The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jiraphorn Kummanee, 2019-12-18 23:17:59

page 2557 Full

page 2557 Full

คำนำ

ข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหาร ประจาปีการศึกษา 2557 งานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ ฝ่าย
แผนงานและความร่วมมือ วิทยาลัยเทคนิคดุสิต ได้จัดทาข้ึนโดยการรวบรวมข้อมูลด้านต่าง ๆท่ีเป็น
ประโยชนต์ อ่ การบริหารสถานศึกษา ไดแ้ ก่ สถานท่ีตั้ง ประวัติวิทยาลัย ปรัชญา เป้าประสงค์วิสัยทัศน์
พันธกิจของวิทยาลัย ข้อมูลผู้บริหาร ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ข้อมูลหลักสูตรการ
เรียนการสอน ข้อมูลการวัดผลและประเมินผล ข้อมูลตลาดแรงงาน ข้อมูลอาคารสถานที่ ข้อมูลการ
จัดสรรงบประมาณ รายจ่าย ข้อมูลอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี และการฝึกงานข้อมูลผลงาน / กิจกรรม
ดีเด่นของวิทยาลัย ผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าที่ นักเรียน นักศึกษา เพ่ือจัดเก็บให้เป็นระบบซึ่งข้อมูล
ดังกล่าวจะเป็นประโยชน์กับการให้บริการ และแลกเปลี่ยนข้อมูลทาให้การวางแผนการบริหาร และ
การจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน โดยได้รับความอนุเคราะห์ข้อมูลจากงานต่าง ๆ เป็น
อย่างดี จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ด้วยงานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศหวังเปน็ อย่างย่ิงว่าข้อมูลดังกล่าว
จะเป็นประโยชน์ และเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษา
และหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งตอ่ ไป

งานศนู ยข์ อ้ มูลสารสนเทศ
ฝ่ายแผนงานและความรว่ มมือ

วิทยาลัยเทคนคิ ดสุ ิต

สำรบญั หนา้

คานา 1
สารบัญ 3
สถานทต่ี งั้ 4
ประวัตวิ ิทยาลัยเทคนิคดสุ ติ 5
ตราสัญลักษณข์ องวิทยาลัย 6
ปรชั ญา วสิ ยั ทศั น์ 8
พันธกิจ อัตลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์ จดุ เนน้ จดุ เดน่ สีประจาวิทยาลัย ต้นไมป้ ระจาวิทยาลัย 8
ทาเนยี บผู้บริหารวิทยาลัยเทคนิคดุสติ 8
ผบู้ ริหารวิทยาลัยเทคนิคดสุ ติ 9
ข้อมูลอาคารสถานท่ี 10
ขอ้ มูลบคุ ลากร ปกี ารศึกษา 2557 11
รายละเอยี ดแผนภูมิบรหิ ารสถานศึกษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2557 12
ขอ้ มลู นักเรียน – นกั ศึกษา 16
ขอ้ มลู การจดั สรรงบประมาณ
แผนพฒั นาระบบสารสนเทศ

1

สถานท่ตี ง้ั

วิทยาลยั เทคนิคดุสิต

สงั กัด : สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ
สถานท่ีตั้ง
: 76 ถนนระนอง 2 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ กรงุ เทพฯ 10300
Website โทร. 02-241-0099 , 02-241-1317 , 02-241-5678
E-mail โทรสาร 02-241-3648

: www.dstc.ac.th

: [email protected]

2

3

ประวตั คิ วามเปน็ มา

ก่อน พ.ศ.2498 มีโรงเรียนอาชีวศึกษาชั้นสูงประเภทช่างก่อสร้าง อยู่เพียงโรงเรียนเดียวเท่าน้ัน
คือโรงเรียนชา่ งก่อสร้างอุเทนถวายการอาชีวศึกษาได้ขยายตัวมากขึ้น รัฐบาลในสมัยนั้น เห็นความสาคัญของ
การอาชีวศึกษา จึงให้กระทรวงศกึ ษาธิการ เปิดโรงเรียนประเภทน้ีข้ึนอีกแห่งหน่ึง คือ โรงเรียนช่างก่อสร้าง
ดุสติ ใช้อักษรย่อวา่ “ก.ส.ด.” ดังสาเนาประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เร่ือง ตงั้ โรงเรยี นชา่ งกอ่ สร้างดุสติ

ดว้ ยกระทรวงศกึ ษาธิการพิจารณาเห็นสมควร ขยายการศกึ ษาวชิ าช่างก่อสรา้ งใหก้ ว้างขวางยิ่งขึ้น
เพือ่ ให้สอดคลอ้ งกับความต้องการของประชาชน จึงให้ต้ังโรงเรียนช่างก่อสร้างดุสิตข้ึนที่ ถ.ระนอง 2 อาเภอ
ดสุ ิต จังหวดั พระนคร ให้ชื่อว่า “โรงเรียนชา่ งก่อสร้างดุสติ ” สังกัดกองโรงเรยี นพาณิชย์ และอตุ สาหกรรม กรม
อาชวี ศึกษา สอนวิชาช่างก่อสรา้ ง และวิชาอน่ื ท่มี ีความสมั พันธ์กันต้งั แตต่ ้นปกี ารศกึ ษา 2498

