The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เทคนิคและรูปแบบการนำเสนอ

วรัชยา

รูปแบบการนำเสนอมี 3 รปู แบบ

1. มีผู้นำเสนอเปน็ หลกั
ลักษณะการถ่ายทอดจะอยู่ท่ีตัวคนหรือผู้นำเสนอ(พูด) เป็นสำคญั รูปแบบมักจะเป็นการปาฐกถา การ

กลา่ วเปิดประชุม การบรรยายกอ่ นการประชมุ สมั มนา เปน็ ต้น การนำเสนออาจจะมกี ารใช้เอกสารประกอบ
(Handout) เปน็ สว่ นร่วมในการนำเสนอดว้ ยก็ได้
2. มีผนู้ ำเสนอและใชส้ อื่ อุปกรณ์

การถา่ ยทอดรูปแบบนแี้ มจ้ ะใชค้ นเป็นผูน้ ำเสนอเป็นหลกั เช่นแบบแรก แต่มีการผสมผสานด้วย
ส่ือกลางท่ีเป็นภาพนง่ิ หรือมัลติมีเดียผา่ นอปุ กรณ์ เครื่องมอื เป็นการนำเสนอทเี่ พ่ิมมุมมอง ความน่าสนใจ
นอกจากน้อี าจจะมี เอกสารประกอบ (Handout) การบรรยายหรือการนำเสนอด้วย
3. นำเสนอในรูปของนทิ รรศการ

การนำเสนอแบบน้ีตัว Display จะเป็นสอ่ื หลักในการถ่ายทอดสาระความรู้ หากนทิ รรศการมีความ
ตอ่ เนอื่ งอาจใชเ้ ส้นนำทาง หรอื ช่องทางบงั คับเปน็ ส่วนพาผชู้ มได้เรยี นร้เู น้ือหาไปตามลำดบั โดยการนำเสนอ
เชน่ น้ีอาจจะมี การบรรยายเพม่ิ เตมิ ด้วยวทิ ยากร หรือการให้ขอ้ มูลผ่านเสยี ง หรือผ่านการแสดง หรือผา่ นส่ือ
ประกอบอ่นื ๆร่วม อาทิ สื่อเสมือนจริง ของจริง ส่ือวิดีทัศน์ หรือเอกสารประกอบ

เทคนิคการนำเสนอทมี่ ีประสิทธภิ าพ

การนำเสนอ (Presentation) เป็นการส่อื สารรูปแบบหนึ่งท่ีมีความสำคญั และมคี วามจำเป็นอย่างย่ิง
ในปจั จุบนั ทงั้ ในแวดวงการศกึ ษา แวดวงวชิ าชีพ การทำงานทงั้ ในภาครัฐ และภาคเอกชนใหค้ วามสำคญั กับ
ทกั ษะการนำเสนอของบคุ ลากร Cheryl Hamilton (1999:6) อธบิ ายว่า มงี านศกึ ษาพบวา่ ผจู้ ้างงานสว่ น
ใหญ่เหน็ ว่าทักษะการนำเสนอมีส่วนสำคัญตอ่ การประสบความสำเรจ็ ในการทำงานมากกว่าทกั ษะทางวิชาชพี
จากการศกึ ษาของ Michigan State University ศึกษาความคดิ เหน็ ผอู้ ำนวยการฝ่ายบุคคล 479 คนจาก
บริษทั ใหญๆ่ หนว่ ยงานของรัฐ และองคก์ รไมแ่ สวงหากำไร พบวา่ ในการคัดเลอื กบุคลากรเขา้ ทำงาน ทกั ษะ
การนำเสนอเป็นทกั ษะทีส่ ำคญั ทสี ดุ ทใ่ี ชใ้ นการพิจารณาคัดเลอื กผู้เขา้ ทำงาน

