิ คุณภาพทีด่ ินสาํ หรบั พืชสมุนไพร
2. สํารวจขอมูลภาคสนาม เพื่อศึกษาความตองการของพืชสมุนไพร การตลาด ของศูนยรวมขอมูล
สมนุ ไพรในแตละภาคของประเทศ รวมทั้งศึกษาขอมูลจากมหาวิทยาลัยตางๆ ท่ีสงเสริมการปลูกและวิจัยดาน
พืชสมุนไพร
3. กําหนดคา ปจจยั ในการเจรญิ เตบิ โตของพชื สมุนไพร (CROP REQUIREMENT)
4. จดั ทําแผนทคี่ วามเหมาะสมของท่ดี นิ สาํ หรบั ปลกู พืชสมุนไพร

นอกจากนี้กรมพัฒนาท่ีดิน ยังไดรวมจัดนิทรรศการ
ในงานมหกรรมสมุนไพรแหงชาติ และการประชุมวิชาการ
ประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพ้ืนบาน และ
การแพทยทางเลือกแหงชาติ คร้ังท่ี 16 ระหวางวันที่ 6 –
10 มีนาคม 2562 ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุมอิม
แพ็ค เมืองทองธานี โดยกองนโยบายและแผนการใชที่ดินจัด
นิทรรศการในการจัดทําแผนที่ความเหมาะสมของที่ดิน
สําหรบั ปลกู พชื สมนุ ไพร (Land Suitabality)

และเพื่อใหสามารถดําเนินการจัดทํา
แผนที่ความเหมาะสมของท่ีดินสําหรับปลูกพืช
สมนุ ไพรไดอ ยางถกู ตอง เหมาะสม และใชประโยชน
ไดสูงสุด กองนโยบายและแผนการใชที่ดินจึงได
จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการข้ึน เพ่ือรับฟงความ
คิดเห็น และขอเสนอแนะ ตอการจัดทําแผนที่ความ
เหมาะสมของที่ดินสําหรับปลูกพืชสมุนไพรจาก
หนวยงานที่เก่ียวของ เมื่อวันท่ี 5 เมษายน 2562
ณ โรงแรมทีเค พาเลซ กรุงเทพฯ

การจดั ทาํ ฐานขอ มลู และรา งแผนการใชประโยชนทด่ี ิน
พนื้ ทีศ่ ูนยโ ครงการหลวงเลอตอ จงั หวดั ตาก

โดย : กรรณสิ า สฤษฎศิริ นกั วเิ คราะหน โยบายและแผนชาํ นาญการพเิ ศษ
กลุมนโยบายและวางแผนการใชที่ดนิ

ตามท่มี ลู นิธิโครงการหลวงไดเรม่ิ งานพฒั นาชมุ ชนชาวเขาในเขตพ้ืนท่ศี นู ยพฒั นาโครงการหลวงเลอตอ
ซึ่งมีพื้นที่ดําเนินการ 126,970 ไร อยูในเขตอําเภอทาสองยาง และอําเภอแมระมาด จังหวัดตาก ในป พ.ศ.
2558 ซึ่งมีพนื้ ท่ีดาํ เนินการ 126,970 ไร จํานวน 14 หยอมบาน โดยเปา หมายหลักเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
ความเปนอยูของชาวเขา สงเสริมการปลูกพืชท่ีเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ทดแทนการปลูกฝน รวมท้ังฟนฟูและ
อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะปาไมเนื่องจากเปนแหลงตนนํ้าลําธารที่สําคัญ จากเหตุผลดังกลาว
ขางตนจึงมีความจําเปนตองจัดทําฐานขอมูลและรางแผนการใชประโยชนท่ีดินในพ้ืนที่ศูนยโครงการหลวงเลอตอ
ตามหลักวิชาการที่ถูกตอ ง สอดคลองกับหลกั ยทุ ธศาสตรแ ละนโยบายของชาติดา นตาง ๆ เพ่ือนําไปสูการพัฒนา
อยา งยง่ั ยนื และสมดลุ ตอ ไป

การดําเนินงานเปนการจัดทําและรวบรวมฐานขอมูลที่ใชสําหรับการดําเนินงานประกอบดวย ขอมูล
ชน้ั คณุ ภาพลมุ น้ํา ขอมูลดินซึง่ มคี าํ อธบิ ายคุณลกั ษณะของดินที่พบแตละแหง เชน ความลึก ความอุดมสมบูรณ
คาความเปนกรดเปนดาง เนื้อดิน เปนตน ขอมูลสภาพการใชท่ีดินปจจุบัน ลงรายละเอียดถึงชนิดพืช ขอมูลความ
ลาดชนั ของพน้ื ที่ ความเหมาะสมของทดี่ นิ สําหรับการปลกู พืชเศรษฐกจิ ท่ีสําคญั และเปนท่ียอมรับของเกษตรกร
เชน ไมผลเมืองหนาว จุดท่ีต้ังของชุมชน เปนตนโดยทุกชั้นขอมูลจัดเก็บในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพ่ือ
นําไปสูการเช่ือมโยงความสัมพันธของแตละขอมูล สรางเงื่อนไข วิเคราะหและประมวลผลเพื่อจัดทําราง
แผนการใชทด่ี นิ ในพน้ื ท่ีศูนยพ ัฒนาฯ ตอ ไป

พื้นท่ีศึกษาของศูนยพัฒนาโครงการหลวงเลอตออยูในเขตปาสงวนแหงชาติประเภทเขตปาเพ่ือการ
อนุรักษ (โซน C) ทั้งพ้ืนท่ีศูนยพัฒนาฯ สภาพการใชท่ีดินสวนใหญยังเปนปาไมซ่ึงยังคงสภาพสมบูรณ การทํา
เกษตรกรรมที่พบมากท่ีสุดคือ ขาวโพดเลี้ยงสัตวประเภทไรหมุนเวียน และสภาพภูมิประเทศสวนใหญในพื้นท่ีเปน
พ้ืนท่ีสูงชัน มีความลาดชันระหวางรอยละ 35-50 มีเน้ือที่คิดเปนรอยละ 33.26 ของเนื้อท่ีศูนยพัฒนาฯ มีการ
กระจายตัวของลาํ นาํ้ ดี

รางแผนการใชท่ดี ินประกอบดวย 5 เขตหลัก ไดแกเขตพ้ืนท่ีปาไมเพื่อการอนุรักษ เขตรักษาสมดุลเพื่อการ
อนรุ กั ษแ ละการใชประโยชนอ ยา งยั่งยืน เขตแหลง นาํ้ เขตชมุ ชนบนพ้ืนที่สูง และเขตพ้ืนที่อ่ืน ๆโดยพบวาเขตที่
มีเน้ือที่มากทีส่ ุดคอื เขตพ้ืนทป่ี า ไมเพอื่ การอนรุ ักษ มีเนื้อท่ีคิดเปนรอยละ 56.02 ของเนื้อที่ศูนยพัฒนาฯ รองลง
ไปเปน เขตรักษาสมดลุ เพื่อการอนุรักษและการใชประโยชนอยางย่ังยืนมีเนื้อท่ีคิดเปนรอยละ 42.89 ของเน้ือท่ี
ศูนยพฒั นา ฯ ตามลาํ ดับ

