หนว่ ยท่ี 2
ปจั จยั พืน้ ฐานทส่ี าคญั
และการวางแผนการผลติ ไกเ่ นอ้ื
ครูคธั รยี า มะลวิ ลั ย์
แผนกวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ฉะเชิงเทรา
หน่วยท่ี 2
ปัจจยั พนื้ ฐานท่ีสาคัญและการวางแผนการผลิตไก่เนอื้
หัวข้อเรือ่ ง
1. ปจั จยั พนื้ ฐานที่สาคัญในการผลติ ไก่เนอ้ื
2. การวางแผนการผลติ ไก่เน้ือเชงิ ธรุ กิจ
จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกปัจจยั พน้ื ฐานทส่ี าคัญในการผลติ ไกเ่ นอ้ื ได้
2. วิเคราะห์ข้อมลู และวางแผนการผลิตไกเ่ นื้อเชิงธุรกิจได้
เนื้อหาการสอน
ปัจจัยพ้ืนฐานในการผลิตไก่เนื้อ ได้แก่ ลูกไก่เนื้อ อาหาร เวชภัณฑ์ โรงเรือนและอุปกรณ์ต่างๆ
ผูเ้ ลี้ยงไกเ่ น้ือ จะต้องมคี วามร้แู ละความเข้าใจในการเลือกใช้ปจั จยั พื้นฐานเหล่านี้ให้สอดคล้องและเหมาะสม
กับการผลติ ไกเ่ น้อื ของตนเอง และเปน็ การเตรียมความพร้อมสาหรับการวางแผนการผลติ ไก่เน้ือตอ่ ไป
1. ปัจจัยพน้ื ฐานที่สาคัญในการผลติ ไกเ่ น้ือ
1.1 พันธุ์ไก่เนอื้
พันธุ์ไก่เน้ือนับเป็นปัจจัยที่สาคัญในการผลิตไก่เน้ือ พันธ์ุไก่เนื้อแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
ไก่เน้ือพันธุ์แท้และไก่เน้ือลูกผสม ผู้เลี้ยงไก่เนื้อจะต้องมีความรู้และความเข้าใจในลักษณะประจาพันธุ์
เพื่อท่ีจะสามารถเลือกพนั ธ์ุไกเ่ นื้อมาเล้ยี งไดอ้ ย่างเหมาะสม
1) ไกเ่ นอื้ พนั ธุ์แท้ (pure breed) คือ ไกเ่ นื้อทไี่ ดร้ ับการคัดเลือกและปรบั ปรุงพันธ์ุมาอยา่ ง
ต่อเน่ืองและมีลักษณะประจาพันธ์ุที่คงที่ โดยไก่เนื้อในรุ่นลูกหลานจะมีลักษณะเช่นเดียวกับรุ่นพ่อและแม่
พันธุ์
2) ไก่เน้ือลูกผสม (hybrid breed) คือ ไก่เน้ือท่ีได้รับการปรับปรุงพันธุ์ให้มีประสิทธิภาพ
การผลิตท่ีสูงข้ึนมากกว่ารุ่นพ่อแม่พันธุ์ ไก่เน้ือลูกผสมเกิดจากการนาเอาไก่เน้ือรุ่นพ่อพันธ์ุและแม่พันธุ์แท้
ตั้งแต่สองพันธุ์มาผสมร่วมกัน ซึ่งลักษณะที่แสดงออกของพันธุกรรมที่ได้ในรุ่นลูกนี้ อาจจะมีลักษณะที่
เหมือนหรือแตกต่างจากรุ่นพ่อแม่พันธุ์ได้ แต่โดยปกติรุ่นลูกผสมที่เกิดข้ึนจะได้ลักษณะที่ดีจากพ่อและแม่
พันธ์ุรวมกัน รวมทั้งมีลักษณะท่ีแตกต่างโดด เด่นกว่ารุ่นพ่อแม่พันธุ์ ลักษณะดังกล่าวน้ี เรียกว่า Hybrid
vigor
1.2 อาหารและเวชภณั ฑ์ไก่เน้ือ
ปจั จัยด้านอาหารและเวชภณั ฑ์ไก่เนื้อ มีความจาเป็นท่ีผู้เลยี้ งตอ้ งให้ความสาคัญมาก เนื่องจากมผี ล
ต่อ ต้นทุนการผลิตและสุขภาพของไก่เน้ือที่เล้ียง เม่ือไก่เนื้อได้รับอาหารที่ดี มีคุณค่าทางโภชนะเหมาะสม
รว่ มกับมีการจดั การด้านเวชภัณฑท์ ี่ถูกต้องก็จะทาให้ไก่เน้ือมีการเจริญเติบโตได้อย่างปกตแิ ละให้ผลผลิตท่ดี ี