ในชวี ติ การทำงาน การนำเสนอเป็นบทบาทหนา้ ทีห่ นง่ึ ที่ไมส่ ามารถหลกี เลี่ยงได้ การนำเสนอเป็น
วธิ ีการสือ่ สารข้อมลู ข่าวสารและแนวความคดิ ไปยงั กลุ่มผฟู้ งั ที่อาจจะเป็นกลมุ่ ผู้ฟงั ขนาดเลก็ ทม่ี ีความคุ้นเคย
กนั เช่น กลมุ่ ผู้ร่วมงาน หรือกลุ่มผู้ฟงั ขนาดใหญ่ทีไ่ มม่ ีความคุ้นเคยกนั เชน่ กลุ่มบุคคลทวั่ ไป
ข้อดีของการนำเสนอคือ
- เป็นการส่ือสารสองทาง (Two ways communication) ระหว่างผู้นำเสนอกับผู้ฟงั ทำให้ผนู้ ำเสนอสามารถ
เหน็ ปฏกิ ริ ยิ าของผมู้ ีอำนาจตัดสินใจไดอ้ ยา่ งทนั ทีทันใด
– สามารถดึงดูดความสนใจและสร้างผลกระทบต่อผู้ฟงั รวมท้งั สรา้ งความจดจำได้ดีกว่าการนำเสนอด้วยการ
เขียน (Written Presentation)
– สามารถปรบั เนอ้ื หาหรอื เร่ืองราวท่กี ำลังพูดให้เหมาะสมกบั ผู้ฟังได้อย่างทันทว่ งที เช่น เมือ่ เหน็ วา่ ผู้ฟังแสดง
ท่าทางไมเ่ ข้าใจเนอื้ หาทีน่ ำเสนอ ผู้นำเสนอกส็ ามารถปรบั ปรุงวธิ กี ารนำเสนอเพอื่ ใหผ้ ้ฟู ังได้เข้าใจเนื้อหาได้ดขี ึ้น
การนำเสนอจะประสบความสำเรจ็ ไดห้ ากมกี ารเตรยี มการทด่ี ี “การเตรยี มการเป็นส่งิ สำคัญท่จี ะนำไปสู่
ความสำเร็จของการนำเสนองาน” (Preparation is a major key to delivering a successful
presentation) (Nick Morgan 2004:15) เทคนคิ การนำเสนออย่างมปี ระสทิ ธภิ าพประกอบไปดว้ ย 3 ต. คอื
เตรียมกายและใจ เตรียมเนอ้ื หา และเตรยี มสือ่

ต. ที่ 1 เตรียมกายและใจ ผู้นำเสนอจำเปน็ ตอ้ งมกี ารเตรียมความพร้อมทงั้ กายและใจกอ่ นทีจ่ ะนำเสนองาน
การเตรียมกายเป็นการเตรยี มวธิ กี ารสอื่ สารของผนู้ ำเสนอ เม่อื กลา่ วถงึ คำว่า” วธิ ีการสื่อสาร”หมายถงึ การใช้
เสยี ง และภาษากายในการนำเสนองาน

เสยี ง (Voice) เสยี งของผูน้ ำเสนอเป็นเครือ่ งมอื ที่สำคัญอย่างหนึ่งในการนำเสนองาน ไมว่ า่ จะเป็น
ระดบั เสียง ความดังของเสียง และการออกเสียงโดยธรรมชาตแิ ลว้ เวลาพูดเสยี งของคนเราจะมกี าร
เปลย่ี นแปลงระดับเสียงเหมือนเส้นกราฟทมี่ ีขึ้นสงู และลงตำ่ ผนู้ ำเสนอควรฝึกการใชเ้ สยี งใหม้ ีการใชร้ ะดับเสยี ง
สงู ต่ำอย่างเปน็ ธรรมชาติเพ่อื ใหน้ า่ สนใจ และเสยี งไม่ราบเรียบเกนิ ไป

ความดังของเสียง ระดับความดังเสยี งของผนู้ ำเสนอ ควรใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของสถานท่ี ถา้ เปน็
การนำเสนอในหอ้ งประชุมขนาดเลก็ ควรใช้ความดังของเสียงระดับปกติ แตถ่ า้ เปน็ การนำเสนอในหอ้ งประชมุ
ขนาดใหญ่ ควรใช้เสยี งท่ดี ังขึ้น เพอ่ื ให้ผฟู้ งั ในหอ้ งทุกคนไดย้ ินเสียงของผู้นำเสนอชัดเจน ทั้งน้ี เสยี งทด่ี งั จะฟงั ดู
มีอำนาจและกระต้นุ ความสนใจไดด้ ี

การออกเสียง เปน็ สิ่งทสี่ ำคัญมากในการนำเสนองาน ถ้าผู้นำเสนอพูดออกเสยี งไม่ชดั ผ้ฟู งั กจ็ ะไม่
สามารถรับขอ้ มลู ขา่ วสารได้ถูกตอ้ ง นอกจากนัน้ ความเรว็ ในการพูดก็มีความสัมพนั ธ์กับการออกเสยี ง ถ้าพูดเร็ว
เกนิ ไปคำท่ีพูดตา่ งๆที่พดู ออกมา จะฟงั ไม่รเู้ ร่ือง ควรมกี ารหยุดเวน้ ชว่ งในการนำเสนอ โดยเฉพาะหัวข้อสำคญั
อาจจะเปน็ การหยุดเพ่อื จะเริ่มหัวขอ้ ใหม่ หรอื หยุดเวน้ ช่วงเพอ่ื เปลีย่ นอารมณ์จากอารมณ์หน่งึ เปน็ อีกอารมณ์
หนง่ึ