รา งแผนการใชท ีด่ ินทจี่ ัดทําขนึ้ เปน ไปในลกั ษณะฟนฟูและอนรุ กั ษท รัพยากรธรรมชาติท่ีสําคัญ
โดยจําแนกเปนเขตตาง ๆ ใหสอดคลองกับสภาพพื้นที่ เนนการทําการเกษตรกรรมแบบยังชีพไมทําลาย
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-
2564) โดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ มีหลักการพัฒนาประเทศที่สําคัญใน
ระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”“การพัฒนาที่ยั่งยืน”และ“คนเปน
ศูนยกลางการพัฒนา”และยุทธศาสตรสถาบันวิจัยและพัฒนาพ้ืนท่ีสูง (องคการมหาชน) ระยะท่ี 3 (พ.ศ.
2560-2564) เพื่อนาํ รางแผนการใชท่ดี ินท่ีจัดทาํ ขึ้นนีเ้ ปน เคร่ืองมือเพื่อดําเนินงานรวมกันระหวางหนวยงานที่มี
ภารกิจหลักเก่ียวของ โดยมีเปาหมายดานการพัฒนาพ้ืนที่และคุณภาพชีวิตของประชาชนเปนสําคัญ โดยไม
ละเลยมิติเชิงพ้ืนท่ีในดานการคุมครองและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมควบคูกันไป ราง
แผนการใชที่ดินที่จัดทําขึ้นสามารถนําไปสูการสงเสริมใหมีการปลูกพืชเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี สําหรับใชเปน
แนวทางในการพฒั นาชุมชนบนพ้ืนทสี่ ูง ทางดา นสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ สังคม โดยมีความสอดคลองกับศักยภาพ
ของแตล ะพื้นทเ่ี พือ่ นาํ ไปสูการแกปญหาในการลดพื้นท่ีปลกู ฝน อยางย่ังยืนตอไป

โครงการวางแผนการใชท ่ีดนิ เพ่อื บริหารจดั การพน้ื ทชี่ ุมนาํ้
ท่มี ีความสาํ คญั ระหวางประเทศ “อทุ ยานแหงชาติเขาสามรอ ยยอด”

ณฐมน ผอ งแผว นกั วิเคราะหน โยบายและแผนชาํ นาญการพิเศษ, ปรยี ารตั น ชยั ลงั กา นกั สาํ รวจดนิ ปฏบิ ัตกิ าร
อสุ มุ า ชะแลวรรณ นกั สํารวจดนิ , จันจริ า องอาจ นกั วชิ าการเกษตร, อนสุ รณ ศุภศรี เศรษฐกร
กลมุ วางแผนบรหิ ารจดั การพนื้ ที่ชมุ นาํ้

โครงการวางแผนการใชท่ีดินเพ่ือบริหารจัดการพื้นท่ีชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศอุทยานแหงชาติ
เขาสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ จัดทําข้ึนโดยมีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดแผนการใชที่ดินในพื้นที่ชุมน้ํา
โดยรอบ และศึกษาความรูความเขาใจของชุมชนโดยรอบพ้ืนที่ชุมนํ้าตอการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจาก
ปจจุบันความหลากหลายทางชีวภาพรอบๆ พ้ืนที่ชุมนํ้าอุทยานแหงชาติเขาสามรอยยอดเริ่มเปล่ียนแปลงไป สัตวน้ํา
และนกน้ํา ในบริเวณดังกลาวคอยๆ สูญพันธุไปหลายชนิด ทั้งนี้เพ่ือเปนการศึกษาแนวทางในการอนุรักษและฟนฟู
พ้ืนที่ชุมนํ้าระหวางประเทศแหงนี้ คณะทํางานจึงมีการกําหนดพ้ืนที่กันชนเพ่ือจัดทําโครงการวางแผนการใชท่ีดิน
เพ่อื บริหารจดั การพื้นทีช่ ุมนาํ้ ท่มี คี วามสาํ คญั ระหวางประเทศอทุ ยานแหงชาตเิ ขาสามรอยยอด

ขอบเขตพ้ืนท่ีศึกษาของโครงการ ครอบคลุมพ้ืนที่
อําเภอสามรอยยอด อําเภอปราณบุรี และอําเภอกุยบุรี จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ มีเน้ือที่ประมาณ 257,982 ไร ประกอบดวย
ระบบนิเวศท่ีหลากหลาย เชน ระบบนเิ วศบก ไดแก เทือกเขา ปาไม
ท่ีอยูอาศัย และพ้ืนท่ีการเกษตร เชน พืชไร ไมผล และไมยืนตน
ระบบพ้ืนท่ีชุมน้ํา ไดแก บึงนํ้าจืด ปาชายเลน และหาดทราย
รวมถึงนาขาวซึ่งอยูบริเวณใกลปาชายเลน พันธุไมข้ึนอยูเปนแนว
ตามชายคลองบริเวณชวากทะเล

กระบวนการในการทํางานโครงการวางแผนการใชที่ดินเพ่ือบริหารจัดการพื้นที่ชุมนํ้าท่ีมีความสําคัญ
ระหวางประเทศอุทยานแหงชาติเขาสามรอยยอด มีข้ันตอนตางๆ ไดแก การรวบรวมขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ
ที่เกี่ยวของ ท้ังดานกายภาพ เศรษฐกิจ และนโยบายตางๆ การวิเคราะหขอมูล และการวางแผนการใชท่ีดิน เพ่ือ
บริหารจัดการพน้ื ทชี่ มุ นาํ้ ทม่ี คี วามสําคัญระหวางประเทศอุทยานแหงชาติเขาสามรอยยอด ในพื้นท่ีรัศมี 5 กิโลเมตร
โดยรอบพืน้ ที่ชุมน้ําดังกลา ว

ประโยชนที่ไดรับจากการดําเนินโครงการ คือ สามารถนําแผนการใชท ดี่ ินท่ีไดไ ปกาํ หนดขอบเขตการใชที่ดิน
ใหเหมาะสมตามศักยภาพของพื้นที่ ภายใตนโยบายและความสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติ และสามารถนําขอมูล
ที่ไดไปสนับสนุนการวางแผนระดับประเทศ เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรที่ดิน และทรัพยากรนํ้าอยางบูรณาการ
รวมท้ังสามารถสนับสนุนแนวทางการกําหนดกรอบการดําเนินงานและแนวทางการดูแลรักษาส่ิงแวดลอมในพื้นที่ชุมน้ํา
อยางย่งั ยนื ภายใตความรวมมือระหวา งประเทศ

การปรับปรุงแผนการใชท ี่ดินระดับลมุ น้ําสาขา
เพอื่ การบริหารพ้ืนทีช่ มุ น้ําโดยใชแ บบจาํ ลองภูมิสารสนเทศ

: กรณีศึกษาลุม น้ําหลักแมนํ้ายม

โดย : นายดิเรก คงแพ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชาํ นาญการพิเศษ
กลมุ วางแผนบรหิ ารจดั การพ้ืนทชี่ ุมน้าํ

นโยบาย ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) ทางสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
(สศช.) ไดนําไปใชเปนสวนหนึ่งในการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 ที่จะใชบังคับ
ระหวางป 2560-2564 ซ่ึงนโยบาย Thailand 4.0 ไปบรรจุไวในแผนยุทธศาสตรชาติ รัฐบาลตองการผลักดัน
ประเทศเขาสูเศรษฐกิจดิจิทัลพ่ือใหประเทศพนจากกับดักรายไดปานกลาง แตเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงคอนขางเร็ว
ซ่ึงปจจุบัน Transform or Perish (ปรับตัวหรือแตกดับ) ถูกนํามากระตุนใหองคกรตระหนักถึงความสําคัญ
ของการปรับตัว เน่ืองจากปจจุบันเทคโนโลยีไดเขามาเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต ของผูคนอยางมาก ศัพทคําวา
Digital Transformation (DT) จึงถูกนํามาใชบอยคร้ัง DT หมายถึงการนํา Digital Technology เขามาปรับใช
กับทกุ สวนของธุรกจิ เปน ผลใหเ กดิ การเปลยี่ นแปลงต้ังแตร ะดบั รากฐาน กระบวนการทํางาน จนถึงกระบวนการ
สง มอบคณุ คา ใหกบั ลกู คา และมากกวา นั้นอาจถงึ ข้นั เปน การเปลี่ยนวัฒนธรรมขององคกรใหสามารถทาทายกับ
ส่งิ เดมิ ๆ กลา ลองผิดลองถูกมากขนึ้ และไมกลัวความลม เหลว DT นั้นเกี่ยวของกับ “คน” เปนหลัก เพราะถาคน
ไมยอมเปล่ียน จะมีเทคโนโลยีที่ดีแคไหนก็คงไมมีประโยชน ซึ่งแตละองคกรก็มีระดับความ “ดุดัน”
ในการเปล่ียนที่แตกตางกันไป องคกรท่ีดุดันหนอยก็อาจจะทําการลดคน ลดจํานวนสาขา องคกรท่ีดุดันนอย
ก็จะคอยๆ รอใหคนเปล่ียนตาม ท้ังนี้และท้ังน้ัน การท่ีจะทําใหคนเปล่ียน ระบบการทํางานเปล่ียนแปลงไป
จากการศึกษาของ DTI (2015) (Digital Transformation Initiative) พบวากลุมเทคโนโลยีสําคัญ
ประกอบดวย 7 กลุมเทคโนโลยี ไดแก 1) Artificial intelligence (A.I.) 2) Autonomous vehicle 3) Big data
analytics and cloud 4) Custom manufacturing and 3D printing 5) Internet of Things (IoT) and
connected devices 6) Robots and drones และ 7) Social media and platforms ซ่ึงทั้ง 7 กลุม
เทคโนโลยนี ้ี ไมร วมถงึ เทคโนโลยอี ุบัติใหม (Emerging technologies) เชน Block chain ที่มีบทบาทสําคัญใน
ปจจุบันน้ีเชนกัน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) เปนการใชเทคโนโลยีเพื่อใชใน
การบริหารจัดการฐานขอมูลภายในองคกร เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการวางแผนการใชท่ีดิน
เพ่ือใหการดําเนินการวิเคราะหกระบวนการดังกลาวโดยใชแบบจําลองภูมิสารสนเทศ การศึกษากระบวนการ
วิเคราะหแ บบจําลองภูมสิ ารสนเทศเพ่ือใชในการวิเคราะหแบบอัตโนมัติดวย Model Builder กับการพัฒนา scrip
ดว ยภาษาไพธอน (Python)

