Bibliography)
ตามรูปแบบ APA (American Psychological Association)
ความหมายของบรรณานกุ รม
บรรณานุกรม (Bibliography) หมายถงึ รายช่อื
หนงั สอื เอกสาร สิ่งพมิ พ์ตา่ งๆ และ วัสดอุ า้ งองิ
ทกุ ประเภททผ่ี ทู้ ารายงานใชป้ ระกอบการค้นควา้
และการเรยี บเรยี ง เพื่อเปน็ การยนื ยนั วา่ การเขยี น
น้ันเปน็ การคน้ ความจากตาราทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้
จดุ ม่งุ หมายของการเขยี นบรรณานุกรม
1.ทาใหร้ ายงานนั้นเปน็ รายงานที่มีเหตผุ ล มสี าระ
นา่ เชื่อถือ
2. เป็นการเคารพสทิ ธิและความคดิ เหน็ ของผ้อู ่ืนท่ีทางานมา
กอ่ น จงึ นามาอ้างไว้
3. เปน็ แนวทางสาคัญสาหรับผูส้ นใจตอ้ งการศึกษารายละเอยี ด
เพ่ิมเตมิ โดยศึกษาไดจ้ ากบรรณานุกรมน้ันๆ
4.สามารถตรวจสอบข้อเท็จจรงิ ทน่ี ามาอ้างได้
รปู แบบของการเขยี นบรรณานุกรม
1. APA (American Psychological Association)
เป็นทน่ี ิยมใช้ในสาขาวชิ า จิตวิทยา การศึกษา และสาขาสังคมศาสตร์อนื่ ๆ
2. MLA (Modern Language Association)
เป็นท่ีนิยมใช้ในสาขาวชิ าวรรณกรรม ศิลปะ และสาขามนุษยศาสตร์
ความแตกต่างของการเขยี นบรรณานุกรม
APA กับ MLA
APA
ชาญชยั แสวงศกั ด์ิ. (2545). คูม่ อื ประชานชนเรื่องความรู้
เกี่ยวกับสทิ ธิ เสรภี าพ และหน้าทีข่ องประชาชน.
กรุงเทพฯ : สานกั งานศาลปกครอง.
MLA
ชาญชยั แสวงศักด์ิ. คมู่ อื ประชานชนเรอ่ื งความรเู้ กีย่ วกับ
สิทธิ เสรีภาพ และหนา้ ที่ของประชาชน. กรุงเทพฯ :
สานักงานศาลปกครอง, 2545.
วธิ กี ารเขยี นบรรณานกุ รมตามรูปแบบ APA
1.เขยี นคาว่าบรรณานกุ รมโดยไม่ต้องขีดเส้นใตไ้ วก้ ลาง
หน้ากระดาษ ห่างจากขอบบนประมาณสองนิว้
2.เขยี นรายงานบรรณานกุ รมแต่ละรายการชดิ ชอบซา้ ยของ
หน้ากระดาษ หากเขียนไม่จบในบรรทดั เดยี วใหข้ น้ึ บรรทดั
ใหมโ่ ดยยอ่ หนา้ เข้าไป 7 ตวั อักษร (หรือตาแหน่งทย่ี ่อหน้า)
3.เรยี งรายชอ่ื แต่ละรายการตามลาดบั ตัวอักษรของช่ือผู้
แต่ง (ก-ฮ) ในหนังสือภาษาไทยกอ่ น
4. แลว้ จงึ ใหเ้ รียงตามช่ือผู้แต่งทเี่ ป็นภาษาองั กฤษ
คือ A-Z ในหนงั สือภาษาต่างประเทศ
5.รายการสิง่ พมิ พ์ของผ้แู ต่งเดียวกัน ในคร้ังตอ่ ไปไม่ตอ้ ง
เขียนช่อื ผ้แู ต่งซา้ อีก แตใ่ หใ้ ชข้ ีด________________.
ยาว 7 ตวั อกั ษร แทน
6.เวน้ ระยะ 1 บรรทดั ทุกคร้ังเมอ่ื ขึ้นรายการบรรณานกุ รม
รายการใหม่
บรรณานุกรม
บันทึก มีความสขุ . (2563). ความสุขของฉัน. กรุงเทพฯ :
นานมีบคุ๊ ส์.