สตฟี จอ๊ บส์ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั การยอมรบั ว่าเป็นผูท้ น่ี ำเสนองานทดี่ ีทีส่ ุดคนหนงึ่ มเี ทคนิควธิ ีการพูด คือ
“เปล่ียนระดบั ความดงั และสลบั น้ำเสยี งสงู ตำ่ อยูเ่ รือ่ ยๆเพือ่ ดึงความสนใจของผฟู้ งั ให้จบั จอ้ งอยทู่ ีค่ ำพูดของคณุ
เลือกจุดเปลี่ยนท่ีเหมาะสม เปล่ียนจงั หวะการพดู เพื่อไมใ่ ห้การพดู ของคณุ ราบเรยี บจนเกนิ ไป พดู ใหเ้ รว็ ขึ้นใน
บางช่วงแล้วช้าลง หยดุ เวน้ ชว่ งบา้ งเพอ่ื สร้างอารมณ์ ” (Carmine Gallo 2010)
ภาษากาย (Body Language) มีความสำคญั ต่อการส่ือสารของผูน้ ำเสนอ ภาษากายเปน็ ปัจจยั หน่งึ ทชี่ ่วยสร้าง
ความประทับใจแรกพบ (First Impression)ใหเ้ กิดขน้ึ ในการนำเสนองาน กอ่ นท่ผี นู้ ำเสนอจะเรม่ิ พดู ควรที่จะ
ประสานสายตา (Eye Contact)กบั ผู้ฟังเพอ่ื แสดงความเป็นมติ รและความเข้าใจ ผู้นำเสนอท่ดี ตี ้องมกี าร
ประสานสายตากับผฟู้ ังอยา่ งสมำ่ เสมอ การวางท่า(Posture) หรอื การปรากฏกายของผ้นู ำเสนอในขณะท่ี
นำเสนองานตอ่ ผฟู้ ังทีเ่ หมาะสม คือควรวางทา่ อย่างสบายๆเพ่อื ให้ดูเปน็ ธรรมชาติมากท่ีสุดผนวกกับมีความ
คล่องตัวพร้อมจะส่ือสารกบั ผฟู้ งั ควรใชท้ ่าทางให้เปน็ ธรรมชาติแสดงถึงความกระฉับกระเฉง คล่องแคลว่ และ
มน่ั ใจ
เทคนิคในการใชภ้ าษากายเพอ่ื สรา้ งความประทบั ใจ
– เวลาจะนำเสนองาน ควรลุกขึน้ ยนื อย่างสงา่ งาม
– เดนิ ไปที่เวทีด้วยท่าทางกระตือรอื รน้ สร้างความรู้สึกประหน่ึงว่ากำลงั เดินข้นึ ไปรบั รางวัล
– ก่อนจะเรม่ิ พดู ควรย้มิ อย่างอบอุน่ กบั ผฟู้ ัง
– ควรสบสายตากับผู้ฟังกอ่ นจะพูด
วิธีการพูดและภาษากายเป็นปจั จยั สำคญั ท่ีจะสร้างความประทบั ใจให้กับผ้ฟู ัง ภาษากายควรสะท้อนให้เห็นถงึ
ความม่ันใจในคำพดู ของผนู้ ำเสนอ วิธีการสอ่ื สารทีด่ จี ะเกิดขนึ้ ได้กต็ อ่ เม่ือมกี ารฝกึ ฝนบอ่ ยๆ ฝกึ การอา่ นออก
เสยี งดังๆเพื่อฟงั เสียงของตัวเอง หาจดุ เดน่ จุดด้อยในการใชเ้ สยี ง บนั ทกึ ภาพและเสียงการนำเสนองานของ
ตนเองเพอื่ นำมาปรบั ปรุงแก้ไขจดุ บกพรอ่ งในการส่ือสาร

การเตรยี มใจ การได้รับมอบหมายให้นำเสนองาน บอ่ ยคร้งั สรา้ งความวิตกกังวลใหก้ บั ผู้ไดร้ ับมอบหมายวา่ จะ
พดู ไดไ้ หม จะพูดรเู้ ร่อื งหรอื เปล่า จะมคี นสนใจฟังไหม จะมคี นถามคำถามหรือเปล่า สารพัดความวิตกกงั วลท่ี
เกิดขน้ึ สง่ ผลใหข้ าดความเช่อื ม่นั และความม่นั ใจในการนำเสนองานเพิม่ มากขน้ึ การเตรยี มใจด้วยการคิดบวก(

