หนว่ ยท่ี 3
ครคู ัธรยี า มะลวิ ลั ย์
แผนกวิชาสตั วศาสตร์ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชิงเทรา
หน่วยท่ี 4
โรงเรอื นและอปุ กรณ์เลย้ี งไกเ่ นื้อ
หวั ข้อเรือ่ ง
1. การเลือกทาเลท่ตี ้งั ฟารม์ ไก่เน้อื
2. โรงเรือนเลี้ยงไก่เน้ือ
3. อปุ กรณเ์ ลีย้ งไก่เน้ือ
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายลกั ษณะภูมิประเทศหรือทาเลทีต่ ง้ั ฟาร์มไก่เน้ือทด่ี ไี ด้
2. สามารถจาแนกรูปแบบและชนิดของโรงเรอื นเลีย้ งไก่เน้อื ได้
3. บอกอุปกรณท์ ี่สาคญั ในการเล้ยี งไกเ่ นื้อได้
เนอ้ื หาการสอน
โรงเรือนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญประการหนึ่งในการเลี้ยงไก่ เป็นสถานท่ีท่ีเล้ียงไก่ตง้ั แต่ แรกเกิด
จนกระท่ังปลดขาย การออกแบบโรงเรือนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมจะทาให้ไก่อยู่ได้ อย่างสบาย มีการ
เจริญเติบโตตามปกติ ให้ผลผลิตดี ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตอากาศร้อนชื้น ดังนั้นจึง มีปัญหาเกี่ยวกับ
อากาศร้อน ลักษณะการจัดสร้างโรงเรือนเพ่ือเลี้ยงไก่มีอยู่หลายรูปแบบ การจะสร้างแบบใดน้ันข้ึนอยู่กับ
วัตถุประสงค์รูปแบบของการเล้ียง ความยากง่าย ทุน และวัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ในท้องถ่ินนั้นๆ ปัจจัยที่
เกยี่ วขอ้ งในการสร้างโรงเรอื นประกอบด้วย
1. การเลอื กทาเลในการกอ่ สรา้ งฟาร์มไก่เน้อื
ก่อนทเี่ ราจะลงมอื เลยี้ งไก่จาเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งหาทาเลที่เหมาะสมกับการเล้ียงไก่เนื้อ ทาเลท่ี เหมาะสม
หมายถึง เป็นสถานทท่ี ี่เอ้ืออานวยต่อการเจริญเติบโตของไก่ ลดความเส่ียง และช่วยลดตน้ ทนุ การผลิตไก่ไข่
ใหม้ ากทสี่ ุดเท่าทจ่ี ะมากได้ การเลอื กทาเลจงึ ควรคานงึ ถงึ ดงั น้ี
1) พ้ืนท่ีควรระบายน้าได้ดี ฟาร์มเล้ียงไก่น้ันควรอยู่ในท่ีสูงเพ่ือช่วยในการระบายน้าตลอดจน
ป้องกันไม่ให้น้าท่วมในฤดูฝน ท้ังนี้เพื่อให้พื้นคอกและบริเวณโรงเรือนแห้งและสะอาดอยู่เสมอ โรคระบาด
จะไดไ้ มร่ บกวน
2) มีน้าจืดเพยี งพอ การเลีย้ งไก่นนั้ จาเป็นจะต้องอาศัยนา้ จดื ที่สะอาด และจะต้องมีปริมาณมากพอ
เพือ่ ท่ีจะใช้กินและลา้ งทาความสะอาดโรงเรือนและอปุ กรณ์ต่างๆ
