The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 5 วิชาภาษาไทย เรื่องหลักการใช้ภาษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pinky25102529, 2021-12-24 03:05:20

การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 5 วิชาภาษาไทย เรื่องหลักการใช้ภาษา

การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 5 วิชาภาษาไทย เรื่องหลักการใช้ภาษา

Keywords: กศน.ตำบลหาดเจ้าสำราญ

การเรยี นการสอนสปั ดาหท์ ่ี 5

นางสาวชญาณี ณ ถลาง
ครู กศน.ตาบลหาดเจา้ สาราญ

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมอื งเพชรบรุ ี

การจัดการเรยี นการสอนสัปดาหท์ ี่ 5 ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564
กศน.ตาบลหาดเจา้ สาราญ

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเมอื งเพชรบรุ ี
********************************************************************************
คาอธบิ าย

1. การจดั การเรยี นการสอนประจาสัปดาห์ที่ 5 เร่ืองหลกั การใชภ้ าษา
2. ศกึ ษาคลิปการสอนเรอื่ งหลักการใช้ภาษา ( ตาม QR CODE ดา้ นลา่ งน้ี )

แสกน QR CODE เพ่อื ชมคลิปท่ี 1 – 4

3. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน วิชาภาษาไทย เรอ่ื งหลักการใชภ้ าษา โดยแสกน QR CODE ด้านลา่ งน้ี

4. ทาแบบฝึกหัดท้ายบท ( วิธีดาเนินการ : ลอกโจทย์ลงในสมุด และถ่ายภาพช้ินงานส่งครูทาง Line /
ทาง FB )

5. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน วชิ าภาษาไทย เรอ่ื งหลักการใชภ้ าษา โดยแสกน QR CODE ด้านลา่ งน้ี

การเรียนการสอนสัปดาห์ท่ี 5
ใบความรู้ที่ 1 วิชาภาษาไทย เรื่องชนดิ ของคา

กศน.ตาบลหาดเจ้าสาราญ
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมอื งเพชรบรุ ี

1. คานาม
คานาม หมายถึง คาท่ีใชเ้ รียกช่อื คน สัตว์ พชื ส่ิงของ สถานท่ี สภาพ อาการ ลักษณะ ท้งั ทีเ่ ปน็ สง่ิ มีชีวติ

หรอื สิ่งไม่มีชีวติ ทงั้ ที่เปน็ รูปธรรม และนามธรรม เช่นคาว่า คน ปลา ตะกรา้ ไก่ ประเทศไทย จังหวัดพจิ ติ ร
การออกกาลงั กาย การศึกษา ความดี ความงาม กอไผ่ กรรมกร ฝงู ตัว เป็นต้น

ชนิดของคานาม คานามแบ่งออกเปน็ ๕ ชนดิ ดงั น้ี
1. สามานยนาม หรือเรยี กว่า คานามท่วั ไป คือ คานามทเี่ ป็นช่อื ท่วั ๆ ไป เปน็ คาเรยี กสิง่ ต่างๆ โดยทว่ั ไปไมช่ ้ี
เฉพาะเจาะจง เชน่ ปลา ผีเสอ้ื คน สุนขั วดั ต้นไม้ บ้าน หนงั สือ ปากกา เปน็ ตน้
2. วสิ ามานยนาม หรือเรยี กวา่ คานามเฉพาะ คือ คานามท่ีใช้เรียกชอื่ เฉาะของคน สตั ว์ หรอื สถานที่ เป็นคา
เรยี นเจาะจงลงไปว่า เปน็ ใครหรอื เป็นอะไร เช่น พระพุทธชนิ ราช เดก็ ชายวิทวัส จังหวัดพจิ ิตร วัดทา่ หลวง สม้
โอท่าข่อย พระอภัยมณี วนั จันทร์ เดอื นมกราคม เปน็ ต้น
3. สมุหนาม คือ คานามทที่ าหนา้ ทีแ่ สดงหมวดหมู่ของคานามท่ัวไป และคานามเฉพาะ เช่น ฝงู ผึ้ง กอไผ่ คณะ
นักทัศนาจร บรษิ ัท พวกกรรมกร เป็นตน้
4. ลกั ษณะนาม คือ เปน็ คานามทบ่ี อกลักษณะของคานาม เพื่อแสดงรูปลกั ษณะ ขนาด ปริมาณ ของ
คานามน้ันนัน้ ใหช้ ดั เจน เช่น บา้ น ๑ หลัง โตะ๊ ๕ ตวั คาว่า หลัง และ ตวั เปน็ ลักษณะนาม
5. อาการนาม คอื คานามที่เปน็ ช่ือกริยาอาการ เป็นสง่ิ ทเี่ ปน็ นามธรรม ไมม่ รี ูปรา่ ง มักมคี า
วา่ "การ" และ "ความ" นาหนา้ เชน่ การกนิ การเดนิ การพดู การอ่าน การเขียน ความรกั ความ
ดี ความคิด ความฝนั เปน็ ต้น