Positive Thinking) จงึ เป็นสงิ่ สำคัญ Elizabeth Tierney (1999:56) กล่าวว่าการคดิ บวกเปน็ วธิ ีการท่ดี ที ีส่ ดุ
ในการขจดั ความเครียดและความวิตกกังวลในการนำเสนอ ผู้นำเสนอควรคดิ เสมอว่าการนำเสนองานคอื การนำ
สงิ่ ที่เปน็ ประโยชน์มาแบ่งปันให้กบั ผูฟ้ งั เช่น ทำให้ผู้ฟงั มีความรู้ความเขา้ ใจมากขน้ึ ทำให้ผฟู้ งั รู้สกึ ชวี ติ ดขี ึ้น
ชว่ ยแก้ปญั หาให้กับผ้ฟู ัง เปน็ ต้น
ต. ท่ี 2 เตรียมเน้อื หา เน้ือหาเป็นส่งิ สำคัญที่สดุ ในการนำเสนองาน ถา้ ไมม่ ีเน้อื หาการนำเสนองานกเ็ กิดขน้ึ
ไมไ่ ด้ การเตรยี มเนื้อหา คอื การกำหนดวา่ เน้ือหาท่นี ำเสนอมีประเด็นใดบ้าง ควรมกี ารจดั ลำดบั เน้ือหาอยา่ งไร
เนื้อหาเปน็ สิ่งสำคญั ในการนำเสนอ ผูน้ ำเสนอจะตอ้ งมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเน้ือหาทต่ี นนำเสนอเป็นอยา่ งดี
เรียกวา่ รู้ลกึ รจู้ ริงในส่งิ ทพ่ี ดู เมื่อเรารู้และเขา้ ใจในสงิ่ ท่ีเรานำเสนอ จะทำให้เราสามารถถา่ ยทอดข้อมูลให้
ผฟู้ ังเขา้ ใจไดง้ า่ ยข้นึ ดังท่ี Albert Einstein กลา่ วไวว้ า่ “ If you can’t explain it simply, you don’t
understand it well enough”

กอ่ นทจ่ี ะเตรยี มเนื้อหา ผ้นู ำเสนอควรกำหนดจดุ มุง่ หมายในการนำเสนอและศกึ ษาข้อมลู ผู้ฟงั เพือ่ เปน็
การกำหนดทิศทางการนำเสนอ การกำหนดจดุ มงุ่ หมายเปน็ การตอบคำถามที่ว่า “ทำไมถงึ ตอ้ งนำเสนองาน”
ผู้นำเสนอคาดหวังว่าจะเกิดผลอะไรจากการนำเสนอ เช่นเพอ่ื ให้ข้อมลู ข่าวสาร เพื่อจูงใจ เพอื่ ขายหรือเพ่ือสอน
เป็นตน้ ในการนำเสนองานผนู้ ำเสนอทกุ คนควรจะกำหนดเปา้ หมายหรอื วัตถปุ ระสงคข์ องการนำเสนอ ซง่ึ การ
วัดความสำเร็จของการนำเสนองานสามารถพจิ ารณาได้จากผลของการนำเสนอนั้นวา่ ตอบสนองต่อ
วัตถุประสงคท์ ตี่ ้ังไวห้ รือไม่

การศึกษาผฟู้ ัง ในการนำเสนองาน ผู้นำเสนอควรทจี่ ะทราบลว่ งหนา้ วา่ ใครจะเขา้ รว่ มฟังบา้ ง หากรู้จัก
กลมุ่ ผฟู้ งั ดเี ท่าไรกจ็ ะสามารถนำเสนองานใหเ้ ข้าถึงกลุ่มผู้ฟงั ได้งา่ ยข้นึ เทา่ นั้น ผู้ฟงั จะมคี วามหลากหลายท้ัง
ทางดา้ นภูมิหลงั ลักษณะทางจติ วิทยา ท่สี ำคญั ควรวิเคราะห์ความตอ้ งการของผ้ฟู ัง (Audiences ’ need) วา่
ผู้ฟังจำเปน็ ตอ้ งรูอ้ ะไรบ้างและผู้ฟังต้องการรู้อะไรบ้างจากการนำเสนอ ปญั หาหนึ่งของการนำเสนองานคอื การ
ไม่นำเสนอในส่ิงทีผ่ ้ฟู งั ต้องการที่จะไดฟ้ งั หากนำเสนอแตเ่ พียงสิง่ ทผ่ี ู้ฟงั จำเป็นตอ้ งรู้ โดยไมค่ ำนึงว่าผฟู้ ัง
ตอ้ งการร้อู ะไรบ้าง เมอ่ื นำเสนอเสร็จอาจทำให้ผฟู้ ังเกิดคำถามค้างในใจถงึ สิ่งทตี่ ้องการจะร้แู ต่ไมไ่ ด้รู้ การ
วเิ คราะห์ความต้องการของผู้ฟงั จะทำใหม้ ีขอ้ มูลเพ่ือใช้ในการกำหนดแนวทางและวธิ ีการที่ถูกต้องในการ
นำเสนอแกผ่ ฟู้ ังแต่ละกลุ่มทีแ่ ตกตา่ งกัน ท้ังในดา้ นความคาดหวงั และเหตผุ ลของผ้ฟู ังทม่ี ีต่อการนำเสนอนั้นๆ
การนำเสนอทดี่ ที ่ีสดุ คอื การนำเสนอด้วยวธิ ีการและแนวทางทถ่ี กู ใจผู้ฟัง