ดังน้ัน กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาท่ีดิน จึงไดจัดทําการศึกษากระบวนการปรับปรุง
แผนการใชท่ีดินระดับลุมนํ้าสาขาโดยใชแบบจําลองภูมิสารสนเทศ และการจัดทําฐานขอมูลเพ่ือสนับสนุน
แบบจําลองข้ึน การพัฒนาแบบจําลอง Model Builder เพ่ือใชวิเคราะหฐานขอมูล ในการจัดลําดับการใชคําส่ัง
Geo-processing และ โปรแกรมทางดาน GIS รวมกับการเขียนโปรแกรมภาษา Python เปนภาษาโปรแกรม
ทีส่ ามารถสรางงานไดหลากหลายกระบวนทัศน (Multi-paradigm language) โดยจะเปน การนําเอาหลักการ

ของกระบวนทัศน แบบ Object-oriented programming, Structured programming, Functional
programming และ Aspect-oriented programming กระบวนการปรับปรุงแผนการใชที่ดินระดับลุมน้ําสาขา
ไดพัฒนาฐานขอมูลและระบบการจัดการฐานขอมูล (Database and database management system)
ตามองคการมาตรฐานอุตสาหกรรมนานาชาติท่ีเรียกวา ISO/TC211 ตามโครงสรางพ้ืนฐานขอมูล
ภูมิสารสนเทศของประเทศไทย หรือ Thailand Spatial Data Infrastructure (ThaiSDI) (UN-GGIM, 2016)
เพื่อสรางองคความรูนวัตกรรมดิจิทัล (Digital Innovation Knowledge:-DIK) ดานการวางแผนการใชท่ีดิน
ในอนาคต โดยใชแบบจําลองภูมิสารสนเทศและการจัดทําฐานขอมูลเพ่ือสนับสนุนแบบจําลอง :กรณีศึกษาลุม
นา้ํ หลกั แมน ํา้ ยม

ผลการวิเคราะหขอ มลู เขตการใชท ี่ดนิ ลมุ นํา้ หลกั แมนา้ํ ยม

การสาํ รวจ จาํ แนก และจัดทาํ ฐานขอ มูล
ทะเบยี นรายชือ่ พน้ื ท่ีชมุ นาํ้ ทีม่ คี วามสําคัญระดบั ทอ งถ่นิ

โดย : กลุมวางแผนบริหารจดั การพ้ืนที่ชมุ นาํ้

กลุมวางแผนบริหารจัดการพื้นที่ชุมนํ้า ปฏิบัติงานเพ่ือสนับสนุนการดําเนินงาน
ดานส่ิงแวดลอมเก่ียวกับพ้ืนที่ชุมนํ้ามาอยางตอเนื่อง โดยดําเนินการสํารวจ จําแนกและจัดทําฐานขอมูล
ทะเบียนรายชื่อพื้นท่ีชุมน้ําที่มีความสําคัญระดับทองถิ่นตั้งแตปงบประมาณ 2554 เพ่ือสํารวจพื้นท่ีชุมน้ํา
ที่มีความสาํ คญั ระดบั ทองถิ่นและจัดทําเปน ฐานขอ มูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ใหสามารถนําไปสนับสนุน
ขอมูลดานการวางแผนการใชที่ดินเพื่อการบริหารจัดการพ้ืนท่ีตามความเหมาะสมลักษณะทางกายภาพ
เศรษฐกิจและสังคม ขอกฎหมาย นโยบายและส่ิงแวดลอม ท้ังนี้ฐานขอมูลดังกลาวยังเปนขอมูลสําคัญที่ใช
ในการดําเนินงานภายใตอนุสัญญาวาดวยพ้ืนท่ีชุมนํ้าตอไป (อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมนํ้าไดใหคําจํากัดความ
ของพืน้ ท่ีชมุ น้ําวา พ้ืนท่ีลุม พนื้ ท่ีราบลุม พ้ืนท่ีลุมชื้นแฉะ พื้นที่ฉํ่าน้ํา มีนํ้าทวม มีน้ําขัง พ้ืนท่ีพรุ พ้ืนท่ีแหลงน้ํา
ท้ังท่ีเกิดข้นึ เองตามธรรมชาติและท่ีมนุษยสรางข้ึน ท้ังท่ีมีนํ้าขังหรือทวมอยูถาวร และชั่วคร้ังชั่วคราว ทั้งท่ีเปน
แหลงน้ําน่ิง และนํ้าไหล ท้ังที่เปนนํ้าจืด นํ้ากรอย และน้ําเค็มรวมไปถึงพื้นท่ีชายฝงทะเล และพื้นที่ของทะเล
ในบรเิ วณซึ่งเมือ่ น้ําลดลงตํา่ สุดมีความลกึ ของระดบั นาํ้ ไมเ กิน 6 เมตร)

การดําเนนิ งานสาํ รวจจาํ แนก จดั ทาํ ฐานขอมูลทะเบียนรายช่ือพ้ืนที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระดับทองถิ่น
ป 2562 ไดด าํ เนนิ งานในพ้ืนทจี่ ังหวดั ฉะเชงิ เทรา จาํ นวน 601 จุด ชลบุรี 631 จุด ปราจีนบุรี 750 จุด ระยอง 457 จุด
และสระแกว 457 จุด ผลการสํารวจพบวา พ้ืนที่ชุมนํ้าหลายแหงกําลังประสบปญหาความเส่ือมโทรมจากการบุก
รุกพ้ืนที่ เน่อื งจากไมมีแนวเขตที่ชดั เจน การเปลย่ี นแปลงพ้ืนทเ่ี พ่อื ทําการเกษตร การตืน้ เขนิ ของแหลงนา้ํ

โครงการศึกษา กระบวนการดําเนนิ งาน
เพื่อรองรบั การประกาศเขตอนรุ ักษดินและน้าํ
ตามพระราชบญั ญตั พิ ฒั นาทีด่ นิ พ.ศ. 2551 กรณศี กึ ษาลมุ นํา้ หว ยไคร

โดย : นางผกาฟา ศรจรสั สุวรรณ นกั วิเคราะหนโยบายและแผนชาํ นาญการพเิ ศษ
นางสาวนรนิ ทรพ ร นาเมือง นกั วิชาการเกษตรชาํ นาญการพเิ ศษ
กลมุ วางแผนบรหิ ารจดั การพ้ืนทช่ี มุ นํ้า

กลุมวางแผนบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ํา ไดทําการศึกษา
กระบวนการดําเนินงานเพ่ือรองรับการประกาศเขตอนุรักษดินและนํ้า
ตามพระราชบัญญัติพัฒนาท่ีดิน พ.ศ. 2551 กรณีศึกษาลุมน้ําหวยไคร
ตําบลวาวี อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย มีเปาหมายการศึกษา เปนการ
ดําเนนิ งานออกแบบจัดระบบอนุรกั ษดนิ และน้ํา เพอื่ ใหสามารถแกไ ขปญหา
หรือปองกันบรรเทาผลกระทบจากการชะลางพังทลายของดิน และพ้ืนที่
เสี่ยงภัยดินถลม ในการดําเนินงานครั้งนี้ แบงเปน 2 ข้ันตอน คือ ขั้นตอนที่
1 การดําเนินการประกาศเขตสํารวจที่ดิน และขั้นตอนท่ี 2 ดําเนินการ
ประกาศเขตอนุรักษด นิ และน้าํ

ซึ่งผลของการศึกษาลุมนํ้าหวยไคร เนื้อท่ี 14,434 ไร และพ้ืนท่ีจัดระบบอนุรักษดินและนํ้ามีเน้ือท่ี 2,181 ไร พบวาสภาพ
พนื้ ทล่ี มุ นํ้าหวยไครมีลักษณะพน้ื ท่ตี ั้งแตล กู คลื่นลอนลาดถงึ สงู ชนั มาก มีสภาพดินเปนดินลึกปานกลาง ถึงลึกมากและสภาพดินต้ืนถึง
ช้ันเศษหนิ พุ การประกอบอาชีพสว นใหญท าํ การเกษตร และบางสว นมรี ายไดจากการทาํ เปน แหลงทองเท่ียว เน่ืองจากพื้นที่ลุมน้ําหวย
ไคร ประกอบไปดวย บานหวยธาตุ บานปาซาง บานหวยไคร และบานดอยชาง ซึ่งเปนแหลงพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศ นั่น
คอื กาแฟ แมคคาเดเมยี รวมถงึ ไมผ ลเมอื งหนาวอนื่ ๆ

ผลจากการศกึ ษาความรูค วามเขาใจและความคดิ เหน็ ของเกษตรกรในพ้ืนท่ลี มุ นํา้ หวยไคร พบวา เกษตรกรมีความรู
ความเขา ใจในระดับดแี ละเห็นดว ยมาก ในการนํามาตรการอนุรักษดินและนํ้า ทั้งวิธีกลและวิธีพืช มาใชในการแกไขปญหาการชะลาง
พงั ทลายของดนิ และบา นดอยชางเปน พนื้ ท่ที ป่ี ระสบปญ หาเสี่ยงภัยตอดินถลม จึงเปนพื้นท่ีนํารองการปองกันและบรรเทาผลกระทบ
จากภยั ธรรมชาตทิ ่ีเกิดจากดินถลมในพื้นที่ โดยมี รศ.ดร.สุทธศิ กั ด์ิ ศรลมั พ และทีมคณะมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทําการศึกษาและ
ออกแบบโครงสรางทางวิศวกรรม ใหแกชุมชนท่ีตั้งบานเรือนอยูบนพ้ืนท่ีเส่ียงตอดินถลม สําหรับกรมพัฒนาที่ดินเปนหนวยงาน
ท่อี อกแบบงานจัดระบบอนรุ กั ษด ินและนาํ้ เพ่ือแกไขปญหาทางดานการเกษตรใหกับชุมชนโดยมีการกําหนดเขตการใชที่ดินใหตรงกับ
หลักวิชาการและโครงสรา งของดิน โดยขอมลู การวางแผนการใชท ด่ี นิ และการออกแบบระบบอนรุ ักษด นิ และน้ําน้ัน กรมพัฒนาท่ีดินได
สง มอบขอมลู ใหก บั องคการบริหารสว นตาํ บลวาวี ดําเนินการพฒั นาตอ ไป

การสาํ รวจและการจดั ทาํ แผนทสี่ ภาพการใชท ด่ี นิ
(มาตราสว น 1:25,000)

โดย : กลมุ วเิ คราะหส ภาพการใชท ่ีดิน

กลุมวิเคราะหสภาพการใชที่ดินกองนโยบายและแผนการใชท่ีดิน มีหนาที่รับผิดชอบในการสํารวจและ
จัดทําแผนที่สภาพการใชท่ีดิน มีการศึกษาและติดตามสถานการณการใชที่ดิน ตลอดจนการเปล่ียนแปลงการใช
ที่ดินของประเทศไทยเปนรายจังหวัด ในระดับมาตราสวน 1:25,000 เพื่อใชเปนฐานขอมูลในการกําหนดแผนการ
จัดการทรัพยากรท่ีดิน โดยนําขอมูลจากดาวเทียมมาใชในการวิเคราะหสภาพการใชท่ีดินรวมกับการตรวจสอบ
ขอมูลภาคสนาม

ในป 2562 มีการดาํ เนนิ งาน ในพนื้ ท่ี 36 จังหวัดประกอบไปดวยภาคกลาง 16 จังหวัด และภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนอื 20 จงั หวัด มีเนือ้ ทร่ี วมท้ังสิน้ 128,936,964 ไร

ภาคกลาง

1. จังหวัดกรุงเทพมหานคร มเี นอ้ื ทีร่ วม 978,263 ไร
2. จังหวัดชัยนาท มีเน้ือทร่ี วม 1,543,591 ไร
3. จังหวัดนครนายก มีเนอ้ื ท่ีรวม 1326,250 ไร
4. จังหวัดนครปฐม มีเน้อื ทรี่ วม 1,355,210 ไร
5. จังหวัดนนทบรุ ี มเี น้ือทร่ี วม 388,939 ไร
6. จังหวดั ปทุมธานี มเี น้ือทีร่ วม 953,660 ไร
7. จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา มีเนอ้ื ท่ีรวม 1,597,900 ไร
8. จงั หวัดราชบุรี มเี น้อื ที่รวม 3,247,787 ไร
9. จังหวดั ลพบรุ ี มเี นือ้ ท่ีรวม 3,874,846 ไร
10. จงั หวัดสมทุ รปราการ มเี นอ้ื ท่รี วม 627,557 ไร
11. จังหวัดสมุทรสงคราม มีเนื้อทร่ี วม 260,442 ไร
12. จังหวัดสมทุ รสาคร มีเน้อื ท่ีรวม 545,217 ไร
13. จังหวัดสระบุรี มีเนอื้ ทีร่ วม 2,235,304 ไร
14. จงั หวัดสงิ หบ ุรี มีเนอ้ื ท่รี วม 514,049 ไร
15. จงั หวัดสุพรรณบุรี มีเน้ือที่รวม 3,348,755 ไร
16. จังหวัดอางทอง มีเน้ือที่รวม 605,233 ไร

รวม 23,403,003 ไร

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

1.จังหวดั กาฬสินธุ มเี นอ้ื ท่รี วม 4,341,716 ไร
2.จังหวดั ขอนแกน มเี นอ้ื ที่รวม 6,803,744 ไร
3.จงั หวดั ชัยภูมิ มเี น้อื ทร่ี วม 7,986,429 ไร
4.จังหวดั นครพนม มีเนอื้ ท่ีรวม 3,445,418 ไร
5.จังหวดั นครราชสมี า มีเนือ้ ที่รวม 12,808,727 ไร
6.จังหวัดบึงกาฬ มเี น้อื ทร่ี วม 2,691,091 ไร
7.จงั หวัดบุรรี ัมย มเี นื้อทร่ี วม 6,451,178 ไร
8. จงั หวัดมหาสารคาม มเี นอื้ ทร่ี วม 3,307,302 ไร
9. จงั หวัดมุกดาหาร มีเนื้อท่รี วม 2,712,394 ไร
10.จังหวัดยโสธร มีเนือ้ ท่ีรวม 2,601,040 ไร
11.จงั หวัดรอยเอด็ มีเนือ้ ท่รี วม 5,187,156 ไร
12.จังหวัดเลย มเี นอ้ื ท่รี วม 7,140,382 ไร
13.จงั หวัดศรสี ะเกษ มีเนื้อที่รวม 5,524,984 ไร
14.จงั หวดั สกลนคร มีเนื้อที่รวม 6,003,602 ไร
15.จังหวัดสุรินทร มีเนื้อท่รี วม 5,077,535 ไร
16.จงั หวัดหนองคาย มีเนือ้ ที่รวม 1,891,584 ไร
17.จงั หวดั หนองบัวลําภู มเี น้ือทีร่ วม 2,411,929 ไร
18.จงั หวดั อํานาจเจรญิ มีเน้ือทีร่ วม 1,975,780 ไร
19.จงั หวดั อดุ รธานี มีเนือ้ ที่รวม 7,331,439 ไร
20.จังหวดั อบุ ลราชธานี มเี นือ้ ที่รวม 9,840,531 ไร