3) ไฟฟ้า มีความจาเป็นต่อการเล้ียงไก่ เพราะอุปกรณ์ที่จาเป็น เช่น เคร่ืองกก เคร่ืองผสมอาหาร
ตลอดจนแสงสว่างภายในโรงเรือน จาเป็นต้องอาศัยแหล่งพลังงานจากกระแสไฟฟ้า ดังน้ัน ฟาร์มไก่จึงควร
ตั้งอยู่ในทาเลทไ่ี ฟฟ้าสามารถเข้าถึง
4) การคมนาคม การท่ีฟาร์มไก่อยู่ใกล้ทางคมนาคม ทาให้เกิดความสะดวกในการเล้ียง
และการจัดการหลายอย่าง เช่น เพื่อความสะดวกในการขนส่งอาหาร ลูกไก่เนื้อ ยารักษาโรค หรือขนส่งไก่
เน้อื ออกสตู่ ลาด ถา้ สถานทต่ี ัง้ ฟาร์มอยู่ไกลจากตลาดจะทาใหก้ ารขนสง่ ลาบาก เสียคา่ ใช้จา่ ยสูง หรือสญู เสีย
น้าหนกั ตวั ในระหวา่ งการขนสง่ มาก
5) ควรอย่หู า่ งจากบ้านพกั อาศัยพอสมควร เพอ่ื ลดความเดอื ดรอ้ นหรอื รบกวนผู้อนื่
6) สถานที่นั้นควรจะไม่เคยมีโรคสัตว์ปีกระบาดมาก่อน ผู้เล้ียงจะต้องพิจารณาว่าสถานที่
ทีจ่ ะใช้เลยี้ งไกไ่ ขน่ ัน้ เคยมีโรคระบาดของไกม่ ากอ่ นหรอื ไม่
7) สถานท่ีน้ันสามารถขยายออกไปได้ หากเป็นไปได้การเลือกสถานที่ใช้เล้ียงไก่เนื้อควร
อยใู่ นทีท่ ี่อาจขยายออกไปได้ ถา้ หากกจิ การเล้ียงไก่เจริญขน้ึ
2. ลักษณะโรงเรือนทดี่ ี
การจัดสร้างโรงเรือนเลี้ยงไก่เนื้อเพื่อการค้าน้ันจาเป็นจะต้องจัดสร้างโรงเรือนให้ถูกแบบ มีความ
แข็งแรง ทนทาน และสามารถใช้เลี้ยงไก่ได้นานปี จาเป็นอย่างย่ิงท่ีผู้เล้ียงไก่เนื้อจะต้องสรา้ งโรงเรือนให้ถูก
แบบมาตรฐาน ตามสภาพแวดล้อมของประเทศไทย โรงเรือนทีด่ คี วรมลี ักษณะ ดงั น้ี
1) สามารถป้องกนั แดด ลม และฝน ไดด้ ี
2) ป้องกนั ศัตรูตา่ งๆ เช่น นก หนู แมว ได้
3) รักษาความสะอาดได้ง่าย ลกั ษณะท่ดี โี รงเรอื นควรเปน็ ลวด ไม่รกรงุ รัง นา้ ไม่ขงั
4) ควรห่างจากบ้านคนพอสมควร ไมค่ วรอยู่ทางตน้ ลมของบ้าน เพราะกลิ่นข้ีไก่อาจจะไป
รบกวน
5) ควรเปน็ แบบทีส่ รา้ งไดง้ า่ ย ราคาถกู ใช้วสั ดุกอ่ สร้างท่ีหาไดใ้ นทอ้ งถ่ิน
6) หากมีโรงเรือนไก่ไข่หลายๆ หลังการจัดสร้างไม่ควรให้เป็นเรือนแฝด แต่ควร
เว้นระยะห่างของแต่ละโรงเรือนไม่น้อยกว่า 10 เมตร ทั้งน้ี เพ่ือให้มีการระบายอากาศ และความชื้นดีข้ึน
7) ความยาวของโรงเรอื นอยูในแนวตะวันออก-ตะวนั ตก เพื่อหลีกเลี่ยงแดดร้อนจัด
3. รูปแบบของโรงเรอื นเล้ยี งไก่เน้ือ
ลักษณะการจัดสร้างโรงเรือนเพื่อเล้ียงไก่ไข่มีอยู่หลายรูปแบบ การจะสร้างแบบใดน้ันข้ึนอยู่กับ