(ลงชอ่ื ) พลเอก ม. พรหมโยธี
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ

โรงเรียนช่างก่อสร้างดุสิต ได้เริ่มเปิดทาการสอนตั้งแต่วันที่ 17 พฤษภาคม ปีการศึกษา 2498
โดยเปดิ รบั นกั เรยี น 2 แผนก คือ

1. หลกั สูตรอาชีวศกึ ษาช้ันสูงแผนกช่างกอ่ สรา้ ง (หลกั สตู ร 3 ปี) รับนักเรียนท่ีสาเร็จมัธยมศึกษา
ปีที่ 6

2. หลักสูตรอาชีวศึกษาช้ันสูงแผนกช่างไม้ (หลักสูตร 1 ปี)รับนักเรียนที่สาเร็จประโยคมัธยม
อาชวี ศึกษาตอนปลาย

โรงเรียนชา่ งกอ่ สรา้ งดสุ ติ ในปแี รกที่เปดิ การศกึ ษารับนักเรียนร่วมกับโรงเรียนช่างก่อสร้าง อุเทน
ถวาย และนกั เรยี นรนุ่ แรกมีดังน้ี

- แผนกชา่ งก่อสร้าง 73 คน
- แผนกช่างไม้ 9 คน

ในปตี อ่ มาโรงเรียนไดข้ ยายหลักสตู รของชา่ งไม้ปลูกสร้างออกเป็น 3 ปี และปีเดียวกัน ได้เริ่มเปิด
การสอนรอบบา่ ย ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ในสมัยน้ันเพื่อช่วยเหลือ นักเรียนที่ไม่มีสถานที่เรียน
ซึ่งในทสี่ ดุ การเปิดสอนรอบบ่ายน้ี ได้เลกิ ไปในปีการศกึ ษา 2504

แผนการศึกษาชาติในปี 2503 กรมอาชีวศึกษาได้ปรับปรุงหลักสูตรของโรงเรียนต่าง ๆ
เช่นเดยี วกันกบั โรงเรียนชา่ งกอ่ สร้าง ซ่งึ เดิมเปน็ โรงเรยี นชั้นประโยคอาชีวศึกษาช้ันสูง ก็กลายเป็นโรงเรียนใน
ระดับประโยคมธั ยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ ในปกี ารศกึ ษา 2504

คอื โรงเรียนประเภทนี้ไดส้ อนช่างก่อสร้างแผนกตา่ ง ๆ ได้ 5 แผนก ดงั น้ี
1. แผนกช่างไมป้ ลูกสร้าง

4

2. แผนกชา่ งไมค้ รุภัณฑ์
3. แผนกชา่ งปนู
4. แผนกช่างสขุ ภัณฑ์
5. แผนกชา่ งเขยี นแบบ
ต่อมาเม่ือวันท่ี 1 ธันวาคม 2519 โรงเรียนช่างก่อสร้างดุสิต ได้รับการยกฐานะข้ึนเป็น
“วิทยาลัยอาชีวศึกษากรุงเทพฯ วิทยาเขต 1 ดุสิต” และเปล่ียนเป็น “วิทยาลัยช่างอุตสาหกรรมนคร
หลวง” แล้วได้เปลี่ยนมาเป็น “วิทยาลัยเทคนิคดุสิต” เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2522 ปัจจุบันวิทยาลัยเทคนิค
ดุสิต เปิดสอนระดบั ปวช. และ ปวส.

ตราสญั ลักษณ์ของวทิ ยาลยั

ตราสัญลักษณ์ของวิทยาลัยเทคนิคดุสิต คือ เครื่องหมายท่ีแทนแผนกวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนใน
วิทยาลัยแห่งน้ี ลักษณะของตราประกอบด้วยรูปสามเหลี่ยมหลายรูปบรรจุในกรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัส สีน้าเงิน
กรอบขาว แตล่ ะรปู มีความหมายต่าง ๆ กนั ดงั ตอ่ ไปนี้

1. รูปส่ีเหล่ียมจตุรัสสีน้าเงินกรอบขาว หมายถึง ช่างก่อสร้าง ช่างเคหภัณฑ์ ซึ่งมีท่ีมาจาก
โรงเรยี นชา่ งกอ่ สร้างอุเทนถวาย โรงเรียนต้นแบบช่างก่อสร้างผลิตช่างก่อสร้างมากมาย รับราชการเป็น ครู-
อาจาร ย์ อยู่ ใน วิ ทยาลัยเ ทคนิคต่าง ๆ ไ ม่น้อ ย ช่า ง ก่ อ สร้ าง ถื อ ว่ าสีน้าเงิน คือ โ ลหิตขอ ง
พระวิษณกุ รรม ซง่ึ เปน็ เทพเจ้าแหง่ การกอ่ สรา้ ง

2. รูปสามเหล่ยี มสีขาวและสีแดง มีลักษณะคล้ายฉากหกสิบองศาชนกันเป็นรูปหน้าจั่ว หมายถึง
สถาปตั ยกรรม น่ันคอื สัญลักษณ์ของช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม ผซู้ งึ่ ใชอ้ ปุ กรณเ์ ขียนแบบมากกวา่ ช่างอื่น