รวม 105,533,961 ไร

รวมเน้ือทที่ ง้ั ส้ิน 128,936,964 ไร

พนื้ ที่ปลกู พืชเศรษฐกิจ 5 ชนดิ พชื ป 2562

(ขอมูลจากการสํารวจสภาพการใชที่ดินป 2559-2561)

โดย : กลมุ วเิ คราะหส ภาพการใชที่ดนิ
1. ฝรงั่ มีเนือ้ ท่ีปลกู ทัง้ หมด 77,913 ไร แบง ออกเปน

ฝรัง่ รวมกับพืชชนิดอน่ื 29,845 ไร
ฝรั่ง 48,068 ไร

2. มะเขอื เทศ มีเนอ้ื ทีป่ ลกู ทง้ั หมด 47,187 ไร แบง ออกเปน
มะเขอื เทศหลังนา 400 ไร
มะเขือเทศรวมกับพชื ชนิดอ่ืน 9,964 ไร
มะเขอื เทศ 11,049 ไร
มะเขือเทศไรหมุนเวยี นรว มกับพชื นิดอนื่ 11,569 ไร
มะเขอื เทศไรหมุนเวยี น 14,205 ไร

3. ลองกอง มเี นอื้ ท่ปี ลกู ท้งั หมด 960,262 ไร แบง ออกเปน
ลองกองรว มกบั พชื ชนดิ อน่ื 867,311 ไร
ลองกอง 10,120 ไร
ลองกองในหมูบ าน 82,811 ไร

4. ระกาํ สละ มเี นือ้ ทปี่ ลกู ทง้ั หมด 16,574 ไร แบงออกเปน
ระกํา สะละ รวมกับพชื ชนิดอืน่ 10,0391 ไร
ระกาํ สะละ 6,467 ไร
ระกํา สะละในหมบู าน 68 ไร

5. หนอไมฝ รง่ั มีเนอ้ื ทป่ี ลูกท้งั หมด 2,704 ไร แบง ออกเปน
หนอไมฝ ร่งั หลังนา 5 ไร
หนอไมฝรัง่ รว มกบั พืชชนดิ อ่นื 27 ไร
หนอ ไมฝ ร่งั 2,672 ไร

การตรวจสอบความถกู ตองเนอื้ ท่ียนื ตนยางพารา
จากการแปลและวิเคราะหผลจากภาพถา ยดาวเทียม

โดย : กลุมวเิ คราะหส ภาพการใชท่ดี ิน

ตามที่ไดมีการจัดทําขอมูลเนื้อที่ยืนตนยางพาราของ
ประเทศไทย ป 2561 ตามขอสั่งการรัฐมนตรีวาการกระทรวง
เกษตรและสหกรณ โดยมีรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
นายสุรจิตต อินทรชิต เปนหัวหนาคณะทํางาน และสํานักงาน
เศรษฐกิจการเกษตร เปนฝายเลขานุการ โดยหนวยงาน
ท่ีเก่ียวของ 8 หนวยงาน ประกอบดวย กรมพัฒนาท่ีดิน(พด.)
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร(สศก.) กรมสง เสริมการเกษตร(กสก.)
สํานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม(ส.ป.ก.) การยางแหงประเทศไทย(กยท.) กรมปาไม กรมอุทยานแหงชาติ
สัตวปา และพันธุพืช และสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) : GISTDA
ประชุมหารือรวมกันรวม 3 ครั้ง ไดแก การประชุมคร้ังท่ี 1 เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562 ครั้งที่ 2 เม่ือวันท่ี 15
กุมภาพันธ 2562 และคร้ังท่ี 3 เม่ือวันท่ี 9 เมษายน 2562 และไดมีการประชุมยอย 3 หนวยงาน (พด. สศก. และ
GISTDA) รวม 3 คร้ัง และการออกตรวจสอบความถูกตองของขอมูลภาคสนาม (Ground truth) รวมกันทั้ง 8
หนวยงาน ระหวางวันท่ี 25 กุมภาพันธ – 6 มีนาคม 2562 โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือตรวจสอบความถูกตองของเน้ือท่ี
ยนื ตนยางพาราจากการแปลและวเิ คราะหผลจากภาพถา ยดาวเทียม และเนือ้ ที่ใหผ ลผลติ ของยางพารา

จากการตรวจสอบสามารถสรุปไดวาความถูกตอง
ขอมูลที่แปลและจําแนกในแตละประเภท หากขอมูลมีความถูกตอง
ตํ่ากวารอยละ 80 จะตองทําการแปล และวิเคราะหขอมูลใหม
เพื่อใหไดความถูกตองมากย่ิงข้ึน ซ่ึงในการประชุม คร้ังที่ 3/2562
ท่ีประชุมไดพิจารณาผลการออกตรวจสอบความถูกตองของขอมูล
ภาคสนาม รวมกันท้ัง 8 หนวยงาน พบวา จากเน้ือท่ียืนตนยางพารา
ท่ี 3 หนว ยงาน เหน็ รวมกนั จาํ นวน 28,542,248 ไร แยกเปน เห็นตรงกัน
23,475,616 ไร และเหน็ ตางกนั 5,066,632 ไร โดยผลการออกตรวจสอบ
ความถูกตองของขอมูลภาคสนามคงเหลือเนื้อท่ียืนตนยางพารา
4,696,448 ไร ดังนั้น เน้ือที่ยืนตนยางพาราของไทยในป 2561 ท่ี 8
หนวยงาน บรู ณาการจัดทํารว มกนั ณ เดือนเมษายน 2562 มีจํานวนท้ังส้ิน
28,172,065 ไร และใหท ้งั 8 หนวยงานใชข อมลู เนอ้ื ท่ียืนตน ยางพารา
ประเทศไทย ใหต รงกนั

การจดั ทาํ แผนทพ่ี ื้นท่เี สยี่ งตอ การเกดิ ดินถลม และนา้ํ ปาไหลหลาก
มาตราสวน 1: 4000

โดย : นายสิริธรรม เรขะรจุ ิ นกั วิชาการเกษตรปฏิบตั ิการ
กลมุ วางแผนการจดั การทีด่ นิ ในพนื้ ท่เี สย่ี งภยั ทางการเกษตร

