The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by คัธรียา มะลิวัลย์, 2019-06-10 07:38:27

Unit 1

Unit 1

บทท่ี 1

บทนาเก่ยี วกับการเลย้ี งไกไ่ ข่

ครูคธั รยี า มะลิวัลย์

แผนกวชิ าสตั วศาสตร์
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา

บทท่ี 1

บทนำเกย่ี วกบั กำรเล้ยี งไกไ่ ข่

หัวข้อเรื่อง
1. ประวตั ิการเลีย้ งไกไ่ ขใ่ นประเทศไทย
2. สถานการณก์ ารผลิตและตลาดไก่ไข่

จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้
1. บอกประวัติการเลยี้ งไกไ่ ข่ในประเทศไทยได้
2. วิเคราะห์สถานการณก์ ารผลิตและตลาดไก่ไข่ได้

เนือ้ หำกำรสอน
ไกไ่ ขน่ ับเปน็ สัตวเ์ ศรษฐกิจทีม่ ีความสาคญั ต่อชีวติ ประจาวันของคนไทย เนอ่ื งจากไขไ่ ก่เป็นอาหารท่ี

มีประโยชน์และนิยมบริโภค สามารถนามาประกอบอาหารได้หลายอย่าง และตลาดมีความต้องการสูง
ตลอดปี การเลีย้ งไกไ่ ขใ่ นปจั จุบันไดข้ ยายออกไปอย่างกวา้ งขวางและสามารถยึดเป็นอาชพี หลักทีท่ ารายได้ดี
พอสมควร (อานนท์. 2542) การเลยี้ งไก่ไข่ในประเทศไทยจงึ มีความคล่องตัวสูง อุตสาหกรรมการเล้ียงไก่ไข่
เจรญิ รุดหน้า สามารถผลิตไข่เพือ่ ใช้บริโภคภายในประเทศและส่งไปจาหน่ายยังต่างประเทศ (ไชยา. 2533)

เช่ือกันว่าไก่มีวิวัฒนาการมาจากสัตว์เล้ือยคลาน โดยแหล่งที่มีการเล้ียงไก่บริเวณแรกของโลกอยู่
บริเวณจังหวัดเหอเป่ยของประเทศจีน เม่ือประมาณ 5,400-5,900 ปี ก่อนคริสตกาล ตน้ กาเนิดของพันธุไ์ ก่
ทเ่ี ล้ียงกันอยู่ในปัจจุบันเช่ือว่ามีการพฒั นามาจากไก่ป่าสีแดง ซึ่งมตี ้นกาเนิดในป่าแถบเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี ง
ใต้ (Crawford, 1990. อ้างโดย ประสิทธิ์. 2551) ส่วนไก่ทเี่ ล้ยี งในประเทศไทยในยุคแรก ๆ เช่ือว่านาเข้ามา
จากประเทศจีน และได้มีการพัฒนาการเลี้ยงมาโดยลาดับ สาหรับการผลิตไข่ไก่ของโลก และของประเทศ
ไทยเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่อื ง รัฐบาลได้เห็นความสาคัญตลอดจนปัญหาต่าง ๆ ในอตุ สาหกรรมการเลยี้ งไก่ไข่จึง
ได้จัดทายุทธศาสตร์ไก่ไข่ขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางให้ผู้เก่ียวข้องนาไปปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความมั่นคงและ
ยง่ั ยนื แกผ่ เู้ ล้ียงไกไ่ ข่ทัง้ ระบบ และเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผูบ้ รโิ ภคตอ่ ไป

1. ประวตั ิกำรเลีย้ งไก่ไขใ่ นประเทศไทย
นักวิชาการเช่ือว่าพันธ์ุไก่ในประเทศไทยมีผู้นาเข้ามาจากประเทศจีน โดยมาพร้อมกับเรือสาเภา

ท่ีมาติดต่อค้าขายกับประเทศไทย การเลี้ยงไก่ในสมัยแรก ๆ เป็นการเล้ียงแบบปล่อยตามธรรมชาติ
ไกอ่ าศัยอยู่ตามโรงนา ใต้ถุนบ้าน หรือต้นไม้ พันธ์ุท่ีมีการเล้ียงเปน็ ไก่พันธ์พุ นื้ เมือง ได้แก่ ไก่ชน ไกแ่ จ้ (ภาพ
ที่ 1.1) ไก่ตะเภา และไกอ่ ู อาหารทีไ่ ก่กินเปน็ ข้าวเปลือกตกหล่นตามนาโรงนา ใต้ยุ้งฉาง หรือกินเศษอาหาร
ที่เหลอื จากครัวเรอื น เมล็ดหญ้า หนอน และแมลงต่าง ๆ