3. รูปสามเหล่ียมทึบสีขาวและสีเทาท่ีอยู่ด้านล่างของหน้าจั่วหมายถึงคณะวิชาพื้นฐาน
ประกอบด้วย วิชาพ้ืนฐาน วิชาสามัญ วิชาสัมพันธ์ วิชาเหล่านี้เป็นวิชาท่ีมีความสาคัญ เช่นเดียวกับวิชาชีพ
ปลกู ฝังใหเ้ ป็นพลเมืองดี มีคุณธรรม สามารถดารงชพี ในสงั คมได้

4. รูปสามเหล่ียมท่ีเกิดจากนารูปสามเหลี่ยมสีขาว และสีเทามาต่อเข้าด้วยกัน จะเห็นเป็น
โครงสรา้ งหลงั คาหงายขึน้ นั่นคอื แผนกวิชาช่างโยธา

5. ถา้ หมุนตราสัญลกั ษณ์นี้ ใหป้ ลายฉากสามเหล่ียมชี้ลงมาด้านล่าง ภาพที่ปรากฏแก่สายตา คือ
ภาพลูกดิ่ง ซึ่งหมายถึง ชา่ งสารวจ

5

ปรชั ญาของวทิ ยาลัย

ทกั ษะเด่น เน้นคณุ ธรรม
นาวิชา พฒั นาสงั คม

ความหมายของปรัชญา วิทยาลัยเทคนิคดุสิต มีเป้าหมายชัดเจนตามนโยบายของสถาบัน
การอาชีวศึกษาท่ีจะผลิตบุคคลอย่างมีคุณภาพ เพื่อออกไปพัฒนา
ทักษะเดน่ ประเทศชาติ โดยเน้นการเรียนรู้ท้ังด้านการปฏิบัติในสาขาวิชาต่างๆ จนมี

เน้นคณุ ธรรม ความเชี่ยวชาญท่จี ะนามาใชใ้ นการประกอบ อาชีพหรือเป็นแนวทางใน
การศกึ ษาระดบั สูงตอ่ ไป
นาวิชา
พฒั นาสังคม วิทยาลัยเทคนิคดุสิต มีเป้าหมายผลิตนักศึกษาให้มีคุณธรรม เพ่ือปลูกฝัง
แนวความคิดดา้ นจรยิ ธรรม คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมในการดาเนนิ ชวี ิต อาทิ
เช่น การรักษาความซ่ือสัตย์ การรู้จักข่มใจตนเอง การอดทน อดกลั้น

อดออม การรู้จัก ละเว้นความช่ัว ความทุจริต กิริยามารยาท รักษา
เกียรติ ช่อื เสียงของตนเอง หมูค่ ณะตลอดจนสถาบัน

วทิ ยาลยั เทคนิคดุสิต ไดเ้ รม่ิ เปดิ การเรียนการสอน จากหลักสูตรอาชีวศึกษา
ชัน้ สงู แผนกชา่ งกอ่ สรา้ ง เพื่อทีจ่ ะผลิตบุคคลให้มีความรู้ทั้งทางภาคทฤษฎี
และปฏิบตั ิ เม่อื สาเร็จการศึกษาแลว้ จะมีบุคคลท่ีมีความรู้ ความสามารถ จัด

อยใู่ นระดบั แนวหน้าของสาขาวิชาช่างทีเ่ รยี น
วิทยาลัยเทคนิคดุสิต มีวัตถุประสงค์ในการผลิตนักเรียน นักศึกษา ด้าน

วิชาชพี ให้ มีประสิทธิภาพทั้งในด้านความรู้ ความสามารถในด้าน
ทักษะเพ่ือให้ออกไปประกอบอาชีพ ได้ท้ังภาครัฐบาล และภาคเอกชน
ต่อไป

คติพจนป์ ระจาวทิ ยาลัยเทคนคิ ดสุ ิต

วริ ิเยน ทกุ ขฺ มจฺเจติ
คาแปล คนลว่ งทุกขไ์ ด้ ด้วยความเพียร

วิสยั ทศั น์ (Vision)

วิทยาลยั เทคนิคดุสิต มุ่งจดั การศึกษาดา้ นวชิ าชีพให้มีคณุ ภาพเป็นทีย่ อมรับของชุมชน โดยมุ่งเน้น
ให้นักเรียนนักศึกษาเป็นผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน เปี่ยมล้นคุณธรรม และจริยธรรม รู้เท่าทันวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี รู้จักแก้ปัญหาอยา่ งมเี หตุผล มคี วามคิดสร้างสรรค์ เป็นบุคคลท่ีมีศักยภาพสูง สามารถใช้ชีวิต
อยู่ร่วมกับบุคคลอ่ืนในสังคมอย่างมีความสุข เป็นกาลังท่ีจะพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าในยุคแห่ง
ขอ้ มลู และขา่ วสาร

6

พันธกจิ

1. จัดการศกึ ษาวชิ าชพี ทม่ี คี ณุ ภาพ
2. พัฒนาผูเ้ รยี นโดยใช้แนวทางวิถีธรรม วถิ ไี ทย
3. พฒั นาการบรหิ ารจัดการใหม้ ีคุณภาพตามหลกั ธรรมมาภิบาล
4. พัฒนาสรา้ งศักยภาพความสามารถการวิจัย นวัตกรรม โครงงาน โครงการ และสงิ่ ประดษิ ฐ์