อาหารจะต้องมีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วนตามความต้องการของไก่เนื้อในระยะ ต่างๆ และตรงกับ
ลักษณะการให้ผลผลิตของไกเ่ นอื้ อาหารนับเปน็ ต้นทนุ หลักในการผลิตสัตว์ ดังนั้นผู้เลี้ยงไก่เนื้อจึงต้องควร
คานึงถึงคุณภาพของอาหาร โดยจัดหาอาหารท่ีมีคุณภาพเหมาะสมท้ังปริมาณและคุณภาพ เมื่อสัตว์กิน
แล้วสามารถให้ผลิตได้เป็นอย่างดี ใช้ระยะเวลาการเล้ียงส้ันรวมทั้งมีต้นทุนในการผลิตต่าและให้ผลกาไรสูง
นอกจากน้ีความปลอดภยั และความสะอาดของอาหารกเ็ ป็นส่ิงจาเป็นท่ีต้องคานงึ ถงึ เพราะการปนเป้ือนของ
จุลินทรีย์ที่มากับอาหารย่อมส่งผลต่อการให้ผลผลิตของสัตว์ด้วยเช่นกัน อาหารไก่เนื้อแบ่งออกเป็น 2
ประเภท ใหญ่ๆ คือ อาหารสาเร็จรูปหรืออาหารผสมเสร็จ (complete ration feeding) และอาหารผสม
เองโดยผู้เลี้ยงไก่เน้ือควรจะเลือกใช้อาหารแต่ละประเภทให้เหมาะสมตามการจัดการเลี้ยงของแต่ละฟาร์ม
เวชภัณฑ์และชีวภัณฑ์ไก่เน้ือ การจัดเตรียมด้านเวชภัณฑ์และชีวภัณฑ์สาหรับไก่เน้ือมีความสาคัญต่อ
ประสิทธิภาพการผลิตไกเ่ นื้อเช่นเดียวกับการเลือกพันธ์ุไก่เน้อื และการจดั การด้านอาหารไก่เนื้อ เพราะการ
เกดิ โรคในไก่เน้ือมีผลตอ่ การกินอาหาร การเจริญเตบิ โตและการให้ผลผลิตของไกเ่ นือ้
- เวชภัณฑ์ หมายถึง ยา วัสดุ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆ ท่ีใช้เพื่อใช้ในการรักษา
สัตว์ป่วย เช่น ยาสัตว์ และยาฆ่าเช้ือ เป็นต้น ผู้เล้ียงจาเป็นต้องมีการจัดเตรียมเวชภัณฑ์ท่ีต้องใช้ในฟาร์ม
ไก่เนื้อ และต้องมีการเก็บรักษาและการจัดการที่ดีทั้งในเร่ืองของอุณหภมู ิทจี่ ัดเก็บ บรรจุภณั ฑ์และวันเดือน
ปีที่ผลิต เพราะมีผลต่อประสิทธิภาพของเวชภัณฑ์และการจัดเก็บท่ีไม่ เหมาะสมจะส่งผลให้เวชภัณฑ์
เสอื่ มสภาพได้
- ชีวภัณฑ์ หมายถึง วัคซีน ท่ีใช้ในการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่สัตว์ไก่เน้ือ เป็นวิธีในการ
ป้องกันก่อนเกิดโรค มิใช่ยาท่ีรักษาเมื่อเป็นโรคแล้ว โดยการท่ีจะป้องกันโรคต่างๆ ของไก่เน้ือได้น้ัน
จาเป็นต้องมีการจัดการฟาร์มท่ีดีร่วมด้วย ได้แก่ มีมาตรการในการป้องกันควบคุมโรคที่อาจจะเข้าสู่ฟาร์ม
โดยคน พาหนะและอุปกรณ์ต่างๆ และมีการจัดการของเสียท่ีเกิดจากในฟาร์ม ได้แก่ ขยะ มูลไก่ และวัสดุ
รองพ้ืน อย่างเหมาะสม เพ่ือเป็นการปอ้ งกนั การสะสมและการแพร่ ของเชื้อโรค อยา่ งไรก็ตามผู้เลย้ี งจะตอ้ ง
มีแผนการป้องกนั โรคและการบาบัดโรคตามคาแนะนาของสัตวแพทย์ผูค้ วบคมุ ฟารม์ ไก่เนือ้ อยา่ งเครง่ ครัด
1.3 โรงเรือนและอปุ กรณ์
ประเทศไทยมีสภาพภูมิอากาศแบบร้อนช้ืน ประกอบกับการเล้ียงไก่เน้ือจะมีลักษณะการเล้ียงที่