หนา้ ท่ีของคานาม มดี งั น้ีคอื

1. ทาหนา้ ที่เปน็ ประธานของประโยค เชน่

- ประกอบชอบอ่านหนงั สือ - ตารวจจบั ผรู้ า้ ย

2. ทาหน้าที่เป็นกรรมหรือผูถ้ ูกกระทา เชน่

- วารีอา่ นจดหมาย - พ่อตีสุนัข

3. ทาหน้าทข่ี ยายนาม เพื่อทาใหน้ ามท่ีถกู ขยายชัดเจนข้ึน เชน่

- สมศรีเปน็ ขา้ ราชการครู - นายสมศักดิ์ทนายความฟ้องนายปญั ญาพ่อค้า

4. ทาหน้าที่เป็นส่วนสมบรู ณ์หรือสว่ นเตมิ เตม็ เชน่

- ศรรามเป็นทหาร - เขาเปน็ ตารวจแตน่ ้องสาวเปน็ พยาบาล

5. ใชต้ ามหลังคาบพุ บทเพื่อทาหนา้ ที่บอกสถานที่ หรือขยายกริยาให้มเี นื้อความบอกสถานท่ีชดั เจนขนึ้ เช่น

- คณุ แม่ของเด็กหญงิ สายฝนเป็นครู - นกั เรยี นไปโรงเรยี น

6. ใช้บอกเวลาโดยขยายคากรยิ าหรอื คานามอนื่ เช่น

- คณุ พ่อจะไปเชียงใหมว่ ันเสาร์ - เขาชอบมาตอนกลางวนั

7. ใช้เป็นคาเรยี กขานได้ เชน่

- น้าฝน ชว่ ยหยิบปากกาใหค้ รูทีซิ - ตารวจ ชว่ ยฉนั ด้วย

การเรยี นการสอนสปั ดาห์ท่ี 5
ใบความร้ทู ี่ 1 วชิ าภาษาไทย เรื่องชนดิ ของคา

กศน.ตาบลหาดเจ้าสาราญ
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองเพชรบรุ ี

2.คาสรรพนาม
คาสรรพนาม หมายถึง คาท่ีใช้แทนคานามท่ีกลา่ วถงึ มาแล้ว เพ่ือจะได้ไม่ต้องกล่าวคานามน้ันซา้ อีก เช่น

คาว่า ฉนั เรา ดิฉัน กระผม กู คุณ ท่าน ใตเ้ ทา้ เขา มัน สง่ิ ใด ผ้ใู ด น่ี น่นั อะไร ใคร บา้ ง เป็น
ตน้
ชนิดของคาสรรพนาม คาสรรพนามแบง่ ออกเปน็ ๖ ชนดิ ดงั นี้
1. บุรษุ สรรพนาม คอื คา สรรพนามทใี่ ชแ้ ทนผ้พู ูด แบ่งเปน็ ชนดิ ยอ่ ยได้ ๓ ชนิด คอื

1.1 สรรพนามบุรุษท่ี 1 ใช้แทนตัวพูด เช่น ผม ฉัน ดิฉัน กระผม ข้าพเจ้า กู เรา ข้าพระพุทธเจา้
อาตมา หมอ่ มฉัน เกล้ากระหม่อม

1.2 สรรพนามบุรุษที่ 2 ใช้แทนผู้ฟัง หรือผู้ท่ีเราพูดดว้ ย เช่น คุณ เธอ ใต้เท้า ท่าน ใต้ฝ่าละอองธลุ ี
พระบาท ฝ่าพระบาท พระคณุ เจา้

1.3 สรรพนามบรุ ษุ ที่ 3 ใช้แทนผู้ทก่ี ล่าวถงึ เขา มัน ท่าน พระองค์
2. ประพันธสรรพนาม คือ คาสรรพนามที่ใช้แทนคานามและใช้เชื่อมประโยคทาหน้าท่ีเช่ือมประโยคให้มี
ความสมั พนั ธก์ นั ได้แก่คาวา่ ที่ ซงึ่ อนั ผู้
3. นิยมสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนนามช้ีเฉพาะเจาะจงหรือบอกกาหนดความให้ผู้พูดกับผู้ฟังเข้าใจ
กัน ได้แกค่ าวา่ น่ี นน่ั โน่น
4. อนิยมสรรนาม คอื สรรพนามใช้แทนนามบอกความไม่ช้เี ฉพาะเจาะจงที่แน่นอนลงไป ไดแ้ กค่ าว่า อะไร
ใคร ไหน ใด บางครัง้ ก็เปน็ คาซา้ ๆ เช่น ใครๆ อะไรๆ ไหนๆ
5. วิภาคสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนคานาม ซึ่งแสดงให้เห็นว่านามน้ันจาแนกออกเป็นหลายส่วน
ได้แกค่ าว่า ต่าง บ้าง กนั เชน่ - นักเรยี น"บ้าง"เรียน"บา้ ง"เลน่ - นกั เรยี น"ตา่ ง"กอ็ า่ นหนังสือ
6. ปฤจฉาสรรพนาม คือ สรรพนามท่ีใช้แทนนามท่ีเป็นคาถาม ได้แก่คาว่า อะไร ใคร ไหน ผู้ใด ส่ิงใด
ผู้ใด ฯลฯ เชน่ - "ใคร" ทาแกว้ แตก - เขาไปท่ี "ไหน"
หนา้ ทข่ี องคาสรรพนาม มดี ังนีค้ อื
1. เปน็ ประธานของประโยค เช่น - "เขา"ไปโรงเรียน - "ใคร"ทาดินสอตกอยู่บนพนื้
2. ทาหน้าท่ีเปน็ กรรมของประโยค ( ผ้ถู ูกกระทา ) เชน่