อานนท์ (2542) กล่าวถึงประวัติการเล้ียงไก่ในประเทศไทยต้ังแต่ปี พ.ศ. 2467 เป็นต้นไป
ตามลาดับดังต่อไปน้ี ไก่ไข่พันธ์ุเล็กฮอร์นเป็นพันธ์ุท่ีให้ผลผลิตสูง นาเข้ามาเล้ียงในประเทศไทยคร้ังแรก
เม่ือปี พ.ศ.2467 โดยหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร ซ่ึงทรงได้รับการยกย่องเป็น บิดาแห่งการเกษตรแผนใหม่
(ภาพที่ 1.2) ทรงนามาเลยี้ งแบบทันสมัยท่ฟี าร์มบางเบิด จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์ (ภาพที่ 1.3) แต่ไมป่ ระสบ
ความสาเรจ็ เทา่ ทคี่ วร เพราะในสมัยนนั้ ยังขาดวัคซีนป้องกันโรค และยารกั ษาโรคของไก่

ภำพที่ 1.2 หมอ่ มเจา้ สทิ ธพิ ร กฤดากร พระบิดาของการเกษตรแผนใหมข่ องไทย

ภำพท่ี 1.3 ฟารม์ บางเบดิ จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์
ปี พ.ศ. 2467 หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ภาพที่ 1.4) ได้เร่ิมการเลี้ยงไก่ไข่ ในโรงเรียนฝึกหัดครู
ประถมกสิกรรม จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยได้รับความช่วยเหลือจากหม่อมเจ้าสิทธิพร และขยายไปยัง
จังหวัดต่าง ๆ ที่โรงเรียนประถมกสิกรรมย้ายไปต้ัง ทาให้การเล้ียงไก่เริ่มเป็นที่สนใจของคหบดี และ
ประชาชนทั่วไป แต่ยังไม่ประสบความสาเร็จจนสามารถยึดเป็นอาชีพได้ เพราะยังขาดแคลนยา และวัคซีน
ป้องกนั โรคเช่นกนั

ภำพที่ 1.4 หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ บดิ าการเล้ยี งไก่ของไทย

ปี พ.ศ. 2484 หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ ได้ทดลองเล้ียงไก่ไข่พันธ์ุต่าง ๆ ท่ีแผนกวิชาสัตว์เล็ก
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จนประสบความสาเร็จ มีการประกวดไก่ไขด่ กข้นึ แต่ตอ้ งหยุดชะงักไปเนื่องจาก
เกดิ มหาสงครามเอเชียบรู พา

ปี พ.ศ. 2492 หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ ได้ส่ังไก่พันธ์ุโรดไอแลนด์แดง จากประเทศสหรัฐอเมริกา
และไก่พนั ธุ์ออสตราลอร์บจากประเทศออสเตรเลีย เขา้ มาทดลองเล้ียงเพ่ือเปน็ การส่งเสริมให้เปน็ อาชพี ของ
คนไทย โดยได้รับการสนับสนุนจากจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี และจอมพลผิน ชุนหวัณ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และประธานกรรมการการส่งเสริมปศุสัตว์แห่งชาติ รัฐบาล
สมัยน้ันยังได้ใช้เงินค่าพรีเมียมข้าวมาใช้ส่งเสริมการเล้ียงไก่ โดยจัดต้ังฟาร์มสาธิตการเลี้ยงไก่แบบ
อตุ สาหกรรมท่ีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และได้มกี ารกอ่ ต้ังสมาคมการเลย้ี งไก่ โดยกรมปศสุ ัตว์ กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้ยงไก่ ต่อมาได้มีการจัดประกวดแข่งขัน
ไก่ไข่ดกขน้ึ อีกครงั้ หน่ึง