วัตถุประสงค์รูปแบบของการเล้ียง ความยากง่าย ทุน และวัสดุอุปกรณ์ท่ีมีอยู่ในท้องถ่ินน้ันๆ แต่โดยทั่วไป
แลว้ โรงเรอื นเลยี้ งไกเ่ ทา่ ทีม่ ีการจัดสรา้ งในประเทศไทยมีรปู แบบต่างๆ กันดงั น้ี
1. แบบเพิงหมาแหงน จัดเป็นโรงเรือนที่สร้างได้ง่ายที่สุด เพราะไม่สลับซับซ้อน ลงทุนน้อย แต่มี
ข้อเสียคือ ถ้าหันหน้าของโรงเรือนเข้าในแนวทางของลมมรสุม ฝนจะกลับเข้าไปในโรงเรือนได้ โรงเรือน
แบบนี้ไมค่ ่อยมคี วามทนทานเท่าที่ควร เนอื่ งจากจะถูกฝนและแดดอยเู่ ปน็ ประจา
2. แบบเพิงหมาแหงนกลาย ลักษณะของโรงเรือนแบบนี้จะดีกวา่ แบบเพิงหมาแหงนและแบบหน้า
จ่ัว ทั้งนี้เพราะมีการระบายอากาศร้อน กันฝน กันแดดได้ดีกว่าและข้อสาคัญคือค่าก่อสร้างจะถูกกว่าแบบ
หนา้ จว่ั กลาย
3. แบบหน้าจั่ว การสร้างโรงเรือนแบบน้ีจะสร้างยากกว่าแบบแรก ทั้งน้ีเพราะต้องพิถีพิถันในการ
จัดสร้างมากข้ึน รวมถึงความประณีตด้วย ดังน้ัน ค่าวัสดุอุปกรณ์และค่าแรงงานในการก่อสร้างจึงสูงกว่า
แบบแรก แต่โรงเรือนแบบนม้ี ีขอ้ ดีคอื สามารถป้องกันแดดและฝนไดด้ ีกวา่ แบบเพิงหมาแหวน
4. แบบจั่วสองช้ัน ลักษณะของโรงเรือนแบบนี้จะสร้างได้ยากกว่าสองแบบแรก แต่มีข้อดีคือ
อากาศภายในโรงเรือนแบบนีจ้ ะเย็นกว่าสองแบบแรกมาก ท้งั น้ีเพราะจ่ัวสองช้ันจะเปน็ ทร่ี ะบายอากาศรอ้ น
ได้ดี ทาให้ไก่อย่ไู ดอ้ ยา่ งสบายโดยไมเ่ กิดความเครียด
5. แบบจ่ัวสองชั้นกลาย ลักษณะของโรงเรือนแบบนี้จะสร้างได้ยากกว่าสามแบบแรก แตม่ ีข้อดีคือ
อากาศภายในโรงเรือนแบบน้ีจะเย็นกว่าสองแบบแรกมาก ทั้งน้ีเพราะจั่วสองช้ันกลายจะเป็นท่ีระบาย
อากาศร้อนได้ดี ทาใหไ้ กอ่ ยไู่ ดอ้ ยา่ งสบายโดยไม่เกิดความเครยี ด
ภาพท่ี 4.1 ลักษณะของโรงเรอื นรปู แบบต่างๆ
4. การวางแผนผังฟาร์ม
ลักษณะของแผนผังฟาร์มสัตว์ปีกท่ีได้มาตรฐาน ได้แก่ เนื้อท่ีของฟาร์มต้องมีความเหมาะสมกับ
จานวนโรงเรือนของฟารม์ และไม่ก่อใหเ้ กิดปญั หาสง่ิ แวดล้อมและสุขภาพสตั ว์ ต้องมีการแบง่ พ้ืนที่เล้ยี งสัตว์
เป็นสัดเป็นส่วน โดยมีโรงเก็บอาหารสัตว์หรือพื้นที่เก็บอาหารเป็นสัดส่วน มีถนนภายในฟาร์ม มีอาคาร
สานักงาน ที่พักอาศัยแยกเป็นสัดส่วน มีที่จอดรถ ซึ่งต้องมีผังแสดงการจัดวาง ขนาด ระยะห่างที่แน่นอน