การเกิดดินถลมและนํ้าปาไหลหลากเปนปรากฏการณ
ท่ีมักเกิดข้ึนควบคูกัน สวนใหญเกิดขึ้นบริเวณภูมิประเทศ
ที่เปนพื้นที่สูงชัน มีสาเหตุเน่ืองมาจากฝนตกหนักในพื้นที่รับนํ้า
ในปริมาณท่ีมากเกินกวาที่พ้ืนที่รับน้ําจะสามารถรับได ทําให
ปริมาณนา้ํ สว นเกินนีไ้ หลหลากจากพื้นที่รับนํ้าลงสูพื้นท่ีท่ีตํ่ากวา
ความเร็วในการไหลของกระแสนํ้าจะข้ึนอยูกับสภาพภูมิประเทศ
เชน ความลาดชนั ของพน้ื ท่ี ขนาดของลาํ นาํ้ เปนตนถากระแสน้ํา
มีความเร็วมากจะพัดพาทุกสิ่งที่ขวางทางนํ้าใหไหลไปตามกระแสนํ้า กอใหเกิดความเสียหายทั้งตอชีวิตและ
ทรัพยสินเปนมูลคามหาศาล นอกจากน้ีการตัดไมทําลายปาหรือเปลี่ยนแปลงสภาพการใชประโยชนท่ีดิน
ในพนื้ ท่ีรับนา้ํ ถือเปน ปจจัยกระตนุ ที่เรงทาํ ใหด นิ ถลมและน้ําปาไหลหลากเกิดเร็วขน้ึ กวา ที่เคยเกิดในสภาพปกติ
เน่ืองจากสภาพการอุมน้ําของดินนอยลง นํ้าท่ีไหลอยูบริเวณพื้นผิวดินมากขึ้นรวมตัวกันในลําน้ําสาขาเร็วขึ้น
มีปริมาณมากในระยะเวลาส้ันลง ประกอบกับดินซึ่งขาดรากไมใหญยึดเกาะเสริมความแข็งแรงก็จะพังถลม
เคลื่อนตัวลงปนกับนํ้า ทําใหเปนนํ้าโคลนซ่ึงมีความหนาแนนสูงมีกําลังพัดพาตนไมก่ิงไมมากขึ้นและพลังงาน
ในการทําลายตามลํานํา้ ที่ไหลผานสงู ขนึ้
การจัดทําแผนที่พ้ืนที่เสี่ยงตอการเกิดดินถลมและน้ําปาไหลหลาก มาตราสวน 1: 4000 เพื่อใชเปน
ขอมูลพ้ืนฐานในการวางแผนปองกันและลดผลกระทบท่ีเกิดขึ้นจากเหตุการณดินถลมและนํ้าปาไหลหลาก
โดยดําเนินการต้ังแตป 2553-2561 ซ่ึงดําเนินการไปแลวรวม 190 ลุมนํ้าสาขา และในป 2562 จัดทําแผนที่
พืน้ ทเ่ี สีย่ งตอการเกดิ ดนิ ถลม และประเมนิ พ้นื ทท่ี จี่ ะไดร ับความเสยี หายจากดินถลมจํานวน 14 ลุม นํา้ สาขา

โครงการปรบั ปรงุ ฐานขอ มูลแผนทพี่ ืน้ ทนี่ ํา้ ทว มซา้ํ ซาก

โดย : นางอารรี ัตน เรอื นทอง นักวิชาการเกษตรชาํ นาญการพเิ ศษ
กลมุ วางแผนการจัดการทีด่ นิ ในพืน้ ทีเ่ สยี่ งภยั ทางการเกษตร

ปงบประมาณ 2562 ไดดําเนินการจัดทําแผนที่น้ําทวมซํ้าซาก เพื่อใชเปนฐานขอมูลในการ
วางนโยบายการพัฒนาพื้นที่การเกษตรและแนวทางการใชประโยชนท่ีดินเชิงพ้ืนที่ โดยไดดําเนินการในพ้ืนท่ี
เปาหมายภาคกลาง 10 จังหวัด ไดแก จังหวัด สระบุรี ลพบุรี ชัยนาท อุทัยธานี อยุธยา อางทอง นครปฐม
สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และราชบุรี ซ่ึงไดมีการวิเคราะหและสํารวจพ้ืนท่ีภาคสนามเพ่ือสุมเก็บขอมูลจาก
เกษตรกรท่ีในพ้ืนที่ พรอมทั้งนําเขาขอมูลและปรับแกไขขอมูลใหมีความถูกตอง ซ่ึงจากการวิเคราะหขอมูล
ไดจาํ แนกการเกดิ นํา้ ทวมซํ้าซาก ตามระดบั ความรนุ แรงออกเปน 3 ระดับ คอื

ระดับ 1 พื้นท่ีน้ําทว มซ้ําซากเปน ประจํา มีนํา้ ทวมขังมากกวา 8 ครั้งในรอบ 10 ป
ระดบั 2 พ้นื ท่นี ้ําทวมซํา้ ซากบอ ยมีน้ําทวมขัง 4-7 ครงั้ ในรอบ 10 ป
ระดับ 3 พนื้ ที่นํ้าทว มซาํ้ ซากเปนครั้งคราวมีนํ้าทว มขงั ไมเ กิน 3 คร้งั ในรอบ 10 ป

แตเนอ่ื งจากในปจจุบันมีการเปล่ียนแปลงประเภทการใชประโยชนที่ดินประกอบกับการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ ทําใหเกิดน้ําทวมข้ึนบอยครั้งและทวีความรุนแรงมากข้ึนทุกป ดังน้ันการนําเทคโนโลยีท่ี
ทันสมัย เชน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร การสํารวจขอมูลระยะไกล และการใชแบบจําลองทางคณิตศาสตร
มาปรบั ปรุงแผนท่ีนํา้ ทวมซาํ้ ซาก จึงทําใหฐานขอมูลดังกลาวมีความเปนปจจุบัน และมีความถูกตองมากย่ิงขึ้น
เพื่อใหสามารถนําไปใชประโยชนในการแกไขปญหานํ้าทวมซ้ําซาก การวางแผนการเพาะปลูกกอนการทํา
การเกษตร ใหมีความเหมาะสมตามสถานการณท่ีอาจเกิดขึ้น ซึ่งจะชวยปองกัน และลดผลกระทบ รวมทั้งลด
ความเส่ยี งท่ีจะเกิดข้นึ จากการทาํ การเกษตรในพื้นทีน่ ํา้ ทวมซ้ําซากตอไปได

โครงการปรบั ปรุงฐานขอ มูลแผนทพี่ ืน้ ท่แี ลง ซํ้าซาก

โดย : นางสาวอจั ฉรี สงิ หโต นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ

กลุม วางแผนการจัดการทดี่ ินในพืน้ ท่เี สีย่ งภยั ทางการเกษตร

ฝนเปนปจจัยสําคัญท่ีสงผลใหเกิดภัยแลงในพื้นที่
แลงซํ้าซาก โดยปญหาจากการเกิดสภาวะความแหงแลง
ในปจจุบันที่พบคือ การขาดแคลนน้ําเพ่ือการอุปโภคและ
ทําการเกษตรในพื้นท่ีตางๆ ซึ่งภัยแลงเปนภัยธรรมชาติท่ีสําคัญ
และกอใหเกิดความเสียหายดานการเกษตรของประเทศ
สภาวะความแหงแลงนอกจากจะเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
แลวยังอาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม
ท่ีเปนผลจากการกระทําของมนุษย ซึ่งสงผลกระทบโดยตรง
ตอปริมาณนํ้าในพื้นที่ลุมนํ้า อีกทั้งยังมีผลกระทบทางออม
กับปริมาณน้ําฝน ประกอบกับสภาวะของการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศโดยรวมของโลก (Climate Change) ดังนั้น
เพื่อเปนการปองกันและบรรเทาความเสียหาย จึงไดมีการ
พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพ่ือนํามาประยุกตใชใน
การติดตาม และตรวจสอบพ้ืนท่ีประสบภัยแลงเพื่อนําไปใช
ประโยชนในการแกไ ขปญหาภยั แลงของประเทศตอไป

โดยในปงบประมาณ ๒๕๖๒ นี้ มีพื้นท่ีเปาหมาย คือ
ภาคใต ๑๔ จังหวัด ซ่ึงไดแก ชุมพร สุราษฎรธานี ระนอง
พังงา ภูเก็ต นครศรธี รรมราช ตรัง กระบี่ พัทลุง สตูล สงขลา
ยะลา ปต ตานี และนราธิวาส ซึง่ สามารถแบงพ้นื ท่แี ลงซ้ําซาก
ออกเปน 3 ระดบั ดังน้ีคือ

ระดับที่ 1 พนื้ ท่ีแลง ซา้ํ ซากต้ังแต 6 ครั้งขึ้นไปในรอบ 10 ป
ระดบั ท่ี 2 พื้นทีแ่ ลงซํ้าซาก 4-5 ครั้งในรอบ 10 ป
ระดับที่ 3 พื้นทแี่ ลงซํา้ ซากไมเ กิน 3 คร้ังในรอบ 10 ป