ปี พ.ศ. 2494-2495 องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ได้ส่ง ดร.เอฟ เอ็ม ฟรอนดา
(ภาพที่ 1.5) ผู้เชี่ยวชาญการเล้ียงไก่จากประเทศฟิลิปปินส์มาอยู่ท่ีหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ
ผู้เช่ียวชาญด้านโรคไก่มาประจาที่กรมปศุสัตว์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเล้ียงไก่ของประเทศไทย
ในช่วงน้ีได้มีการทดลองเล้ียงไก่ลูกผสมท่ีให้ไข่ดก และทนทานต่อสภาพแวดล้อมของประเทศไทย
เช่น พันธุ์ออสตราไวท์ ซึง่ เป็นลูกผสมของไกพ่ ันธุ์ไวทเ์ ลก็ ฮอรน์ กบั ออสตราลอร์บ และพันธ์ุซปุ เปอร์ฮารโ์ ก
ลูกผสมของพ่อพันธ์ุโรดไอแลนดแ์ ดงกบั แม่พันธ์ุบาร์พลีมัทร็อคพร้อมกับไดม้ ีงานวิจัยด้านการเล้ียงไก่เข้ามา
สนับสนุนทั้งด้านอาหาร ตู้ฟักไข่ขนาดใหญ่อุปกรณ์ที่ใช้เล้ียงไก่การเลี้ยง ไก่ไข่ขังกรง ท้ังจากนักวิจัยของ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกรมปศุสัตว์ ปัจจุบันการเลี้ยงไก่ไข่ของประเทศไทยประสบความสาเร็จ
ได้ผลดี สามารถยึดเป็นอาชีพหลักที่สาคัญอย่างหน่ึงของคนไทย ผลิตไข่ไก่ได้พอเพียงกับการบริโภค

ภายในประเทศ และส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศได้ นอกจากน้ียังก่อให้เกิดธุรกิจอื่น ๆ ตามมาอีก
หลายชนิด เช่น ธรุ กจิ อาหารสัตว์ เวชภัณฑแ์ ละวสั ดอุ ปุ กรณเ์ ลีย้ งไก่ โรงชาแหละไก่ และโรงฟกั ไข่ เป็นตน้

ภำพท่ี 1.5 ดร. เอฟ เอม็ ฟรอนดา

2. สถำนกำรณก์ ำรผลิตและตลำดไกไ่ ข่
การเล้ียงไก่ไข่เดิมเป็นการเลี้ยงเพื่อบริโภคในครัวเรือน ต่อมาได้พัฒนาการเล้ียงจนเกิดเป็น

อตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ โดยมีการปรบั ปรงุ และพัฒนาสายพนั ธุโ์ ดยใชเ้ ทคโนโลยีใหม่ ๆ ในการจัดการเลีย้ งดู
การให้อาหารและการจัดการฟาร์ม จนมีผลผลิตมากเกิน ความต้องการบริโภค จึงมีการส่งออกไปจาหน่าย
ต่างประเทศ จึงทาให้อุตสาหกรรมการเล้ียงไก่ไข่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดอาชีพหน่ึงท่ีสาคัญใน
ปจั จบุ ัน

ตลาดสัตว์ปีกเป็นสถานที่รวบรวมแลกเปลี่ยน ซื้อขาย สัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีกตลอดจน
วัสดุ อุปกรณ์ที่เก่ียวข้องกับการผลิตสัตว์ปีก ซึ่งมีองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ ผู้ซื้อและผู้ขาย ได้แก่ เกษตรกร
ทง้ั รายย่อย รายกลาง ผู้ประกอบการรายใหญ่ พ่อคา้ คนกลางรวมถึงบริษัทผู้ส่งออก การตลาดเป็นเรื่องของ
การจัดการที่ต้องมีการตัดสินใจ เพ่ือใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างมี
ประสิทธิภาพเพ่ือเกิดผลกาไร

2.1 สถำนกำรณ์ไขไ่ กโ่ ลก
สถานการณ์ไข่ไก่ของโลกด้านการผลิต การบริโภค การส่งออก และการนาเข้าไข่ไก่ของประเทศ
ตา่ ง ๆ ทสี่ าคัญของโลก ในชว่ งระหวา่ งปี พ.ศ. 2557 - 2561 มดี ังต่อไปน้ี
1) กำรผลติ
ปี 2557 - 2561 การผลิตไข่ไก่ของไทยมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นในอัตราร้อยละ 3.78 ต่อปี ตามความ
ต้องการบริโภคที่เพ่ิมข้ึน โดยในปี 2561 มีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 14,355.17 ล้านฟอง เพ่ิมขึ้นจาก

14,037.23 ล้านฟอง ของปี 2560 ร้อยละ 2.26 เนื่องจากมีการขยายการเล้ียงเพ่ือรองรับความต้องการ
บรโิ ภคที่เพิม่ ขน้ึ ประกอบกับเกษตรกรมีการจดั การเลีย้ งไก่ไข่ทม่ี ีประสิทธิภาพมากข้ึน ทาให้ผลผลิตเพม่ิ ขึน้