การเตรยี มเน้อื หา ผนู้ ำเสนอควรเขยี นโครงร่างเนอ้ื หาโดยแบง่ เน้อื หาออกเปน็ 3 ส่วน ตามโครงสร้าง
เนอื้ หาได้แก่ การเปดิ (Opening) เนอ้ื หาหลกั (Body) และ การปิด (Closing)

การเปิด (Opening) คือ การดึงดดู ความสนใจจากผู้ฟงั และทำให้ผ้ฟู ังสนใจตดิ ตามเน้ือหา การเปดิ ท่ี
ดจี ะสรา้ งความนา่ เชอื่ ถอื ให้กับผู้นำเสนอ ผพู้ ดู ทไ่ี ม่มปี ระสบการณ์มักจะเรมิ่ ต้นดว้ ยการกล่าวคำขอโทษในเรื่อง
ทแ่ี สดงถงึ ความไมม่ ัน่ ใจและไม่พรอ้ ม เช่น ขอโทษทม่ี าสาย , งานยังไม่เรยี บรอ้ ย ,ไมเ่ คยนำเสนอมาก่อน หรอื
รูส้ กึ ตื่นเตน้ มาก ซึ่งถอื เป็นการเร่มิ ตน้ ที่ไมด่ ี เพราะผู้ฟังจะตัดสินผนู้ ำเสนอต้งั แตก่ ารเรมิ่ ต้นการนำเสนอ ถ้า
เริ่มต้นไมด่ ี จะเปน็ การลดความน่าเชอื่ ถอื ของผ้นู ำเสนอ

การกลา่ วเปิดทีด่ ีน้นั ควรคำนงึ ถงึ สงิ่ ต่อไปนี้
สามารถดงึ ดดู ความสนใจจากผฟู้ ัง
กลา่ วถึงประเด็นสำคญั เปน็ หลกั แต่สามารถเสนอภาพรวมของเนอื้ หาท้ังหมด ชีใ้ หเ้ ห็นถึงประโยชนท์ ี่ผ้ฟู ังจะ
ได้รับจากการนำเสนอทำใหผ้ ู้ฟงั เกิดความเชอ่ื ถอื และมนั่ ใจผนู้ ำเสนอ
เน้อื หาหลกั (Body )ในช่วงกลางของการนำเสนอเป็นชว่ งทีเ่ หมาะสำหรบั การนำเสนอรายละเอียด แตผ่ พู้ ูด
ควรระมดั ระวงั ไมใ่ หผ้ ูฟ้ งั เกิดความเบอ่ื หนา่ ย จากกราฟที่ 1 แสดงผลการวจิ ัยทางจิตวทิ ยาในเรื่องระดบั ความ
สนใจของผู้ฟงั กับระยะเวลาในการนำเสนองาน โดยศกึ ษาการนำเสนองานทีใ่ ช้ระยะเวลาทง้ั สิ้น 40 นาที
พบว่าช่วงเวลา 10 นาทีแรก ความสนใจของผู้ฟังจะอยใู่ นระดบั ที่สูง หลงั จากนนั้ ระดบั ความสนใจจะลดลงมา
เรอื่ ยๆ จนกระทั่งประมาณ 30 นาที ระดับความสนใจจะอย่ใู นระดบั ตำ่ สุด และจะเรมิ่ สูงข้ึนอีกครั้งเมือ่ ใกล้
เวลา 5 นาทสี ดุ ทา้ ย


Click to View FlipBook Version