อตั ลักษณ์

ผ้เู รยี นสร้างสรรค์อาชพี คณุ ภาพดา้ นการก่อสร้าง

เอกลักษณ์

วทิ ยาลัยท่เี น้นความเปน็ หนึ่งเดยี วในวิชาชพี

จุดเนน้

เปน็ สถาบันการเรียนรู้และบรกิ ารด้านการก่อสร้างครบวงจร

จุดเดน่

เชีย่ วชาญงานกอ่ สร้าง

สีประจาวิทยาลยั

สปี ระจาวทิ ยาลัยเทคนิคดุสิต คือ สีน้าเงิน - สเี หลอื ง ซ่ึงมคี วามหมายดงั น้ี
สีน้าเงิน หมายถึง ช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคนิคดุสิต เปิดสอนสาขาวิชาการก่อสร้างแต่เพียง
อย่างเดียว ทุกวิชาที่เปิดสอนล้วนแต่มีความสัมพันธ์กับงานก่อสร้างท้ังส้ิน ไม่ว่าจะเป็นงานโยธา งานสารวจ
งานเคหภัณฑ์ งานเทคนิคสถาปตั ยกรรม
สีเหลอื ง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง ความก้าวหน้า เป็นส่งิ ทสี่ ูง ดังเช่น ทอง
เมื่อนาสีน้าเงินและสีเหลือง มารวมกัน เป็นสีของธงประจาวิทยาลัยก็หมายถึง ความ
เจรญิ รุ่งเรืองของช่างกอ่ สร้าง นักศกึ ษาท่ีเข้ามาอย่ใู ต้ร่มธงน้ี จะได้รับความรู้พ้ืนฐานในการประกอบวิชาชีพใน
สาขาวิชาช่างก่อสร้าง โยธา สถาปัตยกรรม สารวจ เคหภัณฑ์ สร้างความ
เจริญรุ่งเรืองให้แกป่ ระเทศชาติสบื ไป

ตน้ ไมป้ ระจาวทิ ยาลัย

ต้นไม้ประจาวิทยาลัย คือ ต้นสัก ซึ่งปลูกอยู่หน้า
วิทยาลัยมานับสิบปี ไม้สักเป็นไม้ที่มีคุณภาพดีเย่ียมเหมาะสาหรับทา

เคร่ื องเรือน เป็นไม้ที่มีลวดลายสวยงามราคาแพงถือเป็น ไม้ชั้น หน่ึ ง

7

นักศกึ ษาวิทยาลัยแหง่ น้ี ตอ้ งทาตัวให้มีคุณคา่ เชน่ เดยี วกับไม้สกั ทเี่ ปน็ ไมม้ ีคา่ ในงานก่อสรา้ ง

ทาเนียบผบู้ รหิ าร

ปีทีด่ ารงตาแหนง่ ช่อื - สกลุ ตาแหน่ง
อาจารยใ์ หญ่
2498 – 2510 นายสงั เวยี น หริ ัญยเลขา อาจารย์ใหญ่
ผู้อานวยการ
2510 – 2513 นายประเสรฐิ ทมิ อุดม ผู้อานวยการ
ผอู้ านวยการ
2513 – 2517 นายปัญญา มณวี ฒั นา ผูอ้ านวยการ
ผู้อานวยการ
2517 – 2518 นายบุญเลิศ ภพลาภ ผอู้ านวยการ
ผู้อานวยการ
2518 – 2519 นายสถิต พราหมณะนันท์ ผู้อานวยการ
ผอู้ านวยการ
2519 – 2528 นายอดศิ รยั ศรีสุคนธ์ ผู้อานวยการ
ผอู้ านวยการ
2528 – 2534 นายวิชติ สงั ขนันท์ ผอู้ านวยการ

2534 – 2539 นางวาสนา พราหมณะนนั ท์ รองผู้อานวยการ รกั ษาการใน
ตาแหนง่ ผอู้ านวยการ
2539 – 2540 นายนิสติ ศรีศัมภวุ งศ์
รองผู้อานวยการ รกั ษาการใน
2540 – 2541 นายไพศาล สนิ ลารัตน์ ตาแหนง่ ผอู้ านวยการ

2541 – 2543 นายสมบรู ณ์ อุดมทรพั ย์ ผู้อานวยการ

2543 – 2550 นายชาญเวช บญุ ประเดิม

2550 - 2551 นายจริ พนั ธ์ พทุ ธรตั น์

2551 -2553 ว่าที่ ร.ต.พงษเ์ พช็ ร์ พทิ ยาพละ

14 ต.ค. 53 – 16 ก.พ. 54 นายสาคม คันธโกวทิ

17 ก.พ 54 – 16 ม.ิ ย 54 นายประภาส คงสบาย
17 มิ.ย. 54 – 31 ก.ค. 54 นายสาคม คนั ธโกวิท