ขีดยาว 7 ตวั อกั ษร เวน้ 1 บรรทดั
. (2563). ความสุขของฉนั เล่ม2.
กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส.์
เวน้ 1 บรรทดั
พัธกลุ จนั ทนมัฏฐะ. (2536). “ขา้ วสาลี”, สารานุกรมไทย
สาหรบั เยาวชนโดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเดจ็
พระเจา้ อย่หู ัว. (เลม่ ที่ 17 หน้าที่ 239-273). กรุงเทพฯ :
โครงการสารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชน.
เวน้ 1 บรรทดั
วทิ ยากร เชียงกลู . (2544). ฉนั จงึ มาหาความหมาย. กรงุ เทพฯ :
โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์
เวน้ 1 บรรทดั
Loger R. C. (2021). New Age movement. (Ed.).
หลกั เกณฑ์การเขยี นบรรณานกุ รม
1.ผแู้ ตง่
1.1 ผูแ้ ตง่ ชาวตา่ งประเทศ ใช้ช่อื สกลุ ข้ึนตน้ ตามดว้ ยช่อื ตน้ และชอ่ื รอง
เชน่ ช่อื Lana Cruz Roger. ใช้ Roger L. C.
1.2 ผแู้ ต่งที่เป็นพระมหากษัตรยิ ์ พระราชนิ ี พระบรมวงศานุวงศ์ และผ้แู ต่งท่มี ี
ราชทินนาม ฐานนั ดรศักดิ์ สมณศกั ด์ิ ให้ใส่ ราชทนิ นาม ฐานันดรศกั ดิ์ สมณศักด์ิ น้ัน
ไวข้ ้างหลงั ชอื่ โดยหลังช่ือผู้แตง่ เครื่องหมายจลุ ภาค (,) ส่วนคานาหน้านาม เช่น นาย
นาง นางสาว ตาแหน่งทางวชิ าการ อาชพี หรือยศ ใหต้ ัดออกไป ยกเว้น นามแฝง
เช่น นายตารา ณ เมอื งใต้, ดร.วนิ แมก็ , หลงั ช่ือผูแ้ ต่งให้ใสเ่ ครอื่ งหมายมหพั ภาค (.)
สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส
ใช้
ปรมานุชิตชิโนรส, สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมสมเด็จพระ
ม.ร.ว.คึกฤทธ์ิ ปราโมช ใช้ คึกฤทธ์ิ ปราโมช, ม.ร.ว.
ดร.เกษม สขุ สันต์ ใช้ เกษม สขุ สนั ต์
นายมานิด ยิ้มสวย ใช้ มานิด ยิ้มสวย
หลกั เกณฑก์ ารเขียนบรรณานกุ รม
2.ชื่อเรือ่ ง
ให้ใชต้ ามท่ปี รากฏในหนา้ ปกและขดี เส้นใต้เน้นชื่อนน้ั ด้วย หากเป็นหนังสอื
หลายเลม่ จบ ให้ระบุเล่มทใี่ ช้ หลังชื่อใส่เครื่องหมายมหัพภาค (.)
กรณีท่ใี ชว้ ธิ กี ารเขียน
ค่มู อื เพิม่ ศักยภาพด้านการบริหาร
โครงการ บริหารหน้แี ละบรหิ ารสัญญา.
กรณีท่ใี ช้
วธิ กี ารพมิ พ์
คมู่ อื เพิ่มศกั ยภาพด้านการบริหาร
โครงการ บริหารหนแ้ี ละบรหิ ารสญั ญา.
หลกั เกณฑก์ ารเขยี นบรรณานุกรม
3.เล่มทีอ่ า้ ง
หนงั สอื เล่มเดียวจบ ไม่ตอ้ งระบจุ านวนเลม่ แตถ่ ้าหนงั สอื
น้นั มหี ลายเล่มให้ระบเุ ลม่ ทีใ่ ช้ (เช่น สารานุกรมไทย)
สามก๊ก ฉบับวณิพก ของ ยาขอบ. เลม่ ท่ี2. สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชน
โดยพระราชประสงคใ์ น
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว
ฉบับเสรมิ การเรยี นรู้. เล่มที่5.