- ครจู ะตี"เธอ"ถา้ เธอไมท่ าการบ้าน - คุณชว่ ยเอา "น่"ี ไปเก็บไดไ้ หม
3. ทาหน้าท่เี ป็นสว่ นเติมเต็มหรอื ส่วนสมบรู ณ์ เช่น

- กานันคนใหม่ของตาบลนี้คอื "เขา"นน่ั เอง - เขาเปน็ "ใคร"
4. ใชเ้ ชอ่ื มประโยคในประโยคความซ้อน เชน่

- ครชู มเชยนักเรียน"ท่ี"ขยัน
5. ทาหน้าทีข่ ยายนามท่ีทาหนา้ ทเี่ ปน็ ประธานหรอื กรรมของประโยค เพื่อเนน้ การแสดงความรูส้ กึ ของผู้พดู

จะวางหลงั คานาม เชน่
- คณุ คร"ู ท่าน"ไมพ่ อใจท่เี ราไม่ตงั้ ใจเรยี น - ฉนั แวะไปเยย่ี มคุณปู่ "ทา่ น" มา

การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 5
ใบความรูท้ ่ี 1 วิชาภาษาไทย เร่อื งชนิดของคา

กศน.ตาบลหาดเจา้ สาราญ
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งเพชรบรุ ี
3. คากริยา
คากริยา หมายถึง คาแสดงอาการ การกระทา หรือบอกสภาพของคานามหรือคาสรรพนาม เพื่อให้ได้
ความ เชน่ คาว่า กนิ เดิน นง่ั นอน เลน่ จับ เขยี น อา่ น เป็น คอื ถูก คลา้ ย เป็นตน้

ชนิดของคากรยิ า คากรยิ าแบง่ เป็น 5 ชนิด

1. อกรรมกรยิ า คือ คากรยิ าทไี่ มต่ อ้ งมีกรรมมารับกไ็ ด้ความสมบูรณ์ เข้าใจได้ เช่น

- เขา "ยนื " อยู่ - นอ้ ง "นอน"

2. สกรรมกริยา คือ คากรยิ าท่ีตอ้ งมีกรรมมารับ เพราะคากรยิ านไี้ มม่ ีความสมบูรณ์ในตัวเอง เช่น

- ฉนั "กิน" ข้าว ( ขา้ วเปน็ กรรมที่มารบั คาว่ากนิ )

- เขา "เห็น" นก ( นกเป็นกรรมทม่ี ารับคาว่าเหน็ )

3. วิกตรรถกริยา คือ คากริยาท่ีไม่มีความหมายในตัวเอง ใช้ตามลาพังแล้วไม่ได้ความ ต้องมีคาอื่นมา

ประกอบจึงจะไดค้ วาม คากริยาพวกน้ีคอื เป็น เหมอื น คล้าย เท่า คอื เชน่

- เขา "เปน็ " นกั เรยี น - เขา "คือ" ครขู องฉนั เอง

4. กริยานุเคราะห์ คือ คากริยาท่ีทาหน้าท่ีช่วยคากริยาสาคัญในประโยคใหม้ ีความหมายชดั เจนขึ้น ได้แก่คา

วา่ จง กาลงั จะ ย่อม คง ยัง ถูก นะ เถอะ เทอญ ฯลฯ เชน่

- นายดา "จะ" ไปโรงเรยี น - เขา "ถกู " ตี

5. กริยาสภาวมาลา คือ คากริยาท่ีทาหนา้ ที่เป็นคานามจะเป็นประธาน กรรม หรือบทขยายของประโยคก็

ได้ เชน่

- "นอน" หลบั เปน็ การพักผ่อนทดี่ ี ( นอน เป็นคากริยาท่ีเป็นประธานของประโยค )

- ฉันชอบไป"เทย่ี ว"กับเธอ ( เทย่ี ว เป็นคากริยาทเี่ ปน็ กรรมของประโยค )

หน้าท่ขี องคากริยามดี ังน้ีคือ

1. ทาหนา้ ทเี่ ป็นตวั แสดงในภาคแสดงของประโยค เช่น

- ขนมวางอยบู่ นโตะ๊ - นักเรยี น [/b] อา่ น [/b] หนังสอื ทุกวนั

2. ทาหนา้ ที่ขยายคานาม เช่น

- วนั เดนิ ทางของเขาคอื วนั พรงุ่ น้ี ( "เดนิ ทาง" เป็นคากรยิ าทีไ่ ปขยายคานาม "วัน" )

3. ทาหนา้ ท่ขี ยายกริยา เช่น

- เดก็ คนนนั้ นัง่ ดนู ก ("ด"ู เปน็ คากรยิ าที่ไปขยายคากริยา "น่ัง")

4. ทาหน้าที่เหมือนคานาม เชน่

- ออกกาลังกายทกุ วนั ทาให้รา่ งกายแขง็ แรง

( "ออกกาลงั กาย" เป็นคากรยิ า ทาหนา้ ที่เปน็ ประธานของประโยค )