ต้องเล้ียงสัตว์จานวนมากภายในโรงเรือน ดังนั้นการสร้างโรงเรือนสา หรับไก่เน้ือจึงต้องคานึงถึง
สภาพแวดล้อมของพื้นที่ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และส่ิงสาคัญคือ การระบายอากาศท่ีดีเพื่อให้มีการ
หมุนเวียนและถ่ายเทอากาศอย่างเหมาะสม ภายในโรงเรือนควรจะมีอุปกรณ์และวัสดุสาหรับการเลี้ยง
ไก่เน้อื ท่จี าเปน็ ไดแ้ ก่ อุปกรณก์ ารให้น้า อุปกรณ์การให้ อาหาร อุปกรณ์กกลกู ไก่ และวัสดุรองพนื้
นอกจากโรงเรือนเลี้ยงไก่เน้ือแล้วสาหรับฟาร์มไก่เน้ือท่ีมีการเล้ียงไก่เนื้อพ่อแม่พันธ์ุก็จะมีโรงฟัก
สาหรับการฟักไข่ท่ีผลิตในฟาร์ม ซ่ึงต้องมีการจัดเตรียมรูปแบบและขนาดของโรงฟักให้เหมาะสมกับการ
ผลิต มีการวางแผนผังของโรงฟักให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างสะดวก รวมท้ังมีการจัดเตรียมอุปกรณ์
สาหรับโรงฟักไข่ที่สาคัญ ได้แก่ ตู้ฟักไข่และตู้เกิด ซึ่งในปัจจุบันมีการผลิตตู้ฟักไข่และตู้เกิดหลายย่ีห้อ
ผู้ใช้งานสามารถเลือกซ้ือได้ตามความเหมาะสมของพื้นท่ีใช้งาน จานวนไข่ท่ีฟักและต้นทุนที่มีอยู่ ท้ังน้ีควร
เลอื กต้ฟู กั ทีส่ ามารถใชง้ านได้อย่างสะดวก มีความแขง็ แรง และมบี ริการหลังการขายที่ดี
2. การวางแผนการผลิตไก่เน้อื เชิงธรุ กจิ
การวางแผนการผลิตเป็นการวางโครงการไว้ล่วงหน้าโดยการคาดการณ์วา่ ในอนาคตจะทาการผลิต
อะไรโดยใช้พ้ืนท่ีการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพเท่าใดและจะมีปริมาณการผลิตที่จะออกมาเท่าใดเพื่อ ให้
สอดคล้องกับภาวะตลาด เมื่อดาเนินการผลิตตามขั้นตอนท่ีวางไว้แล้วก็ต้องมีการติดตามผลผลิตท่ีได้ว่า
เป็นไป ตามแผนที่กาหนดไว้หรือไม่ ตลอดจนมีการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการ
แกป้ ญั หาและวางแผนการจัดการฝูงสตั ว์ร่นุ ต่อไปเพอื่ ให้การเลยี้ งและการผลติ มปี ระสิทธิภาพยิ่งขึ้น
การวางแผนการเลี้ยงไก่เนื้อ ผู้เลี้ยงสัตว์จะต้องพิจารณาหลักการวางแผนและวัตถุประสงค์
ของการวางแผนเพ่ือจะใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการ นอกจากน้ีผู้เล้ียงต้องพิจารณาถึงปัจจัย
ในการวางแผน ได้แก่ ตลาด ทุน ปัจจัยพ้ืนฐานต่างๆ เช่น การเลือกสถานที่ตั้งฟาร์ม การจัดวางผังฟาร์ม
รูปแบบโรงเรือนและอุปกรณ์ พันธ์ุไก่เน้ือ อาหาร เวชภัณฑ์ และแรงงาน รวมท้ังการจัดการส่ิงแวดล้อม
ภายในฟารม์ การทาประชาพิจารณ์และความรู้ในการเล้ยี งไก่เนื้อ
2.1 วตั ถุประสงคข์ องการเขียนโครงการ
1) เพ่อื จดั ทางบประมาณการเงนิ ข้อมูลตา่ ง ๆ ท่ีมีในโครงการผลติ ท่ีวางไว้จะเป็นแนวทาง
ประกอบการทางบประมาณทางการเงินของกิจการ
2) เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการโครงการผลิตซึ่งสามารถบอกระยะเวลาของการทา
กิจการ เช่น การเตรียมโรงเรือน การพกั เล้า ระยะเวลาของการเลีย้ งและลกั ษณะของการนาไก่เข้าเลี้ยงและ
ปลดไกข่ าย ฉะนั้นการจัดการฝงู ไกแ่ ตล่ ะฝูงสามารถจะวางแผนได้ในระยะยาว
3) เป็นเป้าหมายให้ผู้ปฏิบัติงานยึดถือ โครงการผลิตจะบอกถึงประสิทธิภาพการผลิต
รวมทั้ง รายละเอียดอื่น ๆ เช่น จานวนไก่ท่ีจาเลี้ยง ชนิดอาหารและปริมาณอาหารท่ีจะต้องใช้ ปริมาณยา
เวชภณั ฑ์ และวัคซนี ท่จี ะต้องใช้ ซง่ึ ผู้ปฏบิ ัตงิ านสามารถยดึ ถอื เปน็ แนวทางในการทางานได้
4) เป็นแนวทางในการจัดการสาหรับฝ่ายขายผลผลิต เช่น ไก่มีชีวิตประกอบด้วย จานวน
น้าหนักตัวเฉลี่ย ตัวเลขการผลิตที่คานวณได้ตามโครงการผลิตจะช่วยให้ ฝ่ายขายทราบถึงกาลังการผลิต
และสามารถหาลกู ค้าได้อยา่ งเหมาะสม
5) เป็นแนวทางสาหรบั การจดั เตรียมไก่ชุดใหมเ่ ขา้ ทดแทนและการหาตลาดจาหน่าย
2.2 หลักการและปัจจยั ท่ีใช้ในการวางแผนการเลี้ยงไก่เนื้อ
ในการเร่ิมต้นเล้ียงไก่เนื้อ ผู้เลี้ยงจะต้องมีการวางแผนการเล้ียงไก่เนื้อเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการ
ผลิตมแี ผนการเลี้ยงไก่เน้อื ที่ชัดเจนโดยคานงึ ถงึ ปัจจัยด้านต่างๆ ทง้ั ปัจจยั ภายในและปัจจัยภายนอกฟาร์มที่
เกี่ยวขอ้ ง เพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการเล้ยี งไกเ่ นอ้ื ให้มปี ระสิทธิภาพและป้องกนั ความผิดพลาดทีอ่ าจจะเกดิ ขึ้น
ได้ การทาแผนการเล้ียงไก่เน้ือผู้เลี้ยงจะต้องมีหลักการสาหรับการวางแผนในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
เลยี้ งไกเ่ น้อื โดยทว่ั ไปผู้เลย้ี งควรพิจารณาหลกั การท่ีสาคญั ดังนี้
1) ความต้องการของตลาดและความสม่าเสมอของผลผลิตในแต่ละรอบการผลิต เพื่อใช้เป็น
แนวทางในการวางแผนการเลย้ี งไกเ่ นื้อให้สอดคล้องกบั ความต้องการของตลาด
2) สถานท่ีตั้งฟาร์มและโรงฟัก ต้องเลือกโดยคานึงถึงด้านการป้องกันโรคและการขนส่ง
ร่วมดว้ ย
3) ประเภทของไก่เนื้อที่ต้องการเลี้ยง เพื่อจะได้จัดเตรียมปัจจัยต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการ
เล้ยี งไกเ่ นื้อชนดิ นัน้ ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
4) ลกู ไกเ่ นือ้ ที่นามาเลย้ี งต้องมีคณุ ภาพและทราบแหล่งท่ีมา
5) การแบ่งพ้ืนที่ในการเลี้ยงไก่เนื้อให้มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด โดยไม่มีพื้นท่ีว่างหรือใช้
พ้ืนทม่ี ากจนเกินไป ทัง้ ในส่วนของพ้นื ทกี่ ารฟกั และพื้นที่ของโรงเรือนเลีย้ งไกเ่ น้ือ
6) ต้องใช้ข้อมูลที่ถูกต้อง น่าเช่ือถือและมีความแม่นยามาใช้ในการวางแผนเล้ียงไก่เนื้อ