ตำรำงที่ 1.1 ปรมิ าณการผลติ ไขไ่ ก่ของประเทศตา่ ง ๆ

ประเทศ 2555 2556 2557 หน่วย:พันลา้ นฟอง
496
จีน 484 490 94 2558 2559
70 502 509
สหรัฐอเมรกิ า 93 93 48 95 95
41 73 75
อินเดีย 66 68 14.26 49 49
532 41 40
เมก็ ซโิ ก 48 48 1,296 15.10 15.37
545 559
ญ่ีปุ่น 41 41 1,319 1,343

ไทย* 13.32 13.79

อืน่ ๆ 505 518

โลก 1,250 1,272

ทมี่ า : สมาคมผู้ผลิต ผู้คา้ และส่งออกไข่ไก่ (2559)

2) กำรบริโภค
ปี 2557 - 2561 การบริโภคไข่ไก่เฉล่ียท้ังประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.73 ต่อปี
โดยในปี 2561 มีปริมาณการบริโภคไข่ไก่ 14,114.78 ล้านฟอง เพ่ิมขึ้นจาก 13,909.97 ล้านฟอง ของปี
2560 ร้อยละ 1.47 เน่ืองจากไข่ไก่มีราคาถูกเม่ือเทียบกับอาหารโปรตีนชนิดอื่น และสามารถปรุงอาหารได้
ง่าย ประกอบกับภาครัฐและภาคเอกชนมีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ เพ่ือกระตุ้นการบริโภคไข่ไก่
ใหเ้ พ่ิมข้นึ

ตำรำงที่ 2 ปรมิ าณการบรโิ ภคไข่ไก่ของประเทศตา่ ง ๆ

ประเทศ 2555 2556 2557 หน่วย:ฟอง/คน/ปี
428 2558 2559
เม็กซิโก 427 427 363 430 430
334 366 369
จนี 357 360 333 338 342
215 335 336
สิงคโปร์ 236 330 225 227

ญีป่ ่นุ 331 332

ไทย* 204 210

ที่มา : สมาคมผู้ผลิต ผูค้ ้าและสง่ ออกไข่ไก่ (2559)

3) กำรส่งออก
ปี 2557 - 2561 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกไข่ไก่สดมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนในอัตราร้อยละ 6.53 ต่อ
ปี และร้อยละ 10.17 ต่อปี ตามลาดับ โดยในปี 2561 การส่งออกไข่ไก่สดมีปริมาณ 240.39 ล้านฟอง
มลู ค่า 898.66 ล้านบาท เพ่ิมขนึ้ จากปรมิ าณ 127.26 ล้านฟอง มูลค่า 380.57 ล้านบาท ของปี 2560 ร้อย
ละ 88.90 และ 1.36 เท่า ตามลาดับ เน่ืองจากมีการส่งออกไข่ไก่ไปยังต่างประเทศเพื่อระบายผลผลิตใน
ประเทศ โดยตลาด ส่งออกทส่ี าคญั ของไทย คือ ฮ่องกง (ร้อยละ 96.24) และสิงคโปร์ (ร้อยละ 2.60)
ปริมาณและมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนในอัตรา ร้อยละ 3.50 ต่อปี
และร้อยละ 3.98 ต่อปี ตามลาดับ โดยในปี 2561 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 5,351.22 ตัน
มูลค่า 528.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 3,739.21 ตัน มูลค่า 385.03 ล้านบาท ของปี 2560 ร้อยละ
43.11 และ 37.21 เท่า ตามลาดับ ผลิตภัณฑ์ท่ีส่งออกมากท่ีสุด คือ ไข่เหลวรวม ตลาดส่งออกท่ีสาคัญ คือ
ญ่ปี นุ่ ซงึ่ มสี ัดส่วนการสง่ ออกรอ้ ยละ 47.90 ของปริมาณการส่งออกไขเ่ หลวรวมทัง้ หมด

ตำรำงท่ี 1.3 ปรมิ าณการส่งออกไข่ไก่ของประเทศต่าง ๆ

หน่วย:พันล้านฟอง

ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559 สดั ส่วนโลก

เนเธอรแ์ ลนด์ 7.4 7.3 8.0 8.0 9.0 26%

ตุรกี 4.3 5.3 7.0 9.0 11.0 32%

โปแลนด์ 3.1 3.4 4.0 4.0 4.0 12%

เยอรมนั 2.5 2.8 3.0 3.0 4.0 11%

มาเลเซยี 2.5 2.8 3.0 4.0 4.0 12%

ไทย* 0.27 0.27 0.24 0.34 0.42 1%

อนื่ ๆ 11.8 10.5 10.0 9.0 8.0 22%

โลก 31.8 32.2 33.0 34.0 35.0 100%

ท่ีมา : สมาคมผู้ผลิต ผู้คา้ และสง่ ออกไข่ไก่ (2559)