และต้องมีร้ัวป้องกนั สตั ว์อ่ืนเข้าออกได้
ภาพท่ี 4.2 ลักษณะการวางแผนผงั ฟารม์
แผนภาพท่ี 4.1 แสดงแผนผังองค์ประกอบหลักฟาร์มไก่ไข่แบบโรงเรือนเปดิ
ทม่ี า : กรมปศุสตั ว์ (2547)
5. ประเภทของโรงเรอื น
โรงเรือนที่นยิ มเลี้ยงสัตว์ปีก ในปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ โรงเรือนระบบเปิด (open house) และ
โรงเรือนระบบเปิด (evaporative cooling system house) โรงเรือนที่ใช้เล้ียงสัตว์ปีกจะมีลักษณะและ
ขนาดที่เหมาะสมกับจานวนของสัตว์ปีก ระยะห่างของโรงเรือนที่ถูกต้องตามมาตรฐานฟาร์ม บริเวณหน้า
ประตูของโรงเรือนต้องมอี ่างน้ายาฆา่ เชื้อโรค สาหรับจมุ่ เทา้ เวลาเข้า-ออกโรงเรือน
1) ระบบโรงเรือนเปิด (open house) เป็นโรงเรือนท่พี บโดยท่ัวไปในฟาร์มสัตว์ปีกมีลักษณะเป็น
โรงเรือนเปิดโล่งเพื่อการระบายอากาศท่ีดี กรุด้วยลวดตาข่ายทง้ั 4 ด้านเพื่อป้องกันศัตรูเช่น หนู สุนขั ฯลฯ
ด้านหน้าและดา้ นหลังอาจปิดทึบเพื่อเป็นทางเขา-ออก
แผนภาพท่ี 4.2 แสดงโรงเรอื นไกไ่ ข่แบบเปดิ ดา้ นหนา้
ทมี่ า : กรมปศุสตั ว์ (2547)
ลักษณะภายนอก ลกั ษณะภายใน
ภาพที่ 4.3 โรงเรอื นระบบเปิด
2) ระบบโรงเรือนปิด (evaporative cooling system houses) เป็นระบบการทาความเย็นใน
โรงเรือนสัตว์ปีกท่ีเหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศในประเทศไทย กาลังเป็นที่นิยมมากโรงเรือนแบบปิดน้ี
สามารถควบคุมอุณหภูมิภายในโรงเรือนได้ด้วยแผ่นรังผ้ึงและพัดลม (pad and fan cooling) โดยการ
บังคับให้อากาศเข้าไปในโรงเรือนโดยผ่านแผ่นรังผ้ึง (cooling pad) ท่ีชุ่มด้วยน้าจงึ ทาให้อุณหภูมิที่ผ่านเข้า
ไปน้ันจะลดลงและความชืน้ จะสงู ขนึ้
แผนภาพท่ี 4.3 แสดงโรงเรอื นไกไ่ ขแ่ บบปิดดา้ นหลงั
ทีม่ า : กรมปศุสัตว์ (2547)
ลักษณะภายนอก
ลักษณะภายใน
ภาพท่ี 4.4 โรงเรือนไกไ่ ขร่ ะบบปดิ
6. อุปกรณ์ทส่ี าคัญในการเลี้ยงไก่เนอื้
อุปกรณ์ในการเล้ียงไก่เนื้อมีให้เลือกใช้หลายชนิด เช่น ถาดอาหารลูกไก่และที่ให้น้าลูกไก่ ฯลฯ
การเล้ียงไก่เน้ือเป็นอาชีพหรือเพ่ือการค้าจาเป็นท่ีจะต้องมีอุปกรณ์การเลี้ยงที่จาเป็นและที่สาคัญนับตั้งแต่
ระยะของการเลี้ยง ดังนี้
1) อปุ กรณ์การให้อาหาร มีอยูห่ ลายแบบแตท่ ี่นิยมใช้กนั มากมี 4 ชนิด ดังน้ี