เช่น ข้อมูลการเล้ียงไก่เนื้อ และขอ้ มูลการตลาดไก่เนือ้ เป็นต้น เพื่อป้องกันความผิดพลาดท่จี ะเกิดขึ้นทั้งใน
ด้านการผลิตและการตลาด ท้ังนี้ในการวางแผนการผลิตไก่เน้ือ ผู้เลี้ยงจะต้องคานึงถึงปัจจัยต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการผลิตไก่เน้ือท่ีสาคัญ ได้แก่ ตลาด ทุนในการดาเนินการ และปัจจัยพ้ืนฐานต่างๆ เช่น การ
เลือกสถานท่ีต้ังฟาร์ม การจัดวางผังฟาร์ม พันธ์ุสัตว์ อาหาร เวชภัณฑ์ แรงงาน การจัดการสิ่งแวดล้อม
ภายในฟาร์ม การทาประชาพิจารณ์ในพื้นทๆี่ จะทาฟาร์ม รวมทั้งความรู้และประสบการณ์ของผู้ท่ีต้องการ
ทาฟารม์ ไกเ่ นอื้ ดว้ ย เพราะมีผลต่อประสทิ ธภิ าพการผลติ และความสาเร็จในการเลยี้ งไกเ่ น้อื
การวางแผนการเล้ียงไก่เน้ือจาเป็นต้องมีการวางแผนเป็นลาดับข้ันตอนท่ีชัดเจน เพื่อผู้เลี้ยงจะ
สามารถใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติได้ ซึ่งจะทาใหม้ องเหน็ ภาพรวมของการวางแผนและคาดการณ์ผลลัพธ์
ท่ีจะเกิดขึ้น รวมท้ังหากพบความผิดพลาดระหว่างการดาเนินการตามแผนการผลิต ผู้เล้ียงสามารถท่ีจะ
ย้อนกลับเพื่อตรวจสอบความผิดพลาดได้ว่าเกิดจากสาเหตุใด ขั้นตอนในการวางแผนการเล้ียงไก่เนื้อ
ประกอบดว้ ยขน้ั ตอนหลักๆ ไดแ้ ก่
1) การวางโครงการเล้ียงหรือการผลิตล่วงหน้า เพ่ือเป็นแผนอนาคตว่าต้องการผลิต
อะไร โดยพิจารณาจากพื้นที่ๆ มีอยู่ โดยต้องวางโครงการเล้ียงไก่เน้ือให้สามารถใช้พ้ืนที่ๆ มีอยู่ให้มี
ประสิทธิภาพมากท่สี ุด รวมทั้งได้ปริมาณผลผลิตท่ีเหมาะสมกับการผลิตและตลาดที่รองรับผลผลิตนั้นๆ ใน
ขัน้ ตอนน้ี ผเู้ ล้ยี งจะต้องวางแผนในดา้ นพนั ธ์สุ ัตว์ และจานวนสตั ว์ท่ีจะนามาเลี้ยง, การสรา้ งฟารม์ , การสรา้ ง
โรงเรอื น, การเลือกอาหารสาหรับไก่เน้อื , การจดั โปรแกรมยาและวัคซีน และการวางแผนด้านการจาหน่าย
ผลผลิต ซ่ึงผู้เลี้ยงจาต้องทราบข้อมูลสาหรับใช้ในการวางแผนการผลิตไก่เนื้อ โดยข้อมูลที่นามาใช้จะต้อง
เป็นขอ้ มลู ทถี่ กู ต้องและเชื่อถือได้ ข้อมลู ทตี่ อ้ งใชใ้ นการวางแผนการผลติ ไกเ่ นอ้ื มีดังนี้
- จานวนพื้นที่สาหรับเลี้ยงไก่เน้ือ เช่น จานวนไก่เนื้อที่สามารถเลี้ยงได้ในพื้นที่ 1 ตาราง
เมตร
- ข้อมูลของฝูงไกเ่ นอื้ ทีเ่ คยอยู่ในฟารม์ กรณีฟาร์มท่เี คยเล้ียงไก่เน้ือมาแลว้ อาจจะใช้ข้อมูล
เดมิ เพอื่ ชว่ ยในการวางแผน
- รอบการผลิตหรอื ระยะเวลาท่ีตอ้ งใชใ้ นการเลีย้ งไกเ่ นอื้ 1 รอบการผลิต ได้แก่ ระยะเวลา
การเล้ียงไกเ่ นือ้ และระยะเวลาในการพักโรงเรอื น หลังจากส้ินสุดการเลีย้ งในแต่ละรอบการผลติ ซึง่ ปกตจิ ะ
ใช้เวลาพักประมาณ 14-21 วัน ท้ังน้ี ข้ึนอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น โรคระบาด และฤดูกาลในช่วงเวลานั้นๆ