- เดก็ ชอบเดินเรว็ ๆ ( "เดนิ " เป็นคากรยิ า ทาหนา้ ท่เี ปน็ กรรมของประโยค )

การเรียนการสอนสปั ดาห์ท่ี 5
ใบความรทู้ ่ี 1 วชิ าภาษาไทย เรื่องชนดิ ของคา

กศน.ตาบลหาดเจา้ สาราญ
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองเพชรบุรี

4. คาวิเศษณ์ หมายถึง คาท่ีใช้ประกอบหรือขยายคานาม สรรพนาม คากรยิ า หรอื คาวเิ ศษณ์เพื่อให้ได้
ใจความชัดเจนและละเอียดมากข้นึ เชน่

- คนอ้วนกินจุ ( "อว้ น" เปน็ คาวิเศษณท์ ี่ขยายคานาม "คน" "จุ" เป็นคาวเิ ศษณ์ที่ขยายคากรยิ า "กิน )
- เขาร้องเพลงได้ไพเราะ ( "ไพเราะ" เป็นคาวิเศษณ์ทีข่ ยายคากรยิ า "ร้องเพลง" )
- เขารอ้ งเพลงได้ไพเราะมาก ( "มาก" เปน็ คาวิเศษณ์ที่ขยายคาวิเศษณ์ "ไพเราะ" )
ชนดิ ของคาวิเศษณ์ คาวิเศษณแ์ บง่ ออกเป็น 10 ชนดิ ดงั นี้
1. ลกั ษณะวเิ ศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ท่บี อกลกั ษณะตา่ งๆ เช่น บอกชนิด สี ขนาด สณั ฐาน กลน่ิ
รส บอกความรู้สกึ เชน่ ดี ชั่ว ใหญ่ ขาว รอ้ น เยน็ หอม หวาน กลม แบน เป็นต้น เชน่

- นา้ ร้อนอยใู นกระติกสขี าว
- จานใบใหญ่ราคาแพงกว่าจานใบเลก็
2. กาลวเิ ศษณ์ คอื คาวิเศษณ์บอกเวลา เชน่ เชา้ สาย บา่ ย เยน็ อดีต อนาคต เป็นตน้ เชน่
- พรงุ่ น้เี ป็นวนั เกิดของคุณแม่
- เขามาโรงเรียนสาย
3. สถานวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์บอกสถานที่ เช่น ใกล้ ไกล บน ล่าง เหนือ ใต้ ซ้าย ขวา เปน็ ตน้ เช่น
- บ้านฉันอยไู่ กลตลาด
- นกอย่บู นตน้ ไม้
4. ประมาณวิเศษณ์ คือ คาวเิ ศษณ์บอกจานวน หรือปรมิ าณ เช่น หนึ่ง สอง สาม มาก น้อย บอ่ ย
หลาย บรรดา ต่าง บ้าง เป็นตน้ เช่น
- เขามีเงนิ หา้ บาท
- เขามาหาฉันบอ่ ยๆ
5. ประตเิ ษธวเิ ศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่แสดงความปฏิเสธ หรอื ไมย่ อมรบั เชน่ ไม่ ไม่ใช่ มิ มใิ ช่
ไม่ได้ หามไิ ด้ เป็นตน้ เช่น
- เขามิได้มาคนเดยี ว
- ของน้ไี มใ่ ชข่ องฉัน ฉนั จงึ รับไวไ้ ม่ได้
6. ประตชิ ญาวเิ ศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ท่ีใช้แสดงการขานรับหรือโตต้ อบ เชน่ ครบั ขอรบั ค่ะ เปน็ ต้น เช่น
- คุณครับมีคนมาหาขอรบั
- คณุ ครูขา สวัสดคี ่ะ
7. นยิ มวิเศษณ์ คือ คาวเิ ศษณท์ ่ีบอกความชีเ้ ฉพาะ เชน่ น้ี น่นั โน่น ทั้งน้ี ทั้งน้นั แน่นอน เปน็ ต้น เช่น
- บ้านนัน้ ไมม่ ใี คราอยู่
- เขาเปน็ คนขยนั แน่ๆ
8. อนิยมวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ทีบ่ อกความไมช่ ี้เฉพาะ เชน่ ใด อน่ื ไหน อะไร ใคร ฉันใด เป็นตน้ เช่น
- เธอจะมาเวลาใดก็ได้
- คุณจะน่ังเกา้ อต้ื ัวไหนก็ได้

9. ปฤจฉาวเิ ศษณ์ คือ คาวิเศษณแ์ สดงคาถาม หรอื แสดงความสงสยั เช่น ใด ไร ไหน อะไร สง่ิ ใด ทาไม
เป็นต้น เช่น