(1) ถาดอาหาร ขนาด 48 x 72 x 6.5 เซนติเมตร (กว้าง x ยาว x สูง) จานวน 1 ถาด
ใช้กบั ลกู ไก่อายุ 1-7 วันไดจ้ านวน 100 ตวั วางไวใ้ ตเ้ คร่อื งกก เพื่อหัดไก่กนิ อาหารเปน็ เร็วขึน้
ภาพที่ 4.5 ถาดให้อาหารไก่เลก็
ภาพที่ 4.6 ถาดใหอ้ าหารไก่เล็กอตั โนมตั ิ
(2) รางอาหาร รางอาหารทาดว้ ยไม้ สังกะสีเอสล่อนหรือพลาสติกทาเป็นรางยาวให้ไก่ยืน
กินได้ข้างเดยี วหรือสองขา้ ง ท่มี จี าหน่ายโดยทว่ั ไปมี 2 ขนาดคอื ขนาดเล็กสาหรับลูกไก่และขนาดใหญ่ใชก้ ับ
ไกอ่ ายุประมาณ 2 สัปดาห์ขึ้นไป นอกจากน้รี างอาหารอาจทาจากปล้องไมไ้ ผท่ ี่มขี นาดใหญก่ ็ได้
ภาพที่ 4.7 รางอาหารไก่เล็ก
(3) ถังอาหาร ถังอาหารไก่ทาด้วยเอสล่อนหรือพลาสติก เป็นแบบถังแขวนมีขนาดเดียว
เป็นมาตรฐาน มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 น้ิว มีเส้นรอบวงประมาณ 50 นิ้ว หลังจากลูกไกอ่ ายุได้ 15 วัน
อาจใช้ถังอาหารแบบแขวนได้ และให้อาหารด้วยถังตลอดไป การให้อาหารด้วยการใช้ถังแขวนนี้ ต้องปรับ
ให้อยู่ในระดับเดียวกับหลังไก่หรือต่ากว่าหลังไก่เล็กน้อย อาหารจะไหลลงจานล่างได้โดยอัตโนมตั ิ และควร
เขย่าถังบ่อยๆ เพ่ือไม่ให้อาหารติดค้างอยู่ภายในถัง สาหรับจานวนถังสาหรับถังที่ใช้จะแตกต่างไปตามอายุ
ของไก่
ภาพท่ี 4.8 ถังอาหาร
ภาพที่ 4.9 ถังอาหารอัตโนมัติ
(4) รางอาหารแบบอัตโนมัติ โรงเรอื นขนาดกวา้ งประมาณ 10-12 เมตร ใช้รางอัตโนมัติ 2
แถว แล้วเพม่ิ ถังอาหารแบบแขวนจานวน 6-8 ถัง ตอ่ ไก่จานวน 1000 ตัว แต่ถ้าโรงเรือนทมี่ ีความกวา้ งเกิน
12 เมตร ควรตง้ั รางอาหารเกิน 4 แถว
ภาพที่ 4.10 รางอาหารอัตโนมตั ิ
2) อุปกรณ์ให้น้า อุปกรณ์ให้น้าไก่จะแตกต่างกันไปตามช่วงอายุของไก่ อุปกรณ์ให้น้าท่ีนิยม
มอี ยู่ 3 แบบ ดังน้ี
(1) แบบรางยาว รางน้าอาจทาด้วยสงั กะสี พลาสติกหรือเอสล่อน การเลย้ี งลูกไก่อายุ 1-3
สัปดาห์ ถ้าใช้รางน้าท่ีเข้าไปกินได้ด้านเดียว ควรใช้รางยาว 2-2.5 ฟุตต่อลูกไก่ 100 ตัว สาหรับไก่อายุ 3
สัปดาห์ขึ้นไปให้เพิ่มอีก 3 เท่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูร้อนควรเพิ่มข้ึนอีก สาหรับไก่ในระยะไข่ควรให้มี
เนอื้ ท่รี างประมาณ 1 นว้ิ ตอ่ ไก่ 1 ตวั
ภาพที่ 4.11 รางนา้ ที่ทาจากสังกะสี