- มาตรฐานการเลยี้ งไกเ่ น้อื ตอ่ พืน้ ที่ในการเล้ียง
- การประมาณการณ์ผลผลิตท่คี าดว่าจะผลิตได้ว่าจะมีค่าเป็นเทา่ ไรของค่ามาตรฐานของไก่เน้ือแต่
ละพันธต์ุ ามช่วงฤดกู าล (Seasoning value หรอื SV) ในรูปของค่ารอ้ ยละ
- แนวโน้มราคาขายผลผลิต ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ ราคาลูกไก่เนื้อ รวมทั้ง
แนวโน้มด้าน การตลาด
2) การติดตามการผลิตและผลผลิต หลังจากที่ผู้เลี้ยงได้เริ่มดาเนินการวางแผนการผลิต
เรียบร้อยแล้ว ผู้เลี้ยงจะต้องเตรียมติดตามการผลิตและผลผลิต โดยการบันทึกข้อมูลการผลิตต่างๆ เช่น
น้าหนักตัวเฉล่ียของไก่เน้ือ ปริมาณอาหารท่ีกิน และอตั ราการตาย เป็นต้น ซึ่งข้อมูลเหล่าน้ีจะทาให้ผู้เลี้ยง
ไก่เนื้อทราบว่าการผลติ เปน็ ไปตามแผนทีว่ างไวห้ รือไม่ และยังสามารถใช้ในการตรวจสอบผลผลติ ของฟาร์ม
ได้เช่นกัน ดังนั้นหากผู้เลี้ยงไก่เนื้อได้มีการติดตามผลการผลิตและผลิตไก่เน้ือของตนเองแล้วก็จะทาให้มี
ข้อมลู สาหรบั ในการนาไปวิเคราะห์ผลการปฏิบตั งิ านได้ในลาดบั ต่อไป
3) การวิเคราะห์ข้อมูลผลการปฏิบัติงาน เม่ือผู้เลี้ยงไก่เน้ือได้ทาการเก็บข้อมูลการผลิต
และผลผลิตต่างๆ แล้ว ผู้เล้ียงสัตว์ปีกสามารถใช้ข้อมูลท่ีได้บันทึกไว้จากการผลิตทั้งหมดมาคานวณเพื่อหา
ค่าที่แสดงประสิทธิภาพการ ผลิต เช่น อัตราการเจริญเติบโต และประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ
เป็นต้น เพ่ือนาผลการคานวณไปวิเคราะห์และสรุปผลการผลิต สาหรับใช้ในการวิเคราะห์การดาเนินงาน
และเป็นแนวทางในการวางแผนการผลิตต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ซึ่งหากผู้เล้ียงไก่เนื้อพบว่า
ประสิทธิภาพการผลิตและผลผลิตมีปัญหา ผู้เลี้ยงไก่เน้ือก็สามารถไปตรวจดูข้อมูลย้อนหลังต่างๆ ท่ีทาการ
บันทึกไวไ้ ด้
2.3 ข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มลู ในการผลิตไก่เนอ้ื
การบันทึกข้อมูลการเลี้ยงไก่เนื้อต้ังแต่เร่ิมต้นเลี้ยง ระหว่างเล้ียง และระยะสิ้นสุดการเล้ียงมี
ความสาคัญต่อการนาข้อมูลไปใช้ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตของฟาร์มไก่เนื้อ ท้ังในด้านการ
เจรญิ เติบโต ด้านการใช้อาหาร ด้านสุขภาพ และด้านผลผลิต เพ่อื ผู้เลี้ยงไก่เนอื้ สามารถใช้เป็นขอ้ มูลในการ
วางแผนการผลิตคร้ังต่อไป รวมทั้งหากเกิดปัญหาในการผลิตกส็ ามารถตรวจสอบจากข้อมูลที่ไดบ้ ันทึกไว้ได้
การวางแผนการผลิตไก่เนื้อจาเป็นต้องมีการบันทึกข้อมูล โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้เล้ียงทราบ