- เสอื้ ตวั นร้ี าคาเทา่ ไร
- เขาจะมาเม่ือไร
10. ประพนั ธวเิ ศษณ์ คอื คาวเิ ศษณ์ท่ีทาหน้าที่เช่ือมคาหรอื ประโยคให้มีความเก่ยี วข้องกนั เช่นคาวา่ ที่ ซง่ึ
อัน อย่าง ท่วี า่ เพ่ือว่า ให้ เปน็ ต้น เชน่
- เขาทางานหนักเพื่อว่าเขาจะได้มีเงนิ มาก
- เขาทาความดี อัน หาที่สดุ มิได้
หนา้ ท่ขี องคาวิเศษณ์ มีดังน้ีคือ
1. ทาหนา้ ทีข่ ยายคานาม เช่น
- คนอว้ นกนิ จุ ( "อว้ น" เปน็ คาวเิ ศษณข์ ยายคานาม "คน")
- ตารวจหลายคนจบั โจรผรู้ า้ ย ("หลาย" เป็นคาวเิ ศษณ์ขยายคานาม "ตารวจ")
2. ทาหนา้ ท่ีขยายคาสรรพนาม เช่น
- เราท้งั หมดช่วยกนั ทางานให้เรียบร้อย ("ท้ังหมด" เปน็ คาวิเศษณ์ขยายคาสรรพนาม "เรา")
- ฉันเองเป็นคนพดู ( "เอง" เปน็ คาวิเศษณข์ ยายคาสรรพนาม "ฉัน")
3. ทาหน้าท่ขี ยายคากรยิ า เชน่
- คนแกเ่ ดนิ ช้า ( "ช้า" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคากริยา "เดนิ ")
- นกั กฬี าว่ายนา้ เก่ง ( "เก่ง" เป็นคาวเิ ศษณ์ขยายคากรยิ า "ว่ายน้า")
4. ทาหนา้ ที่ขยายคาวเิ ศษณ์ เชน่
- ลมพดั แรงมาก ("มาก" เป็นคาวิเศษณข์ ยายคาวเิ ศษณ์ "แรง")
- สมชายรอ้ งเพลงเพราะจรงิ ("จริง" เปน็ คาวเิ ศษณข์ ยายคาวิเศษณ์ "เพราะ")
5. ทาหน้าที่เปน็ ตวั แสดงในภาคแสดง เช่น
- เธอสูงกวา่ คนอนื่
- ขนมน้อี รอ่ ยดี

การเรียนการสอนสัปดาหท์ ี่ 5
ใบความร้ทู ี่ 1 วิชาภาษาไทย เร่อื งชนิดของคา

กศน.ตาบลหาดเจ้าสาราญ
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเมืองเพชรบรุ ี

๕. คาบพุ บท

คาบุพบท หมายถึง คาท่แี สดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างคาหรอื ประโยค เพอ่ื ให้ทราบว่าคาหรอื กลุ่มคาท่ี

ตามหลังคาบุพบทนั้นเก่ยี วข้องกบั กล่มุ คาข้างหนา้ ในประโยคในลกั ษณะใด เช่น กบั แก่ แต่ ตอ่ ดว้ ย โดย

ตาม ขา้ ง ถึง จาก ใน บน ใต้ สน้ิ สาหรบั นอก เพื่อ ของ เกือบ ตงั้ แต่ แห่ง ที่ เป็นตน้ เช่น

- เขามาแตเ่ ช้า

- บ้านของคุณนา่ อย่จู รงิ

- คณุ ครูให้รางวลั แก่ฉนั

- เขาให้รางวลั เฉพาะคนทีส่ อบได้ที่หนึง่

ชนดิ ของคาของคาบุพบท คาบุพบทแบง่ ออกเป็น ๒ ชนดิ

๑. คาบุพบทท่ีแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างคาตอ่ คา คือ ความสัมพันธ์ระหวา่ งคานามกบั คานาม คาสรรพ

นามกบั คานาม คานามกับคากริยา คาสรรพนามกับคาสรรพนาม คาสรรพนามกับคากรยิ า คากรยิ ากับ

คานาม คากริยากบั คาสรรพนาม คากรยิ ากบั คากริยา เพื่อบอกสถานการให้ชดั เจน เชน่

๑.๑ บอกสถานภาพความเป็นเจา้ ของ เช่น พ่อซื้อสวนของนายทองคา ( นามกับนาม )

๑.๒ บอกความเกย่ี วข้อง เชน่ เขาเห็นแก่กนิ ( กริยากับกริยา )

๑.๓ บอกการให้และบอกความประสงค์ เชน่ คุณครใู ห้รางวลั แก่ฉัน ( นามกบั สรรพนาม )

๑.๔ บอกเวลา เชน่ เขามาต้ังแตเ่ ช้า ( กรยิ ากับนาม )

๑.๕ บอกสถานท่ี เช่น เขามาจากตา่ งจงั หวัด ( กรยิ ากับนาม )

๑.๖ บอกความเปรียบเทยี บ เช่น พี่หนกั กว่าฉัน ( กรยิ ากบั สรรพนาม )

๒. คาบพุ บททไ่ี ม่มคี วามสัมพนั ธก์ ับคาอน่ื สว่ นมากจะอยูต่ ้นประโยค ใช้เปน็ การทกั ทาย มกั ใชใ้ นคา

ประพนั ธ์ เชน่ คาวา่ ดูกอ่ น ข้าแต่ ดกู ร คาเหลา่ นี้ใชน้ าหน้าคาสรรพนามหรือคานาม เชน่