1 ส.ค. 54 - ปจั จบุ ัน นายสุวฒั น์ รัตนปริคณน์

ผบู้ ริหารสถานศึกษา

ลาดบั ท่ี ชื่อ - สกุล ตาแหนง่
ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั
1. นายสวุ ัฒน์ รัตนปรคิ ณน์
รองผูอ้ านวยการฝ่ายกิจกรรมนกั เรียน นกั ศกึ ษา
2. นายวีระชาติ กุลสิทธิ์ รองผอู้ านวยการฝ่ายวิชาการ
รองผ้อู านวยการฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมือ
3. นายพีรวชิ ญ์ มีสัจจานนท์ รองผู้อานวยการฝา่ ยบริหารทรพั ยากร

4. นายวรี ะชาติ กลุ สทิ ธ์ิ

5. นายธีรพล สุวรรณรตั น์

8

การดาเนนิ งานในปจั จุบัน ระดบั การศึกษา และสาขาวิชาทเ่ี ปิดสอน

ปัจจบุ ันสถานศกึ ษาเปดิ ทาการสอน ในระดับต่าง ๆ ดังนี้
 ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ระบบปกติ

 ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) ระบบทวิภาคี
 ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวส.) รับผู้จบการศึกษา ปวช. ระบบปกติ
 ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวส.) รับผจู้ บการศึกษา ปวช. ระบบทวภิ าคี

 ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวส.) รับจากผู้จบการศกึ ษา ม.6

วิทยาลยั เทคนคิ ดสุ ติ เปิดทาการสอน รวม 3 คณะวิชา ดังนี้
 คณะวชิ าการกอ่ สร้าง
 คณะพื้นฐานเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม

 คณะบริหารธรุ กจิ

อาคารและสิ่งปลกู สรา้ ง

อาคาร/ตึก พนื้ ท่ใี ชส้ อย สร้างเม่อื ค่ากอ่ สรา้ ง
ตารางเมตร พ.ศ. (บาท)
อาคาร 2 ชั้น
อาคาร 3 ชนั้ 768 2498 1,300,000.-
อาคารโรงฝกึ งาน 2 ชั้น 1,387 2502 1,500,000.-
อาคาร 4 ชน้ั 1,972 2517 1,900,000.-
หอประชุม 2 ชนั้ 1,900 2518 3,000,000.-
อาคาร 5 ชั้นและโรงอาหาร 1,428 2520 3,200,000.-
แฟลตภารโรง 4 ชนั้ 2,594 2532 9,500,000.-
อาคารปฏบิ ตั กิ าร 4 ชั้น 240 2536 2,000,000.-
อาคารปฏบิ ัตกิ าร 7 ชั้น 4,000 2537 23,000,000.-
2,520 2540 18,650,000.-

9

ขอ้ มลู บคุ ลากรประจาปีการศกึ ษา 2557

ตารางแสดงขอ้ มูลบคุ ลากร ประจาปกี ารศึกษา 2557

จานวน (คน) ระดับตาแหนง่ ระดบั การศึกษา

ฝา่ ย/แผนก/ประเภท ชาย หญิง รวม คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4 ตา่ กวา่ ปริญญา สูงกวา่
ตรี
ปรญิ ญา ปริญญา
ตรี ตรี

 ข้าราชการครู

ฝา่ ยบรหิ าร 415-23- - - 5

ประจาแผนกวชิ า

- แผนกวชิ าสามญั สมั พนั ธ์ 5 9 14 - 7 7 - - 7 7

- แผนกวิชาธรุ กิจค้าปลกี - 5 5 1 2 2 - - 5 -

- แผนกวิชาเทคโนโลยี -22-2- - - 11

พ้นื ฐาน

- แผนกวิชากอ่ สร้าง 516141- - 2 4

- แผนกวชิ าโยธา 6-6-24- - 2 4

จานวน (คน) ระดับตาแหน่ง ระดบั การศึกษา

ฝา่ ย/แผนก/ประเภท ชาย หญงิ รวม คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4 ตา่ กวา่ ปรญิ ญา สงู กวา่
ตรี
ปริญญา ปรญิ ญา
ตรี ตรี

- แผนกวิชาสถาปัตยกรรม 6 1 7 - 4 3 - - 2 5

- แผนกวชิ าสารวจ 3-3-21- - 1 2

- แผนกวชิ าเครอื่ งเรือนฯ 2 3 5 1 2 2 - - 2 3

รวม 31 22 53 3 27 23 - - 22 31

 พนักงานราชการ 123- - - - - 3 -

รวม 1 2 3 - - - - - 3 -

 ลกู จา้ งประจา 11 2 13 - - - - 13 - -

 ลูกจ้างชว่ั คราว - 10 10 - - - - 9 1 -

รวม 11 12 23 - - - - 22 1 -

รวมท้งั สนิ้ 43 36 79 3 26 23 - 22 26 31

อตั รากาลังของบุคลากรของสถานศึกษา รวม จานวน 79 คน โดยแยกสรุปตามประเภทได้ ดังนี้
 ข้าราชการครู 52 คน  พนกั งานราชการ 3 คน
 ลกู จ้างประจา 13 คน  ลูกจา้ งชวั่ คราว 10 คน

หมายเหตุ : ขอ้ มูล ณ วันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

10

แผนภูมกิ ารบรหิ ารสถานศกึ ษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2557