หลกั เกณฑ์การเขยี นบรรณานุกรม
4.ครง้ั ทพี่ มิ พ์
พมิ พค์ รงั้ ที่ 1 ไมต่ ้องเขยี นใสล่ งไป ถา้ เปน็ การพิมพค์ รั้งท่ี 2 ข้นึ ไปใหร้ ะบุ
คร้ังที่พมิ พด์ ว้ ย หลงั ครัง้ ท่พี มิ พ์ ใส่เครื่องหมาย มหพั ภาค (.)
5.สถานทพ่ี ิมพ์
ใหร้ ะบชุ ่อื เมืองทสี่ านกั พิมพ์ หรือโรงพิมพ์น้นั ตง้ั อยู่ โดยใช้ช่อื เมอื ง
ตามที่ปรากฏในหนงั สือเล่มนั้นๆ หากไมป่ รากฏช่อื เมอื งให้ใช้ (ม.ป.ท.) หรือ
(n.p) สาหรบั เอกสารภาษาอังกฤษ คอื ไมป่ รากฏสถานทีพ่ มิ พ์ หลังครง้ั ท่ี
พิมพใ์ สเ่ ครอื่ งหมายทวภิ าค ( : )
6.สานกั พิมพ์
ใช้ตามทป่ี รากฏในหนา้ ปกใน ในกรณที ่มี ีท้งั สานกั พมิ พแ์ ละโรงพมิ พ์ ให้
ใชช้ ื่อสานกั พมิ พ์ คาที่เป็นสว่ นของสานักพมิ พ์ เช่น ห้างหุ้นสว่ นจากดั
Incorporation, Inc. ให้ตัดออก ในกรณีท่ีไมป่ รากฏช่อื สานกั พมิ พ์หรอื โรง
พมิ พ์ ให้ใช้ (ม.ป.ท.) หรือ (n.p.) ยอ่ มาจากคาวา่ no place of
publicationแทนเพยี งครัง้ เดยี ว หลงั สานกั พมิ พ์ใสเ่ ครอื่ งหมายจุลภาค (,)
7.ปพี มิ พ์
ใสเ่ ฉพาะตัวเลข ถา้ ไมป่ รากฏปที พี่ ิมพ์ ใหใ้ ช้ว่า (ม.ป.ป.) หรอื (n.d.)ยอ่
มาจากคาวา่ no dateในเอกสารภาษาองั กฤษ ถา้ หนงั สือไมป่ รากฏทั้งสถานท่ี
พมิ พแ์ ละปีทีพ่ ิมพ์ ใหใ้ ชว้ ่า (ม.ป.ท., หรอื ม.ป.ป.) หรอื (n.p., n.d.) ใน
ภาษาองั กฤษ หลังปที ่พี ิมพ์ใสเ่ คร่อื งหมายมหัพภาค (.)
การเขยี นรายการทางบรรณานุกรมของหนังสือเล่ม
ผู้แต่ง 1 คน
ช่ือผ้แู ตง่ .//(ปที ี่พิมพ)์ .//ชือ่ หนังสือ.//พมิ พค์ ร้งั ท่ี.//
///////สถานท่พี ิมพ์/:/สานกั พิมพ.์
วทิ ยากร เชยี งกูล. (2544). ฉันจงึ มาหาความหมาย.
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.
คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2548). หลายชีวติ . กรุงเทพฯ :
ดอกหญา้ ,
การเขียนรายการทางบรรณานุกรมของหนังสือเล่ม
ผูแ้ ตง่ 2 คน
ชือ่ ผู้แตง่ ทงั้ 2คน.//(ปที ่พี ิมพ)์ .//ช่อื หนงั สอื .//พิมพค์ รงั้ ที่.
///////สถานที่พิมพ/์ :/สานกั พมิ พ.์
สมบัติ จาปาเงิน และ สาเนยี ง มณกี าญจน์. (2531).
หลักนกั อ่าน. กรุงเทพฯ : เรือนแกว้ .
ผู้แตง่ 3 คน
ชื่อผแู้ ตง่ คนท่ี1,/คนท่ี2/และ/คนที3่ .//(ปีที่พมิ พ)์ .//ชอ่ื หนงั สอื .
///////พิมพ์ครงั้ ท่ี.//สถานที่พิมพ/์ :/สานกั พิมพ.์
กมล ทองธรรมชาต,ิ บุญวฒั น์ วีสกุล และ จรญู สุภาพ.
(2541). การเมืองและการปกครองไทย.
พมิ พ์ครงั้ ที่ 4. นนทบรุ ี : ปานเทวาการพิมพ์.