- ดูก่อน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย

- ขา้ แตท่ า่ นทง้ั หลายโปรดฟงั ข้าพเจา้

หนา้ ท่ขี องคาบพุ บท มีดังนี้คอื

๑. ทาหน้าท่นี าหน้านาม เช่น

- หนังสือของพอ่ หาย - เขาไปกบั เพ่ือน

๒. ทาหนา้ ทีน่ าหนา้ สรรพนาม เชน่

- ปากกาของฉนั อย่ทู ี่เขา - ฉนั ชอบอยใู่ กลเ้ ธอ

๓. ทาหน้าทีน่ าหน้ากริยา เชน่

- เขากนิ เพ่ืออยู่ - เขาทางานกระทงั่ ตาย

๔. ทาหนา้ ทน่ี าหนา้ ประโยค เช่น

- เขามาตง้ั แตฉ่ นั ตน่ื นอน - เขาพูดเสยี งดงั กบั คนไข้

๕. ทาหนา้ ท่ีนาหนา้ คาวเิ ศษณ์ เชน่

- เขาตอ้ งมาหาฉันโดยเร็ว - เขาเลวสน้ิ ดี

การเรยี นการสอนสปั ดาห์ท่ี 5
ใบความรูท้ ่ี 1 วิชาภาษาไทย เรือ่ งชนิดของคา

กศน.ตาบลหาดเจ้าสาราญ
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมอื งเพชรบุรี

6. คาสันธาน หมายถงึ คาท่ใี ช้เชือ่ มประโยค หรือข้อความกบั ข้อความ เพ่ือทาให้ประโยคน้นั รัดกมุ กระชบั
และสละสลวย เชน่ คาว่า และ แลว้ จงึ แต่ หรอื เพราะ เหตุเพราะ เปน็ ต้น เช่น

- เขาอยากเรยี นหนงั สือเกง่ ๆ แตเ่ ขาไม่ชอบอ่านหนังสือ
- เขามาโรงเรียนสายเพราะฝนตกหนกั
ชนดิ ของคาสนั ธาน คาสนั ธานแบ่งเปน็ 4 ชนิด ดงั น้ี
1. คาสนั ธานทีเ่ ชอ่ื มความคล้อยตามกัน ไดแ้ ก่คาวา่ และ ทัง้ ...และ ท้ัง...ก็ คร้ัน...ก็ ครน้ั ...จึง กด็ ี เม่ือ...ก็
วา่ พอ...แล้ว เชน่
- ทัง้ พอ่ และแม่ของผมเปน็ คนใต้
- พอทาการบ้านเสร็จแล้วฉันกน็ อน
2. คาสนั ธานทีเ่ ช่อื มความขดั แยง้ กนั เชน่ คาวา่ แต่ แต่วา่ กว่า...ก็ ถึง...ก็ เปน็ ตน้ เชน่
- ผมต้องการพดู กบั เขา แต่เขาไม่ยอมพูดกบั ผม
- กวา่ เราจะเรียนจบเพือ่ นๆ กท็ างานหมดแล้ว
3. คาสนั ธานท่เี ชือ่ มข้อความใหเ้ ลือก ไดแ้ กค่ าว่า หรอื หรอื ไม่ ไม.่ ..ก็ หรือไม่ก็ ไม่เช่นน้นั มฉิ ะนัน้ ...ก็
เป็นต้น เช่น
- นกั เรียนชอบเรียนวชิ าคณิตศาสตร์หรอื ภาษาไทย
- เธอคงไปซื้อของหรือไม่ก็ไปดูหนัง
4 คาสนั ธานทเี่ ชือ่ มความท่เี ป็นเหตเุ ป็นผล ได้แกค่ าว่า เพราะ เพราะว่า ฉะนัน้ ...จึง ดังน้นั เหตเุ พราะ เหตุ
วา่ เพราะฉะนั้น...จงึ เป็นตน้ เชน่
- นกั เรียนมาโรงเรียนสายเพราะฝนตกหนกั
- เพราะวาสนาไม่ออกกาลังกายเธอจงึ อว้ นมาก
หนา้ ทีข่ องคาสนั ธาน มดี งั นค้ี อื
1. เช่อื มประโยคกับประโยต เช่น
- เขามเี งนิ มากแต่เขากห็ าความสขุ ไม่ได้
- พอ่ ทางานหนักเพื่อสง่ เสยี ให้ลูกๆ ได้เรียนหนงั สือ
- ฉนั อยากไดร้ องเท้าทร่ี าคาถกู และใช้งานได้นาน
2. เชอ่ื มคากับคาหรอื กลุ่มคา เชน่
- สมชายลาบากเมอ่ื แก่
- เธอจะสตู้ ่อไปหรือยอมแพ้
- ฉนั เห็นนายกรัฐมนตรแี ละภริยา
3. เชอ่ื มข้อความกับขอ้ ความ เชน่
- ชาวต่างชาติเข้ามาอยู่เมืองไทย เขาขยนั หมั่นเพียรไมย่ อมใหเ้ วลาผา่ นไปโดยเปล่าประโยชน์เขา
จึงร่ารวย จนเกือบจะซื้อแผ่นดินไทยได้ทั้งหมดแล้ว เพราะฉะนั้นขอให้พี่น้องชาวไทยท้ังหลายจงตื่นเถิด จงพา
กนั ขยนั ทางานทกุ ชนิดเพือ่ จะได้รกั ษาผืนแผน่ ดินของไทยไว้