ข้อมูลต่างๆ ในการผลิตไก่เน้ือ เช่น ข้อมูลวันที่รับลูกไก่เน้ือเข้าเล้ียง จานวนไก่เนื้อที่เล้ียงทั้งหมด น้าหนัก
เมื่อเรมิ่ ตน้ เลยี้ ง นา้ หนักตลอดระยะเวลาการเล้ยี ง ปรมิ าณอาหารท่กี นิ ในแตล่ ะวนั ราคาอาหาร จานวนและ
น้าหนักไก่เนื้อท้ังหมดท่ีขาย เป็นต้น และนาข้อมูลเหล่าน้ันมาใช้ประกอบการคานวณวิเคราะห์
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทาฟาร์มไก่เน้ือ เช่น อัตราการเจริญเติบโตเฉล่ียต่อตัวต่อวัน และ
ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนอาหาร เป็นต้น รวมทั้ง ใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการผลิตล่วงหน้าของ
ฟาร์ม โดยผู้เล้ียงจะต้องมีการทาบันทึกท่ีชัดเจนและสมบูรณ์ เพื่อที่จะได้นาข้อมูลมาใช้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ การบันทึกข้อมูลควรมีการจัดทามีทั้งข้อมูลแบบรายวัน รายสัปดาห์ หรือรายเดือนเพ่ือทา
สรุปตลอดระยะเวลาการเลี้ยงของไก่เน้ือ ข้อมูลต่างๆ ท่ีจะต้องทราบเพื่อการเขียนโครงการผลิตไก่เนื้อ
มีดังน้ี
1) จานวนลกู ไกท่ จ่ี ะตอ้ งสั่งเข้ามาเลยี้ งในแตล่ ะรุ่น
2) จานวนไก่ท่ผี ลติ ได้จากโครงการทง้ั จานวนตวั และนา้ หนกั ตวั เฉลี่ย
3) กาหนดการส่งั ซ้ือลกู ไก่เข้ามาเลย้ี งและกาหนดการปลดไกห่ รือจบั จาหน่าย
4) ปริมาณอาหารที่จะต้องใช้ในแต่ละระยะการเจรญิ เตบิ โตในแต่ละรนุ่ ของการเล้ียง
5) จานวนผลผลติ และจานวนฝูงไกท่ ี่จะผลติ ได้ในรอบปี
6) ประมาณการการใช้โรงเรอื นและอปุ กรณ์ต่าง ๆ ท่ีจาเปน็ จะต้องใชใ้ นโครงการ
7) ปรมิ าณยา เวชภณั ฑ์และวคั ซนี ทจี่ ะต้องใชก้ ับฝงู ไกท่ ัง้ หมด
2.4 หลักการทาโครงการผลิต
1) กาหนดนโยบายการผลิตและเป้าหมายให้ชัดเจน เช่น ชนิดและประเภทสัตว์
วตั ถปุ ระสงค์การผลติ วธิ กี ารผลติ และการเล้ียงสตั ว์ ฯลฯ
2) การใช้พืน้ ที่ในฟาร์มอย่างมีประสิทธิภาพ จะตอ้ งไม่มีโรงเรือนใดต้องท้งิ ว่างและจะต้อง
ไม่เลยี้ งไก่แออดั จนเกนิ ไปจนทาให้ไกเ่ กดิ ความเครยี ด ตลอดจนการจัดวางโรงเรอื นอยา่ งเหมาะสม
3) คานึงถึงทาเลท่ีตั้งของฟาร์มและโรงฟัก โดยยึดหลักการป้องกันโรคด้วยระบบการ
ป้องกันภัยทาชีวภาพ (Biosecurity) และจะต้องประหยัดค่าขนส่งท้ังปัจจัยการผลิตที่จะนาเข้าฟาร์มและ
ผลผลติ ทจี่ ะจาหนา่ ย
4. คานึงถงึ ความต้องการของตลาดและความสม่าเสมอของการผลิตในรอบปี
5. คานงึ ถงึ ความสามารถในการจัดหาลกู ไกเ่ พื่อนาเขา้ เลี้ยงทดแทน
ตัวอย่างการเขียนโครงการกิจการไก่ไก่เนื้อ เป้าหมายต้องการผลิตไก่กระทงส่งโรงงานชาแหละ
ขนาดน้าหนกั ตวั เฉล่ีย 2.7 กโิ ลกรมั จานวน 100,000 ตัว/สปั ดาห์ ดังนั้น โครงการน้ีสามารถผลติ ได้เท่ากับ
270,000 กโิ ลกรมั (100,000 ตวั x 2.7 กก.)
