ส่วนประกอบของดอกทองอุ ไร
จัดทำโดย
นางสาว เอเลน จิตติวัฒนานุกูล ม.5 ห้อง 336
แผนการเรียนวิทย์-คณิต เลขที่24
เสนอ
นาย วิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตำแหน่งครูชำนาญการ (ค.ศ.2) สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาตร์และเทคโนโลยี
แม็กกาซีนชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
โรงเรียนเตรียมอุ ดมศึ กษา
คำนำ
แม็กกาซีนฉบับนี้จัดทําขึ้ นเพื่ อเป็ น ส่วนหนึ่ งของรายวิชาชีววิทยา
4 (ว30244) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียน
เตรียม อุดมศึกษา ประกอบการเรียนรรู้ เรื่อง การสืบพันธุ์และ
การเจริญเติบโต ของพืชดอก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่วน
ประกอบของดอกไม้ ถือเป็นการนําความรู้ที่ได้จากการเรียน
ทฤษฎีในห้องเรียนมาปฏิบัติจริง และสามารถระบุสส่วนต่างๆ
ของพืชได้
ในแม็กกาซีนฉบับนี้มีการบรรยายข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทาง
พฤกษศาสตร์ โครงสร้างของดอก สัณฐานภายนอกกายวิภาค
ภายใน และวิดีโอ อธิบายโครงสร้างของดอกอัญชัน
ทั้งนี้เนื้อหาในส่วนต่าง ๆ ได้มีการศึกษาจากหนังสือแบบเรียน
อินเตอร์เน็ต และอาจารย์วิชัยประจําวิชา ขอขอบคุณ
อาจารย์เป็นอย่าง สูง ที่ให้คําแนะนํา แก้ไข ขอเสนอแนะตลอด
การทํางาน ผู้จัดทําหวังว่า
แม็กกาซีนฉบับนี้จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่ น
ผู้จัดทํา
เอเลน จิตตวัมนานุกูล
สารบัญ 1
ข้อมู ลทั่วไปของดอกทองอุ ไร 3
โครงสร้างของดอกทองอุ ไร
ข้อมู ลทางพฤกษศาสตร์ของดอกทองอุ ไร 4
โครงสร้างสันฐานภายนอกของดอกทองอุ ไร
โครงสร้างกายวิภาคภายในดอกอัญชัน 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก 6
7
8
ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป
ชื่อสามัญ Yellow bell / Yellow elder / Trumpet vine
ชื่อวิทยาศาสตร์ Tecoma stans (L.) Juss. ex Kunth
สกุล Tecoma
ลำต้น สูง 2-5 ม.
ใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อยมี 2-
5 คู่ รูปรีแกมรูปไข่ โคนใบและปลายใบแหลม ขอบใบจักเป็น
ฟันเลื่ อย
ดอก ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5
กลีบ เชื่อมติดกันเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลือง
เชื่อมติดกัน เป็นรูประฆัง
ผล ผลเป็นฝัก รูปทรงกระบอก แตกเป็นสองซีก กว้าง
0.7-0.8 ซม. ยาว 12-16 ซม.
เมล็ด มีจำนวนมาก
ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป
แหล่งที่พบ ปลูกทั่วไปในเขตร้อน กึ่งร้อน ที่ระดับความสูง
จากระดับน้ำทะเลถึง 2,000 ม. จากระดับทะเลปานกลาง
ประโยชน์ของดอกทองอุไร
- เป็นพืชประดับ ปลูกไว้ประดับสวน
- นำไปใช้ไหว้พระ
- ใช้เป็นสมุนไพรยารักษาโรคเบาหวานและโรคเกี่ยวกับปัญหาทาง
เดินอาหารได้
โครงสร้าง
ลักษณะของดอก
มีสีเหลือง ออกดอกเป็นช่อแบบช่อกระจะแยกแขนง
ที่ปลายกิ่ง กลีบดอกร่วงง่าย กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแยก
เป็น 5 แฉก โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว 3-4
ซม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ คล้ายรูปแตร
เป็นดอกสมบูรณ์เพศ
เป็นดอกครบส่วน
เป็นดอกสมมาตร
ดอกสมมาตรแบบด้านข้าง(Zygomorphic)
ประเภทของรังไข่
รังไข่อยู่ใต้ฐานรองดอก (epigynous flower)
ข้ อ มู ล ท า ง พ ฤ ก ษ ศ า ส ต ร์
ทองอุไรเป็นไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร ลำต้นตั้งตรง ใบ เป็นใบ
ประกอบแบบคล้ายขนนก 2 ชั้น กว้าง 14-16 ซม. ยาว 20-
23 ซม. ก้านใบยาว 9-12 ซม. แกนกลางยาว 12-14 ซม.
ก้านใบย่อย ยาว 0.4-0.5 ซม. ใบย่อยมีจำนวน 5-11 คู่
กว้าง 2.5-3 ซม. ยาง 5-6 ซม. เรียงตรงข้ามกัน ตัวใบย่อยมี
รูปร่างเป็นรูปไข่ แกมรูปหอก ฐานใบสอบ ขอบจักเป็นซี่ฟัน
ปลายแหลม เนื้อใบบางคล้ายกระดาษเกลี้ยง ดอก เป็นดอก
ช่อแบบช่อกระจะ ก้านช่อ ยาว 7-11 ซม. ดอกมีกลิ่นหอม เส้น
ผ่าศูนย์กลางดอกย่อย 2-3 ซม. ดอกย่อยประกอบด้วย กลีบ
เลี้ยงเชื่อมกันปลายแยก 5 แฉก ปลายแหลม มีสีเขียว กลีบ
ดอกเชื่อมกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีสีเหลือง
สด เกสรเพศผู้ มีจำนวน 4 อัน มีสองคู่ยาวไม่เท่ากัน เกสร
เพศเมีย มีจำนวน 1 อัน อยู่เหนือวงกลีบ ผล เป็นผลแบบผล
แห้งแตก ยาวประมาณ 16 ซม.
โครงสร้างสันฐานภายนอก
ของดอกทองอุ ไร
กลีบดอก เกสรเพศผู้
เกสรเพศเมีย กลีบเลี้ยง
ฐานรองดอก
โครงสร้างกายวิภาคภายใน
ของดอกทองอุ ไร
ก้านชูอับเรณู อับเรณู
ยอดเกสรเพศเมีย
ก้านชูเกสรเพศเมีย
รังไข่
บรรณาณุกรมและ
เ อ ก ส า ร อ้ า ง อิ ง
https://blog.startdee.com/โครงสร้างของพืชดอก-ม5-
ชีววิทยา
http://laemglad.go.th/news/doc_download/a_30051
9_154605.pdf
http://www.rspg.or.th/plants_data/kp_bot_garden/kp
b_04-1.htm
ภาคผนวก
https://youtu.be/Ept3VgUHGzQ
ภาคผนวก