11

ขอ้ มลู นักเรียน นกั ศึกษา ประจาปีการศกึ ษา 2557 จานวนนักเรยี น นกั ศึกษา
ชาย หญงิ รวม
ประเภทวชิ า/สาขาวชิ า
60 2 62
ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม / สาขาวชิ าการกอ่ สรา้ ง
หลกั สตู รปกติ ระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) 31 2 33
1. สาขางานกอ่ สร้าง
2. สาขางานโยธา 22 12 34
3. สาขางานสถาปัตยกรรม
4. สาขางานสารวจ 16 2 18
5. สาขางานอุตสาหกรรมเครื่องเรือนและการตกแตง่ ภายใน
30 5 35
รวม ระดบั (ปวช.)
หลักสูตรปกติ ระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั้ สูง (ปวส.) 159 23 182
1. สาขาวชิ าก่อสร้าง
2. สาขาวชิ าโยธา 21 1 22
12 4 16
3. สาขาวชิ าสถาปตั ยกรรม
4. สาขาวชิ าสารวจ 64 10
5. สาขาวชิ าอุตสาหกรรมเครอื่ งเรอื นและการตกแตง่ ภายใน 73 10
13 1 14
รวม ระดับ ปวส.ประเภทวิชาอุตสาหกรรม 59 13 72
ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กิจ
หลักสตู รปกติ ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 8 25 33
1. สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจค้าปลีก
67 38 105
รวมทกุ ประเภทวชิ า ระดบั ปวส.
ยอดรวมทกุ ระดับ 226 61 287

แหล่งข้อมูลงานทะเบียน วันท่ี 10 มิถนุ ายน 2557

12

ขอ้ มลู การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ย (เมษายน 2556 – มนี าคม 2557)

หมวดรายจ่าย เงินงบประมาณ เงินอุดหนนุ เงินบารงุ การศกึ ษา ยอดรวม
30,055,863.72
 งบบคุ ลากร 29,181,570.96 436,243.76 438,049.00 23,678,391.39

- เงินเดอื น 23,678,391.39 0 0 2,518,619.57
2,558,190.00
- เงินประจาตาแหน่ง/วิทยฐานะ 2,518,619.57 0 0
426,370.00
- คา่ จา้ งประจา 2,558,190.00 0 0 874,292.76
12,614,229.91
- คา่ ตอบแทนพนกั งานราชการ 426,370.00 0 0 2,515,862.52
47,232.40
- ค่าจา้ งช่วั คราว 0 436,243.76 438,049.00 34,647.00
49,085.92
 งบดาเนินงาน 9,544,719.87 2,778,372.13 291,137.91 1,757,842.00
265,600.00
2.1 คา่ ตอบแทน 2,306,825.52 50,530.00 158,507.00 166,480.00
67,970.00
- คา่ เชา่ บา้ น 47,232.40 0 0 125,081.60

- ค่าธรุ การนอกเวลา 0 0 34,647.00 1,923.60
2,613,783.96
- คา่ ตอบแทนวทิ ยากร 47,285.92 1,800.00 0 1,152,813.00

- ค่าตรวจผลงาน 1,757,842.00 0 0 112,483.25
187,722.09
- ค่าตอบแทนพนักงาน 265,600.00 0 0 54,443.36
12,000.00
- ค่าอาหารทาการนอกเวลา 61,860.00 15,120.00 89,500.00 1,000,016.65
38,571.61
- ค่าครองชพี ลูกจ้างชว่ั คราว 0 33,610.00 34,360.00 55,734.00
5,997,020.022
- ค่าตอบแทนพิเศษ (ข้าราชการ) 125,081.60 0 0 2,552,899.58
2,816,946.13
- ค่าตอบแทนพิเศษ (ลูกจา้ งประจา) 1,923.60 0 0 390,346.73
17,976.00
2.2 คา่ ใช้สอย 1,754,686.60 801,330.75 57,766.61 43,041.58
175,810.00
- คา่ เบีย้ เลยี้ ง ทพี่ ัก พาหนะ 693,334.00 459,479.00 0

- คา่ ซ่อมแซมยานพาหนะ 21,440.00 77,333.25 13,710.00

- ค่าซ่อมแซมครภุ ณั ฑ์ 172,850.00 14,872.09 0

- คา่ เชา่ ทรัพยส์ ิน 0 54,443.36 0

- คา่ ขยะมลู ฝอย 0 0 12,000.00

- ค่าจา้ งเหมาบริการ 823,550.60 176,466.05 0

- ค่าใชส้ อยอืน่ ๆ 27,000.00 0 11,571.61

- เงนิ สมทบกองทนุ ประกนั สงั คม 16,512.00 18,737.00 20,485.00

2.3 คา่ วสั ดุ 4,143,493.80 1,778,661.92 74,864,.30

- คา่ วสั ดุการศึกษา 1,115,516.37 1,419,407.21 17,976.00

- ค่าวสั ดสุ านกั งาน 2,702,949.92 101,467.91 12,528.30

- ค่าวัสดุก่อสรา้ ง-อาคาร 325,027.51 65,319.22 0

- ค่าวสั ดุยานพาหนะ 0 17,976.00 0

- ค่าวัสดุห้องสมุด 0 16,731.58 26,310.00

- คา่ วสั ดุน้ามนั เชอ้ื เพลงิ และขนส่ง 0 157,760.00 18,050.00

13

หมวดรายจา่ ย เงินงบประมาณ เงินอดุ หนนุ เงินบารุงการศกึ ษา ยอดรวม
2.4 ค่าสาธารณูปโภค
- คา่ ไฟฟ้า 1,339,713.95 147,849.46 0 1,487,563.41
- คา่ นา้ ประปา
- ค่าโทรศัพท์ 1,056,188.59 113,535.01 0 1,169,723.60
- คา่ ไปรษณีย์
 งบลงทุน 206,279.36 0 0 206,279.36
- คา่ ครภุ ัณฑ์
- คา่ ทดี่ ินและสิง่ กอ่ สรา้ ง 0 25,197.45 0 25,197.45