การเรียนการสอนสปั ดาหท์ ่ี 5
ใบความร้ทู ี่ 1 วิชาภาษาไทย เรื่องชนดิ ของคา

กศน.ตาบลหาดเจ้าสาราญ
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเมืองเพชรบรุ ี

7. คาอุทาน หมายถึง คาทแ่ี สดงอารมณ์ของผู้พดู ในขณะที่ตกใจ ดีใจ เสียใจ ประหลาดใจ หรอื อาจจะเปน็

คาทีใ่ ชเ้ สริมคาพดู เชน่ คาว่า อุย๊ เอ๊ะ วา้ ย โธ่ อนิจจา ออ๋ เปน็ ต้น เชน่

- เฮ้อ! คอ่ ยยังชว่ั ที่เขาปลอดภยั

- เมื่อไรเธอจะตดั ผมตัดเผา้ เสียทจี ะได้ดูเรียบรอ้ ย

ชนิดของคาอุทาน คาอทุ านแบ่งเปน็ 2 ชนดิ ดงั นี้

1. คาอุทานบอกอาการ เปน็ คาอุทานท่ีแสดงอารมณ์ และความรูส้ ึกของผู้พูด เช่น

 ตกใจ ใช้คาวา่ วยุ้ วา้ ย แหม ตายจรงิ

 ประหลาดใจ ใช้คาว่า เอะ๊ หือ หา

 รับรู้ เข้าใจ ใชค้ าวา่ เออ อ้อ อ๋อ

 เจบ็ ปวด ใชค้ าว่า โอย๊ โอย อุ๊ย

 สงสาร เห็นใจ ใช้คาว่า โธ๋ โถ พทุ โธ่ อนิจจา

 ร้องเรียก ใช้คาว่า เฮย้ เฮ้ นี่

 โล่งใจ ใชค้ าว่า เฮอ เฮ้อ

 โกรธเคือง ใชค้ าว่า ชิชะ แหม

2. คาอุทานเสริมบท เปน็ คาอุทานที่ใชเ้ ป็นคาสรอ้ ยหรือคาเสรมิ บทต่างๆ คาอุทานประเภทน้บี างคาเสริมคาท่ี

ไมม่ ีความหมายเพ่ือยืดเสียงให้ยาวออกไป บางคาก็เพ่ือเน้นคาให้กระชบั หนกั แน่น เช่น

- เด๋ียวน้ีมอื ไม้ฉันมนั ส่ันไปหมด

- หนงั สอื หนงั หาเดยี๋ วนร้ี าคาแพงมาก

- พ่อแม่ไมใ่ ชห่ วั หลกั หวั ตอนะ

หนา้ ท่ขี องคาอุทาน มีดังนี้คือ

1. ทาหนา้ ทีแ่ สดงความรู้สึกของผู้พดู เชน่

- ตายจริง! ฉนั ลืมเอากระเป๋าสตางคม์ า

- โธ!่ เธอคงจะหนาวมากละซิ

- เอะ๊ ! ใครกันท่ีนาดอกไม้มาวางไวท้ ่ีโต๊ะของฉัน

2. ทาหน้าทเี่ พิ่มน้าหนักของคา ซึง่ ได้แกค่ าอุทานเสรมิ บท เช่น

- ทาเสรจ็ เสียทจี ะได้หมดเรือ่ งหมดราวกนั ไป

- เมอื่ ไรเธอจะหางงหางานทาเสยี ที

- เธอเหน็ ฉันเปน็ หัวหลกั หัวตอหรืออย่างไร

3. ทาหนา้ ท่ปี ระกอบขอ้ ความในคาประพันธ์ เชน่

- แมวเอย๋ แมวเหมยี ว

- มดเอ๋ยมดแดง

- กอ เอย๋ กอไก่

การเรียนการสอนสปั ดาห์ที่ 5
ใบงานท่ี 1 วชิ าภาษาไทย เรอื่ ง ชนิดและหน้าทข่ี องคา

กศน.ตาบลหาดเจ้าสาราญ
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองเพชรบุรี

ชือ่ – สกุล .................................................................. ระดับช้นั ...............................................
รหสั ประจาตัวนกั ศกึ ษา ...................................................... วนั /เดือน/ปี.................................
*************************************************************************

ตอนท่ี 1 : จงบอกชนิดและหน้าทข่ี องคาทข่ี ดี เสน้ ใต้เมอ่ื อยใู่ นประโยคใหถ้ ูกตอ้ ง

1. จอมขวัญปลกู กลว้ ยไม้สชี มพู
จอมขวัญ เป็น.................................................. ทาหนา้ ท่ี...............................................................................

2. แม่ซื้อหมากพลูมาฝากยาย
หมากพลู เป็น.................................................. ทาหน้าท.่ี ............................................................................

3. เสือไฟมีรปู ร่างคลา้ ยแมว
แมว เป็น...................................................... ทาหนา้ ท่.ี ................................................................................