(2) แบบขวดมีฝาครอบ เป็นภาชนะให้น้าท่ีนิยมใช้กันมากเพราะใช้สะดวกมีขายอยู่ท่ัวไป
มหี ลายขนาด เช่น ถังให้น้าขนาด 1 ลิตร 4 ลิตร 8 ลิตร ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับอายุของไก สาหรับถัง
น้าลูกไกมีลักษณะพิเศษคือฐานที่รองรับน้าจะมีขอบสงเพ่ือป้องกันลูกไกลงไปเล่นน้า เลี้ยงลูกไก่ในระยะ 1-
2 สัปดาห์แรกใช้ขวดน้าขนาดบรรจุ 2 แกลลอน ในอัตราส่วน 2 ใบ ต่อลูกไก่ 100 ตัว เม่ือไก่อายุ 3-6
สัปดาห์ ใช้ขวดน้าขนาดบรรจุ 2 แกลลอน ควรใช้ 2 ใบต่อลูกไก่ 100 ตวั
ภาพท่ี 4.12 ท่ีใหน้ ้าแบบขวดมฝี าครอบ
(3) ที่ให้นา้ อตั โนมัติ มี 2 ชนดิ คอื แบบถังแขวน จะมีวาลวสามารถปรับจานวนนา้ ไดตาม
ความเหมาะสมของขนาด และจานวนไก และแบบหยด (นิ๊ปเปิล)
ภาพท่ี 4.13 ทีใ่ หน้ ้าอัตโนมัตแิ บบถังแขวน ภาพท่ี 4.14 ทีใ่ หน้ ้าอัตโนมตั ิแบบแบบหยด (นิ๊ปเปลิ )
3) เคร่ืองกกลูกไก่ เคร่ืองกกลูกไก่เป็นอุปกรณ์ท่ีมีความสาคัญมากในการเลี้ยงลูกไก่ ทาหน้าท่ีให้
ความอบอนุ่ แทนแมไ่ กใ่ นขณะที่ลกู ไกย่ ังเล็กอยู่ซ่งึ มีหลายแบบ ดงั น้ี
(1) เครื่องกกไฟฟ้าแบบฝาชี เป็นเครื่องกกท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายกว่าเครื่องกกแบบ
อื่น มีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน ส่วนมากมีรูปร่างกลมหรือเป็นเหล่ียม ทาด้วยโลหะช่วยให้สะท้อนลงสู่
พ้ืนกก ขนาดของกกแบบฝาชีโดยท่ัวไปมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5-2 เมตร สามารถกกลูกไก่ได้
ประมาณ 500 ตัว เครื่องกกแบบฝาชีอาจจะเป็นห้อยแขวนกับเพดานสามารถปรับให้สูงต่าได้ตามความ
ต้องการ เม่ือไม่ต้องการใช้ก็สามารถดึงข้ึนเก็บไว้หรืออาจเป็นแบบมีขาวางกับพ้ืนคอกที่สามารถปรับให้สูง
ต่าได้ และยกออกจากบริเวณกกเมือ่ ไม่ต้องการใช้ เคร่ืองกกแบบนี้ส่วนมากจะใช้ไฟฟ้า น้ามันหรือแก๊ส เป็น
แหล่งให้ความรอ้ น
ภาพท่ี 4.15 เครอื่ งกกแบบฝาชีแผงลอ้ มไม้ไผ่ ภาพที่ 4.16 เคร่ืองกกแบบฝาชแี ผงลอ้ มสังกะสี
ภาพท่ี 4.17 เคร่อื งกกฝาชีแบบใช้ขดลวดไฟฟา้
(2) เครื่องกกไฟฟ้าแบบหลอดอินฟราเรด การกกด้วยเครื่องกกแบบนี้โดยใช้หลอดไฟ
อินฟราเรด ซ่ึงหลอดไฟอินฟราเรดขนาด 250 วัตต์ 1 หลอดแขวนไว้เหนือพื้นดินประมาณ 45.60