เฝาระวัง เตือนภัย
ดินถลม นํา้ ปาไหลหลาก นํา้ ทว ม และความแหงแลง

โดย : กลุมวางแผนการจัดการทีด่ นิ ในพื้นทีเ่ ส่ยี งภยั ทางการเกษตร
การเตอื นภัยในชวงเกิดภัยเฉพาะหนา หรือ Early warning เปนการเตือนเม่ือมีสัญญาณของการจะเกิดภัย
ท้ังกอน และเร่ิมเกิดขึ้นแลว ซึ่งจะตองอาศัยฐานขอมูลเบ้ืองตนคือพื้นท่ีที่มีโอกาสหรือศักยภาพในการเกิดภัย
ประกอบกับขอมูลจากการตรวจวัดท่ีเที่ยงตรง ที่ตรวจวัดไดจริงในที่เกิดเหตุ ซึ่งจะแตกตางกันออกไปในแตละ
ประเภทของภัย และจะตองมีระบบรับ-สงขอมูล เพื่อการประมวลผลท่ีรวดเร็ว เชื่อมโยงไปยังศูนยเตือนภัย
และแจง เตอื นไปยังพื้นท่เี ปา หมาย เพ่อื เตรียมการและบรรเทาความสูญเสียที่จะเกดิ ขน้ึ
การเตือนภัย และ การแจงขาวสารตามชวงเวลา ระยะเวลาการเตือนในชวงท่ีมีโอกาสสูงที่จะเกิดภัย
เชน ชวง 3 วัน หรือ 1 สัปดาห เปนตน ดําเนินการโดยการวิเคราะหปจจัยตางๆ ท่ีเก่ียวของกับการเกิดภัย
แผนที่พ้ืนที่ที่มีศักยภาพในการเกิดภัยตางๆ วิเคราะหรวมกับขอมูลสภาพภูมิอากาศ ซ่ึงเปนขอมูล real time
เชน ปริมาณน้ําฝนรายช่ัวโมง จากขอมูลดาวเทียม ซึ่งจะไดขอมูลพ้ืนที่ที่อาจจะเกิดภัยพิบัติ และทําการ
เผยแพรขอมูล พรอมแจงขาวสารผานชองทางท่ีเขาถึงไดงาย เชน website ของกรมพัฒนาท่ีดิน ผานส่ือ
โทรทัศน วิทยุ ส่ือสังคมออนไลน เปนตน เพื่อใหเจาหนาที่ของรัฐทั้งในสวนกลาง สวนภูมิภาค และประชาชน
ไดท ราบลวงหนา สามารถวางแผนเตรียมการรับสถานการณไดทันทวงที ซึ่งจะชวยลดและบรรเทาผลเสียหาย
จากการเกิดภยั ไดสว นหน่ึง

เครอื ขาย

เฝา ระวงั ผา นทาง website ของกรมพฒั นาที่ดิน
http://ldd.go.th/ldd หรอื http://irw101.ldd.go.th/

โครงการการจัดทําแผนทเ่ี ตือนภยั จากนาํ้ ทว มและภัยแลง
ในพ้ืนทีท่ าํ การเกษตรกอ นฤดูกาลเพาะปลูก

โดย : กลุมวางแผนการจดั การทด่ี ินในพน้ื ท่เี สย่ี งภัยทางการเกษตร

การปองกันและลดผลกระทบ โดยการประเมินความเส่ียง เปนวิธีการระบุลักษณะความรุนแรงและ
โอกาสในการเกิดผลกระทบทางลบจากภยั โดยวิเคราะหภ ยั ทอ่ี าจเกิดขึน้ ความลอแหลมที่มีในพ้ืนที่ศึกษา และ
ประเมนิ สภาพความเปราะบาง ณ ขณะน้นั ซึ่งมีความเปนไปไดท่ีจะทําใหเกิดอันตรายตอคน ทรัพยสิน บริการ
การดํารงชีวิต และสิ่งแวดลอม (UNISR 2009) เปนกระบวนการท่ีมีลําดับขั้นตอนชัดเจน เปนระบบ และ
โปรงใส เปนขอมูลพื้นฐานสําคัญสําหรับการวางแผนพัฒนาและตัดสินใจท่ีมีการคํานึงถึงความเส่ียง สามารถ
นําไปปฏิบตั ิไดใ นหลายระดบั เชน ระดับภูมิภาค ระดับชาติ ระดับทองถ่นิ และระดับชมุ ชน

การเกิดน้ําทวมภัยแลงน้ันอาจมีความรุนแรงมากนอยแตกตางกันออกไปในดานพ้ืนท่ี และ
ความเสียหายท่ีเกิดขึ้น ดังนั้นปจจัยท่ีเปนตัวบงช้ีในเชิงพ้ืนท่ี ก็คือ พื้นท่ีที่เกิดข้ึนเปนประจํา และพื้นท่ีหรือ
ชุมชนท่ีไดรับความเสียหายนั่นเอง “การการจัดทําแผนที่เตือนภัยจากนํ้าทวมและภัยแลงในพื้นที่
ทําการเกษตรกอนฤดูกาลเพาะปลูก” เพ่ือใชเปนฐานขอมูลในการเตรียมรับสถานการณภัยธรรมชาติ
ดานการเกษตร ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยจัดทําแผนที่ 3 ชนิด ไดแก แผนท่ีคาดการณความแหงแลง
ในพื้นที่ทําการเกษตร แผนที่คาดการณนํ้าทวมในพื้นท่ีทําการเกษตร และแผนท่ีคาดการณฝนท้ิงชวงในพื้นที่
ทําการเกษตร

โครงการการประยุกตใชระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร
และขอมลู สาํ รวจระยะไกลเพอื่ ปรบั ปรงุ ขอ มูล

การชะลา งพังทลายของดนิ ในพื้นที่เสย่ี งทางการเกษตร

โดย : นางสาวลิขติ พลยศ นักสาํ รวจดินชํานาญการ
กลุม วางแผนการจัดการท่ีดนิ ในพ้ืนท่ีเสย่ี งภัยทางการเกษตร

การประยุกตใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรและขอมูลสํารวจ
ระยะไกลเพ่ือปรับปรุงขอมูลการชะลางพังทลายของดินในพ้ืนท่ีเสี่ยง
ทางการเกษตรมีวัตถุประสงคเพื่อประยุกตใชขอมูลจากระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตรในการปรับปรุงขอมูลการชะลางพังทลายของดินในพ้ืนท่ี
ทําการเกษตร และเพื่อเสนอแนวทางในการวางแผนอนุรักษดินและน้ํา
ในพื้นท่ีเกษตรกรรมท่ีมีการสูญเสียหนาดิน โดยใชวิธีการประเมินการชะลาง
พังทลายของดิน ซ่ึงใชเทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตรรวมกับสมการ
การสญู เสียดนิ สากล Universal Soil Loss Equation (USLE)

จากผลการประเมินการชะลางพังทลายของดินโดยใชเกณฑการวัดและประเมินตามการประเมินการ
สูญเสียดินในประเทศไทย ไดมาซ่ึงแผนท่ีแสดงการสูญเสียดินภาคเหนือ (17 จังหวัด) แลวเสร็จในปงบประมาณ
2561 และในป 2562 ไดดาํ เนนิ การในพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบน

ผลทีไ่ ดรับ
มีขอมูล และแผนที่การชะลางพังทลายของดิน

ทีเ่ ปน ปจ จบุ ัน ทราบถงึ ปญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก
การใชประโยชนที่ดินท่ีไมเหมาะสมในดานของปริมาณ
การชะลางพังทลายของดิน และเปนขอมูลสนับสนุนการ
ตัดสนิ ใจในการวางแผนการอนุรักษดินและนํ้าในพื้นที่ท่ีมี
ความเสยี หายจากการชะลางพงั ทลายของดิน

โครงการฝก อบรมเชงิ ปฏิบัติการหลักสูตร
“มาตรการปองกันภัยดินถลม ดวยวิธีการอนุรักษดินและนํ้า”