รวมทั้งสิ้น 77,246.00 9,117.00 0 86,363.00

14,339,251.00 96,621.00 0 14,435,872.00

2,444,251.00 96,621.00 0 2,540,872.00

11,895,000.00 0 0 11,895,000.00

53,065,541.83 3,311,236.89 729,186.91 57,105,965.63

แหลง่ ขอ้ มลู จากงานวางแผนและความรว่ มมอื ณ วันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

การศึกษาสภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกวิทยาลัยเทคนิคดสุ ิตโดยใช้
SWOT Analysis

1. ดา้ นบคุ ลากร

สถานการณภ์ ายใน สถานการณภ์ ายนอก

จุดแขง็ /จุดเด่น (Strength) โอกาส/ปจั จัยสนบั สนุนสูค่ วามสาเร็จ(Opportunity)
บคุ ลกรมีความรู้ ความสามารถ บคุ ลากรมีโอกาส ไดร้ ับการพัฒนาเพิม่ พนู

ประสบการณ์ตามสาขาวิชาชีพทห่ี ลากหลาย ความรวู้ ิชาชพี จากหน่วยงานราชการและสถาน
ประกอบการ

จดุ ออ่ น/ด้อย (Weakness) ปัญหาอปุ สรรค/ปัจจัยวกิ ฤติ (Threat)
จานวนบคุ ลากรไมส่ อดคล้องกับเป้าหมาย จานวนบคุ ลากรเกษยี ณอายรุ าชการมากขึ้น

การผลิต เชน่ บุคลากรสายสนบั สนุน อตั ราตาแหน่งถูกยบุ

2. ดา้ นอาคารสถานทแ่ี ละสภาพแวดลอ้ ม สถานการณภ์ ายนอก

สถานการณภ์ ายใน โอกาส/ปจั จัยสนบั สนุนสคู่ วามสาเร็จ
จุดแข็ง/จุดเด่น (Strength) (Opportunity)

อยู่ในจดุ ศนู ยก์ ลางความเจริญ สถานศึกษามีชอ่ื เสยี งเปน็ ท่ียอมรบั ของสังคม

จดุ อ่อน/ด้อย (Weakness) ปัญหาอุปสรรค/ปจั จัยวกิ ฤติ (Threat)
การจราจรติดขดั พ้ืนที่จากัดไม่สามารถขยายได้

3. ดา้ นครภุ ณั ฑ์ (ทดแทน/ ขาดแคลน/ ภารกจิ เชิงรุก)

14

สถานการณ์ภายใน สถานการณภ์ ายนอก
จดุ แขง็ /จุดเด่น (Strength)
โอกาส/ปัจจยั สนบั สนุนสูค่ วามสาเร็จ
ครภุ ัณฑ์ส่วนใหญม่ ีการซอ่ มบารงุ รกั ษาตอ่ เนอ่ื ง (Opportunity)

ครุภัณฑ์ได้รบั ความรว่ มมือจากสถานประกอบการ

จุดออ่ น/ด้อย (Weakness) ปญั หาอุปสรรค/ปัจจัยวกิ ฤติ (Threat)
ครุภณั ฑ์ไม่เพียงพอและบางสาขาล้าสมัย การพฒั นาเทคโนโลยีของสถานประกอบการ

เอกชนมีการเปลีย่ นแปลงอยา่ งตอ่ เนื่องและรวดเรว็

4. ด้านการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การโดยใช้ IT/ICT และการกระจายอานาจ

สถานการณภ์ ายใน สถานการณ์ภายนอก
จุดแข็ง/จุดเดน่ (Strength)
โอกาส/ปจั จัยสนบั สนนุ สู่ความสาเรจ็
สถานศกึ ษามรี ะบบสารสนเทศ (Opportunity)

นโยบายรัฐบาลสนับสนนุ ให้หนว่ ยงานใชร้ ะบบ
IT/ ICT เพอ่ื การบรหิ ารจัดการ

จุดอ่อน/ด้อย (Weakness) ปัญหาอปุ สรรค/ปจั จัยวิกฤติ (Threat)
จานวนเคร่ืองคอมพวิ เตอรไ์ ม่เพียงพอและมี นโยบายและกฎหมายในการบริหารจัดการไม่