4. เบญจพรเขียนเขยี นบทความ 1 เรอ่ื ง
เร่อื ง เป็น........................................................... ทาหน้าท.ี่ ..................................................................... .......

5. ความรกั ทาใหค้ นตาบอด
ความรกั เป็น..................................................... ทาหนา้ ท.่ี ............................................................................

ตอนท่ี 2 : พจิ ารณาคาท่ขี ีดเส้นใต้ในประโยคแล้วเติมชนดิ ของคาสรรพนามในชอ่ งวา่ งใหถ้ ูกต้อง

บุรุษสรรพนาม ประพันธสรรพนาม นิยมสรรพนาม
อนยิ มสรรพนาม วิภาคสรรพนาม ปฤจฉาสรรพนาม

1. ฉันขอคยุ กับคุณสกั ครหู่ นงึ่ ………………………………………………………………………………………..…………………….
2. ใครชอบกินผัดผกั บุ้งไฟแดงบา้ ง …………………………………………………………………………………………………………
3. นักศกึ ษาตา่ งทาหน้าท่ขี องตนเอง ....................................................................................................................
4. น่ีเปน็ ภาพวาดทีน่ ้านิดชอบมากทส่ี ุด.................................................................................................................
5. นกกระจาบเกาะก่งิ ไม้อยบู่ นโน้น .....................................................................................................................

ตอนท่ี 3 : จงใส่เครอ่ื งหมาย ( X ) หนา้ ข้อความท่ไี ม่ถกู ต้อง
และใส่เครื่องหมาย (  ) หนา้ ข้อความท่ีถกู ต้อง

(...........) 1. คาวิเศษณ์ คือ คาขยายหรอื ประกอบคาอน่ื ให้มีเน้ือความแปลกออกไป
(...........) 2. คาที่ใช้วเิ ศษณ์ประกอบได้ มคี านาม คาสรรพนาม คากรยิ า และคาวเิ ศษณ์
(...........) 3. ตาแหนง่ ของคาวเิ ศษณ์ ได้แก่ วางไว้หนา้ และหลัง
(...........) 4. มา้ ขาว คาท่ขี ดี เส้นใต้เปน็ คาวิเศษณ์ขยายคานาม
(...........) 5. เขาไปเรว็ คาที่ขีดเสน้ ใต้เป็นคาวเิ ศษณ์ขยายคาสรรพนาม
(...........) 6. ฉนั รักแม่มาก คาท่ีขดี เสน้ ใต้เปน็ คาวเิ ศษณข์ ยายคากรยิ า
(...........) 7. ทุกคนควรทาความดี คาท่ีขดี เส้นใต้เปน็ คาวิเศษณ์ขยายคาวิเศษณ์
(...........) 8. ฉนั ไมไ่ ด้กลา่ วเท็จ คาที่ขีดเสน้ ใตเ้ ปน็ คาวิเศษณ์ขยายคากริยา
(...........) 9. ทาไมเธอจงึ มาโรงเรยี นสาย คาทขี่ ดี เสน้ ใตเ้ ปน็ คาวเิ ศษณข์ ยายคากริยา
(...........) 10. เขาเป็นคนดี คาท่ีขดี เสน้ ใต้เปน็ คาวิเศษณท์ ีท่ าหนา้ ที่กริยา

ตอนที่ 4 : ให้นักศึกษาขดี เส้นใต้คาบุพบทในประโยคต่อไปนใ้ี ห้ถกู ต้อง

1. อาคมเหน็ กับตาวา่ สมพรเจาะจางรถขวัญชยั

2. เฉลิมพลวาดภาพลายเสน้ ด้วยดินสอสองบี

3. วันนลี้ กู ๆ ของสพุ รรษายอมไปโรงเรียนโดยดี

4. นงนาฎถือคติกินเพื่ออยไู่ ม่ใชอ่ ยเู่ พื่อกนิ

5. ถา้ ปราถนาจะไปเที่ยวสมุทรสงครามทางเรือต้องออกจากบ้านแตเ่ ชา้

6. เจ้าหมตู ๋นุ สนุ ขั ของสุพารตั นแ์ สนรมู้ าก

7. ท่านสนุ ทรภู่ เปน็ ยอดกวีของแห่งกรุงรตั นโกสินทร์

8. บ้านรตั นาภรณ์อย่ใู นหมู่บ้านวสิ ตา้ วิล

9. ไขป่ ลาคารเ์ วียร์จานน้ีสาหรับครูพ้งิ ค์เทา่ นนั้

10. คณุ อารีย์เขยี นบทละครเวทีใกลเ้ สร็จแล้ว

ตอนที่ 5 : จงเตมิ คาสันธารที่เหมาะสมลงในช่องวา่ ง

1. ฉนั ชวนเขาแล้ว................................เขาไมไ่ ป
2. ........................ รุง่ วภิ า ..................... บษุ าเปน็ ไข้หวัดใหญ่
3. .......................... เขาจะยากจน เขา.............................ไมโ่ กงใคร
4. ...................... เขาประมาท เขา.............ขบั รถชนเสาไฟฟ้า
5. เธอจะไปรับเงนิ เอง ....................... เธอจะมอบฉนั ทะให้ใครไปแทน


Click to View FlipBook Version