เซนติเมตร จะสามารถกกลูกไก่ได้ประมาณ 60-100 ตัว แต่โดยท่ัวไปแล้วจะใช้หลอดอินฟราเรด จานวน
4 หลอดต่อกก ความร้อนท่ีได้จากหลอดไฟจะมาช่วยให้อากาศรอบๆ อุ่น แต่จะให้ความอบอุ่นโดยตรงแก่
ลูกไก่
ภาพท่ี 4.18 เครื่องกกแบบหลอดอินฟราเรด
(3) เคร่ืองกกแก๊ส ในฟาร์มท่ีเลี้ยงไกเป็นการค้าปัจจุบันนิยมใช้เคร่ืองกกแบบกกแกส
เน่ืองจากสามารถกกลูกไก่ได้จานวนมาก ๆ และไมมีปัญหาเรื่องไฟฟ้าดับ นอกจากน้ีการกกอาจเป็นแบบ
ปลอ่ ยความร้อนออกมากระจายไปท่ัวท้งั คอก
ภาพท่ี 4.19 เครอื่ งกกแกส๊ อินฟราเรด
ภาพที่ 4.20 เครอ่ื งกกแกส็ แบบโบลว์เวอร์
4) อุปกรณเ์ ล้ยี งไก่เนอื้ อืน่ ๆ
(1) วสั ดุรองพ้ืน วสั ดทุ ี่ใชร้ องพ้ืนคอกเลี้ยงไก่ควรหาได้งา่ ยในท้องถ่ิน ราคาถูก และเมอื่ เลิก
ใช้แล้วสามรถนาไปใช้เป็นปุ๋ยได้อย่างดี วัสดุรองพ้ืนที่เหมาะสาหรับใช้ในประเทศไทยและนิยมใช้กันท่ัวไป
ได้แก่ แกลบ ข้ีกบ ข้ีเล่ือย ชานอ้อย ฟางข้าว ซังขา้ วโพด ต้นขา้ วโพด เปลือกฝ้าย เปลือกถ่ัวลสิ ง เปลือกไม้
และทราย ถา้ ใช้แกลบควรมีฟางโรยหน้าบางๆ เพอ่ื ป้องกนั ไกค่ ยุ้ แกลบลงไปในรางนา้ และรางอาหาร
ภาพที่ 4.21 วัสดรุ องพื้น (แกลบดบิ )
(2) อุปกรณ์การให้แสง เน่ืองจากแสงสวา่ งมีความจาเปน็ ต่อการมองเห็นของไก่ ไมว่ า่ เวลา
กนิ อาหาร กนิ น้า หรอื อน่ื ๆ นอกจากน้ีแสงยงั มีความสาคัญตอ่ การให้ไข่ของไก่ ดังนนั้ ภายในโรงเรอื นจะต้อง
มีอปุ กรณ์การใหแ้ สงสว่างอย่างเพยี งพอ โดยท่วั ไปนิยมตดิ ตั้งหลอดไฟ หลอดไฟทนี่ ยิ มใช้กนั มากคอื หลอด
กลมธรรมดา และหลอดฟลูออเรสเซ็นตห์ รอื หลอดนอี อน
ภาพที่ 4.22 อปุ กรณ์การใหแ้ สงสว่าง
(3) ผ้าม่าน ในระยะกกลูกไก่รอบๆ คอกมีผ้าม่านไว้เพ่ือป้องกันลมพัดแรงโดยเฉพาะ
ในช่วงฤดูหนาว การปิดผ้าม่านจะทาให้อุณหภูมิภายในโรงเรือนและอุณหภูมิใต้เครื่องกกอยู่ในสภาพที่
ค่อนข้างคงที่ไม่เปล่ียนแปลงขึ้นลงอย่างรวดเร็ว สาหรับการกกลูกไก่ในฤดูร้อนควรเปิดม่านขึ้นเล็กน้อยใน
เวลากลางวนั เพอ่ื ใหล้ มพดผ่านภายในโรงเรอื น และปดิ ม่านในตอนเยน็
ภาพที่ 4.23 ผ้าม่านโรงเรอื นระบบปิด
ภาพที่ 4.24 ผ้าม่านโรงเรือนระบบเปิด
(4) เคร่อื งฉีดนา้ แรงดันใชใ้ นการลา้ งทาความ สะอาดโรงเรือนและใชพ้ น่ ยาฆ่าเช้อื
ภาพที่ 4.25 เครอ่ื งฉดี น้าแรงดัน
ภาพท่ี 4.26 ไมก้ วาด ภาพที่ 4.27 พล่วั