ประสทิ ธิภาพต่า ชดั เจน

5. ดา้ นเพ่ิมศักยภาพ และขีดความสามารถในการแข่งขนั การพัฒนาอาชีวศึกษา

สถานการณ์ภายใน สถานการณภ์ ายนอก
จุดแขง็ /จุดเด่น (Strength)
โอกาส/ปัจจยั สนบั สนนุ สูค่ วามสาเรจ็
จดั การศึกษาวิชาชีพสนองต่อยทุ ธศาสตร์การ (Opportunity)
พฒั นาประเทศ
จดุ ออ่ น/ดอ้ ย (Weakness) นโยบายรัฐบาล ชมุ ชน และสถานประกอบการ
มสี ว่ นร่วมในการจัดการอาชีวศกึ ษา
ขาดการประชาสมั พนั ธ์ และการแนะแนว
การศึกษาวชิ าชพี เชงิ รุก ปญั หาอปุ สรรค/ปจั จัยวกิ ฤติ (Threat)
ค่านยิ มของผูป้ กครองในการศกึ ษาวิชาชพี

15

6. ดา้ นการเพ่มิ ผลติ ภณั ฑต์ อ่ ยอด OTOP และพัฒนานวัตกรรมเป็นเทคโนโลยี

สถานการณ์ภายใน สถานการณภ์ ายนอก
จดุ แขง็ /จุดเดน่ (Strength)
โอกาส/ปัจจัยสนบั สนุนสู่ความสาเร็จ
สถานศกึ ษามีบคุ ลากร เครอื่ งมอื เครื่องจกั ร (Opportunity)
เทคโนโลยีท่ีจะพฒั นาผลิตภณั ฑ์ OTOP ได้
หลากหลาย นโยบายรัฐบาลสนับสนนุ การแก้ไขปญั หา
ความยากจนแบบบูรณาการ

จุดออ่ น/ด้อย (Weakness) ปญั หาอปุ สรรค/ปัจจยั วิกฤติ (Threat)
ขาดการประสานงานกบั ชมุ ชน ท้องถิ่น ชุมชน ท้องถิ่น สถานประกอบการ เขา้ ใจ

สถานประกอบการ บทบาทภารกจิ ของการจดั อาชีวศึกษานอ้ ย

7 . ดา้ นความตอ้ งการพฒั นาเป็นสถาบนั วชิ าชพี เฉพาะทาง

สถานการณ์ภายใน สถานการณภ์ ายนอก
จดุ แขง็ /จุดเด่น (Strength)
โอกาส/ปัจจยั สนับสนุนสคู่ วามสาเรจ็
จัดการศึกษาเฉพาะทางในสาขาการกอ่ สร้าง (Opportunity)

จดุ อ่อน/ด้อย (Weakness) ระดมคลงั ปญั ญาอาชีวศึกษา และภูมปิ ญั ญา
การบรหิ ารจดั การไมท่ นั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง ทอ้ งถิน่ ในการจัดการเรียนการสอนในสถานท่ี
ขาดแคลน
ความตอ้ งการของตลาด
ปัญหาอปุ สรรค/ปจั จัยวิกฤติ (Threat)
ขาดความชัดเจนด้านนโยบาย

8. ดา้ นการบริหารจัดการ (การใหบ้ รกิ าร การอานวยความสะดวก สง่ เสริมสนับสนนุ )

สถานการณภ์ ายใน สถานการณ์ภายนอก
จุดแขง็ /จุดเดน่ (Strength)
โอกาส/ปจั จัยสนบั สนุนสคู่ วามสาเร็จ
นาเทคโนโลยีมาใช้ในการ การบรหิ ารจดั การ (Opportunity)

จดุ ออ่ น/ดอ้ ย (Weakness) การปรบั เปลยี่ นวธิ กี ารปฏิบัติราชการ การปฏิรปู
ขาดการกากบั ติดตาม ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง การศึกษา

ปญั หาอุปสรรค/ปัจจัยวิกฤติ (Threat)
กฎระเบยี บมากเกินไป ทาให้การบริหารจดั การ

ไมค่ ล่องตัว

16

แผนพฒั นาระบบสารสนเทศของสถานศึกษา

1. โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศและเครอื ข่าย เพ่ือเชอ่ื มโยงกับการบรหิ ารภายในสถานศกึ ษาจาก
ระบบ ศธ.02

2. โครงการจา้ งปรบั ปรงุ เวบ็ ไซดแ์ ละพฒั นาหนา้ เวบ็ ใหม่ของวิทยาลยั เทคนคิ ดุสติ
3. โครงการพฒั นาระบบเครือข่าย และการให้บรกิ ารอินเทอร์เน็ต
 ไดร้ ับการพจิ ารณา จานวน 3 โครงการ

แผนผงั ระบบเครอื ข่ายของวทิ ยาลยั เทคนิคดุสิต

17

18

คณะผู้จดั ทา คุม้ มณี
ทองทบั
นายวิชยั
นายอาณาจกั ร ไพรสกลุ เดชา
นายชวลติ

ผู้ประสานงาน ชาติวงส์
แสงคล้อย
นางทพิ วรรณ
นางชลดา มหาเมฆทัศนีย์
หอมหวลดี
นายนรพฒั น์
นายวรี ะยุทธ ไพรสกลุ เดชา
นายชวลติ คมุ้ มณี
นางจริ าภร มุสิกปักษ์
นางสวุ รรณี

ผบู้ ริหาร รัตนปรคิ ณน์
กุลสิทธิ์
นายสุวฒั น์ สาสนรกั กจิ
นายวีระชาติ คันธโกวิท
นางสุวรรณา สุวรรณรัตน์
นายสาคม
นายธีรพล


Click to View FlipBook Version