การเขยี นรายการทางบรรณานกุ รมของหนังสือแปล
ช่ือผแู้ ต่ง.//(ปีท่ีพิมพ์).//ช่อื หนงั สือ.//ชื่อผู้แปล.//พิมพ์ครัง้ ท่ี.//
///////สถานท่พี ิมพ/์ :/สานกั พิมพ.์
สตเี วนสัน, วลิ เล่ยี ม. (2539). นายอินทร์ผู้ปิดทองหลงั พระ.
ทรงแปลโดย พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ภมู พิ ลอดุลยเดช.
กรงุ เทพฯ: อมรินทร์พรน้ิ ต้ิงแอนดพ์ บั ลิชช่งิ .
ครมู เี คล็ดลับ รายการทางบรรณานกุ รมของ
มาบอก สานกั หอสมุดแห่งชาติ
อยทู่ หี่ น้าปกในของหนงั สอื
การเขียนรายการทางบรรณานกุ รมจากบทความ
ในวารสารและนิตยสาร
ชอ่ื ผูเ้ ขียนบทความ.//(ปี,/วนั เดือน).//ชือ่ บทความ.//
///////ชอ่ื วารสาร.//ปที ี่(ฉบบั ท)ี่ ,/เลขทห่ี นา้ อา้ งองิ .
อัลยา นฤชานนท์. (2540, เมษายน-มิถุนายน). ได้อะไรบา้ งจากการ
อา่ นสารคดกี ารท่องเทีย่ ว. เที่ยวรอบโลก. 45(4), 36-40.
หมายเหตุ
ไมต่ อ้ งใสค่ าวา่ ปที ่ี(ฉบบั ที่) และหนา้ ที่ ใหใ้ ส่ตวั เลขลงไปไดเ้ ลย
การเขยี นรายการทางบรรณานกุ รมจากบทความ
ในสารานุกรม
ชอ่ื ผู้เขียนบทความ.//(ปีทีพ่ ิมพ์).//ชื่อบทความ.//
///////ชอื่ สารานกุ รม.//(เล่มที่.//เลขหน้าท)ี่ .// พมิ พค์ รั้งท่ี.
///////สถานทพี่ ิมพ/์ :/สานกั พมิ พ.์
พัธกุล จันทนมัฏฐะ. (2536). ขา้ วสาลี. สารานุกรมไทยสาหรับ
เยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเดจ็ พระ
เจ้าอยู่หัว. (เล่มที่17. หนา้ ท2ี่ 39-273). พมิ พค์ รง้ั ท่ี 5.
กรงุ เทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชน.
หมายเหตุ ต้องใสค่ าว่าเลม่ ที่ และหนา้ ท่ลี งไปด้วย
การเขยี นรายการทางบรรณานกุ รมจากบทความในสารสนเทศ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์(website)
ช่ือผูแ้ ต่ง.//(ปที ี่สบื คน้ ).//ชอ่ื บทความ.//[ประเภทของส่อื ท่ี
///////เขา้ ถึง].//เข้าถึงไดจ้ าก/:/www.//(วันท่ีคน้ ข้อมลู )
อุดม สมบูรณ์. (2558). การเขา้ ถึงส่ือออนไลน์. [Online]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
www.thailing.co.th. (วนั ท่ีสืบคน้ 5 พฤษภาคม 2558)
กรณีไมม่ คี นแต่งหรือคนเขยี นบทความ
ช่ือบทความ.//(ปีทส่ี บื ค้น).//[ประเภทของส่อื ทเี่ ข้าถงึ ].//เข้าถึงไดจ้ าก/:/
///////www.//(วันท่ีค้นขอ้ มูล)
การเขียนบรรณานกุ รม. (2563). [Online]. เข้าถึงได้จาก :
www.thailing.co.th. (30 ตุลาคม 2563)
การเขียนรายการทางบรรณานุกรมจากการสมั ภาษณ์
ช่อื ผใู้ หส้ มั ภาษณ์.//ตาแหน่ง(ถ้าม)ี .//สมั ภาษณ์,/
///////วนั ที่สมั ภาษณ์.
สมหวงั มสี ุข. ผอู้ านวยการโรงเรยี นอนบุ าลหมีนอ้ ย. สัมภาษณ์,
18 พฤศจกิ ายน 2564