ค่ามาตรฐานของสายพนั ธุ์ (Cobb 500 ff Broiler Performance 2012)
- อายุ 41 วัน นา้ หนกั ตัวเฉลี่ยเท่ากบั 2.64 กโิ ลกรมั
- อายุ 42 วนั น้าหนกั ตัวเฉล่ยี เทา่ กับ 2.73 กโิ ลกรัม
- อายุ 43 วนั นา้ หนักตวั เฉล่ยี เทา่ กบั 2.83 กิโลกรมั
โรงเรือนท่ใี ช้ โรงเรือนระบบ Evap ขนาด 16 x 100 เมตร เทา่ กบั 1,600 ตร.ม.
อตั ราการเล้ียง กาหนดไว้ไมเ่ กิน 30 กิโลกรมั /ตร.ม.
- เมื่อคานวณเป็นจานวนตัว/ตร.ม. จะเท่ากับ 11.11 ตัว/ตร.ม. (30 x 2.7) คิดเป็น
11 ตวั /ตร.ม.
- เมื่อคานวณเปน็ จานวนตัวต่อโรงเรือนเท่ากับ 17,600 ตัว/โรงเรือน (1,600 ตร.ม. x 11
ตัว) จานวนโรงเรือนท่ีใช้ คานวณได้จาก ค่าประมาณการจานวนตัวท่ีต้องการจะเลี้ยง ÷ จานวนตัวที่
สามารถเล้ียงได้ต่อโรงเรือน เท่ากับ 5.6 โรงเรือน ปรับเป็น 6 โรงเรือน (100,000 ตัว ÷ 17,600 ตัว)
ตรวจสอบจานวนตัว/โรงเรือนและตอ่ พน้ื ทก่ี ารเลี้ยงอกี ครง้ั
- คานวณจานวนตัวที่จะต้องเล้ียงต่อโรงเรือนจานวน 6 โรงเรือน เท่ากับ 16,666 ตัว
(100,000 ÷ 6)
- คานวณจานวนตัวต่อพื้นที่การผลิตเท่ากับ 10.41 ตัว/ตร.ม. (16,666 ตัว ÷1,600
ตร.ม.)
- คานวณน้าหนักไกท่ จ่ี ะผลิตได้/พืน้ ทก่ี ารเลยี้ งเท่ากับ 28.11 กก./ตร.ม.
การวางแผนการใชโ้ รงเรอื น
- ระยะเวลาการเล้ียงไก่ตลอด 1 รุ่น เท่ากับ ระยะเวลาเตรียมและพักเล้า + ระยะเวลา
การเลี้ยง เท่ากับ 14 วัน + 42 วนั = 56 วัน หรอื 8 สปั ดาห์
- จานวนโรงเรือนที่จะต้องใช้ในกิจการเล้ียงไก่กระทงน้ี คานวณได้จากระยะเวลาเป็น
สัปดาหท์ ่ใี ช้ โรงเรอื น x จานวนโรงเรือนทใี่ ชใ้ นแต่ละร่นุ เทา่ กบั 48 หลัง (8 สปั ดาห์/รุน่ x 6 หลัง/รุ่น)
- จัดทาแผนการใช้โรงเรือนโดยใช้ Gant chart จะทาให้สะดวกในการวางแผนการผลิต
ดังน้ี
ัสปดา ์ห ่ที โรงเรอื นหลงั ท.่ี ........... ครัง้ ท่ี 1
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 คร้ังที่ 2
1
2 ครง้ั ท่ี 1
3
4
5
6
7
8
9
11
12
13
14
15
16
17
18
ัสปดาห์ท่ี 19 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ครั้งที่ 3
19
20 ครั้งที่ 1
21
22 ครงั้ ที่ 4
23
24 คร้งั ที่ 1
25
26 ครัง้ ที่ 5
27
28 คร้ังท่ี 1
29
30 คร้ังท่ี 6
31
32 ครั้งที่ 1
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52