โดย : นางสาวลขิ ติ พลยศ นักสํารวจดินชํานาญการ
กลุมวางแผนการจดั การท่ีดินในพ้นื ทเี่ ส่ยี งภัยทางการเกษตร

โครงการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร
“มาตรการปองกันภัยดินถลมดวยวิธีการอนุรักษดินและน้ํา”
ปง บประมาณ 2562 มีวตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ใหค วามรูแกเกษตรกร
และชุมชนเรื่องมาตรการปองกนั ภัยดินถลมดวยวิธีการอนุรักษดิน
และน้ํา รวมท้ังเสริมสรางใหเกษตรกรและชุมชนมีสวนรวมใน
การปองกันการเกิดดินถลมดวยวิธีการอนุรักษดินและน้ํา
ซึ่งมีเปาหมายเปนเกษตรกรและประชาชนท่ัวไปที่สนใจเขารวม
โครงการฯ ในพื้นทเ่ี ส่ียงตอการเกิดดินถลม จํานวน 90 คน

โดยทําการจัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการฯ จํานวน 2 รุน ดังน้ี
รนุ ที่ 1 ไดท าํ การจัดฝก อบรม ณ ศาลาเอนกประสงค หมูที่ 8
ตําบลควนทอง อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช และ
รนุ ที่ 2 จดั ฝก อบรม ณ หอ งประชุมองคการบริหารสวนตําบลกรุงชิง
หมูท่ี 4 ตําบลกรุงชิง อาํ เภอนบพติ ํา จังหวดั นครศรธี รรมราช

จากการฝกอบรมพบวาผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญเปนเกษตรกร รอยละ 91 มีความพึงพอใจใน
ภาพรวมของการจัดโครงการฝกอบรมในคร้ังน้ี ระดับดีมากรอยละ 29 ระดับดีรอยละ 61 และระดับปานกลาง
รอ ยละ 8 โดยเหน็ วา โครงการนี้มปี ระโยชนในเร่ืองของการใหความรูเรื่องระบบการอนุรักษดินและน้ํา การเกิด
ดินถลม การสรางความตระหนักถึงภัยดินถลม และสามารถนําความรูจากการฝกอบรมมาปรับใชในพ้ืนท่ี
เกษตรของตนเองและในชีวิตประจําวนั ได





โครงการฝกอบรม เรือ่ ง “ ขอมลู อตุ ุนยิ มวิทยากบั การวางแผนการ
จัดการทีด่ นิ ในพ้ืนทีเ่ สีย่ งภัยทางการเกษตร”

วันพุธที่ 28 พฤศจิกายน 2561 กองนโยบายและแผนการใชท่ีดินจัดโครงการฝกอบรม เร่ือง
“ขอมูลอุตุนิยมวิทยากับการวางแผนการจัดการท่ีดินในพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยทางการเกษตร” โดยมีการอบรม
ทางไกลผานทางจอภาพ (VDO Conference) เพ่ือเพิ่มองคความรู ความเขาใจในการนําขอมูลและแปล
ความหมายขอมลู ดา นอุตุนยิ มวิทยา เพอื่ ใชในการเตรียมรับสถานการณภัยธรรมชาติและประยุกตใชในการ
ปฏบิ ตั ิงาน

รว มสมั มนาภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรป 2561 และแนวโนมป 2562
"โลกเปลย่ี น เกษตรปรับ เกษตรกรปรบั เปลยี่ น

วันศุกรที่ 21 ธันวาคม 2561รวมสัมมนาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรป 2561 และแนวโนมป 2562
"โลกเปล่ยี น เกษตรปรบั เกษตรกรปรับเปลีย่ น จัดโดยสาํ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร เพ่ือรับฟงการรายงาน
ผลการวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงแนวโนมการเปลี่ยนแปลงและแนวทางการพัฒนาภาค
การเกษตรในอนาคต

การประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการ เร่ือง
"การรับฟงความคดิ เหน็ และขอ เสนอแนะตอ การจัดทาํ แผนที่

ความเหมาะสมของที่ดินสาํ หรบั ปลูกพืชสมุนไพร"

วันศุกรที่ 5 เมษายน พ.ศ.2562 นายสมศักดิ์ สุขจันทร ผูอํานวยการกองนโยบายและแผนการใชท่ีดิน
เปนประธานและรวมประชุม การประชุมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง "การรับฟงความคิดเห็น และขอเสนอแนะตอการ
จัดทําแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับปลูกพืชสมุนไพร" ณ โรงแรมทีเค พาเลซ แจงวัฒนะ กรุงเทพ
โดยกลมุ นโยบายและวางแผนการใชท ีด่ นิ กองนโยบายและแผนการใชท่ีดิน จัดการประชุมฯ ครั้งน้ีข้ึนเพื่อ รับฟง
ความคิดเห็น และขอเสนอแนะตอการจัดทําแผนที่ความเหมาะสมของท่ีดินสําหรับปลูกพืชสมุนไพร
จากหนวยงานที่เก่ียวของ เพ่ือปรับปรุงแกไขใหมีความถูกตองแมนยํา และสามารถเผยแพรไปใชใหเกิด
ประโยชนส งู สดุ โดยมีผูสนใจเขา รวมประชุมฯ ทั้งส้นิ 6 กระทรวง 21 หนวยงาน รวม 50 คน

พืน้ ท่ีตัวอยางการสํารวจและจัดทําแผนทดี่ นิ 1 : 4,000
และการวิเคราะหช มุ ชนแบบมีสวนรวม (PRA)

วันท่ี 26 -27 มีนาคม 2562 นายโสภณ ชมชาญ อดีตผูเช่ียวชาญดานวางแผนการใชท่ีดิน
นายเสรี จงึ นจิ นิรนั ดร และนายชุมพล คงอินทร ท่ีปรึกษากรมพัฒนาท่ีดิน พรอมดวย เจาหนาที่กองสํารวจ
ดินและวิจัยทรพั ยากรดิน และกองนโยบายและแผนการใชที่ดิน ลงพ้ืนที่ตรวจสอบและแนะนําการสํารวจและ
จัดทําแผนที่ดิน 1 : 4,000 เพื่อประกอบการวางแผนการใชที่ดินระดับตําบล ณ สถานีพัฒนาที่ดิน
กาญจนบุรี โดยมีนายภิญโญ สุวรรณชนะ ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ผูอํานวยการสถานี
พัฒนาที่ดินในพื้นที่ เจาหนาท่ีในสังกัดสํานักงานพัฒนาท่ีดินเขต 10 ใหการตอนรับและรวมรับฟงแนว
ทางการดาํ เนินการโครงการวางแผนการใชทดี่ นิ ระดับตาํ บล

และวนั ท่ี 22 - 24 เมษายน 2562 นายสมศักดิ์ สุขจันทร ผอู ํานวยการกองนโยบายและแผนการใช
ท่ีดิน พรอมดวยนายโสภณ ชมชาญ อดีตผูเช่ียวชาญดานวางแผนการใชที่ดิน นายเสรี จึงนิจนิรันดร และ
นายชุมพล คงอินทร ที่ปรึกษากรมพัฒนาท่ีดิน ไดลงพื้นที่ตรวจสอบ ใหขอคิดเห็นและเสนอแนะ
การดําเนินงาน การวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม หรือ PRA (Participatory Rural Appraisal) โดยมี
นายสากล ณ ฤทธิ์ ผูอํานวยการสถานีพัฒนาที่ดินกาญจนบุรี วิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม เพื่อรวบรวม
ขอมูลบริบทชุมชน ปญหา ความตองการ แนะนําแนวทาง การแกไข ปรับปรุงเพื่อพัฒนาการใชที่ดิน
ประกอบการจัดทําแผนการใชท่ีดินตําบลหนองสาหรายของสถานีพัฒนาท่ีดินกาญจนบุรี สําหรับเปนตนแบบ
การวางแผนการใชที่ดินในพื้นท่ีและพ้ืนที่ใกลเคียง ณ ศูนยการเรียนรูบานหนองทราย ตําบลหนองสาหราย
อําเภอพนมทวน จงั หวดั กาญจนบรุ ี


Click to View FlipBook Version