4) กำรนำเข้ำ
ปี 2557 - 2561 ปริมาณกรนาเข้าผลิตภัณฑ์จากไขไ่ กม่ ีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นในอัตราร้อยละ 19.86 ต่อ
ปี แต่มูลค่าการนาเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไกม่ ีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 0.21 ต่อปี โดยในปี 2561 มีการ
นาเข้า ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 3,940.49 ตัน มูลค่า 647.15 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจากปริมาณ 3,245.65
ตัน มูลค่า 552.27 ล้านบาท ของปี 2560 ร้อยละ 21.41 และร้อยละ 17.18 ตามลาดับ โดยผลิตภัณฑ์ท่ี
นาเข้าจะใช้เป็น ส่วนผสมในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพ่ือใช้ในประเทศและส่งออก ผลิตภัณฑท์ ี่นาเขา้ มาก
ท่สี ดุ คือ ไขข่ าวผงโดยนาเข้าจากประเทศอิตาลมี ากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 30.42 ของปริมาณนาเขา้ ไข่ขาวผง
ท้ังหมด รองลงมาไดแ้ ก่ เปรู และเนเธอรแ์ ลนด์

ตำรำงท่ี 4 ปรมิ าณการนาเข้าไข่ไก่ของประเทศตา่ ง ๆ
หน่วย:พนั ล้านฟอง

ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559 สดั ส่วนโลก
เยอรมนั 7.2 7.1 7.0 7.0 7.0 23%

อิรกั 3.3 3.4 4.0 4.0 4.0 12%
เนเธอร์แลนด์ 3.0 3.3 4.0 4.0 5.0 15%

ฮอ่ งกง 1.8 1.9 2.0 2.0 2.0 7%
สิงคโปร์ 1.3 1.3 1.0 1.0 1.0 5%
อน่ื ๆ 12.0 12.0 12.0 12.0 12.0 39%

โลก 28.6 29.1 30.0 30.0 31.0 100%
ท่มี า : สมาคมผ้ผู ลิต ผูค้ า้ และส่งออกไข่ไก่ (2559)

2.2 สถำนกำรณ์ไขไ่ กข่ องไทย
สถานการณ์ไข่ไก่ของไทยด้านการผลิต การบริโภค การส่งออก และการนาเข้าไข่ไก่ของไทย
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2559 โดยจังหวัดที่มีการเล้ียงไก่ไข่มากที่สุดของไทย มีดังนี้ ฉะเชิงเทรา นครนายก
ชลบุรี อยุธยา และอบุ ลราชธานี
1) กำรผลติ
ปี 2559 คาดวา่ จะมีปรมิ าณการผลิตไข่ไก่ 12,967.91 ล้านฟอง เพิ่มข้ึนจาก 12,399.74 ล้านฟอง
ในปี 2558 ร้อยละ 4.58 เน่ืองจากมีการขยายการผลิตตามความต้องการบริโภคท่ีเพ่ิมข้ึนตามจานวนประ
ขากร ประกอบกับเกษตรกรมีการจัดการฟาร์มไก่ไข่ที่มีประสิทธิภาพมากข้ึน ทาให้ผลผลิตเพิ่มข้ึน รวมทั้ง
การเข้าสู่ประชาคมอาเซยี นในเดือนธันวาคม 2558 เป็นโอกาสให้เกษตรกรขยายการเล้ียง เพื่อรองรับตลาด
สง่ ออกทีข่ ยายตัวเพ่ิมข้ึนได้
2) กำรตลำด
(1) ความตอ้ งการบริโภค
ปี 2559 คาดวา่ ปริมาณการบริโภคไข่ไก่จะเพ่ิมข้ึนจากปี 2558 เน่อื งจากภาครัฐและ ภาคเอกชนมี
การรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไขไ่ ก่ ขึ้งเก่ียวกับคุณประโยชน์ไขไ่ ก่และปริมาณการบริโภคไข่ไก่ ที่เหมาะกับ
ทุกเพศทุกวยั อยา่ งตอ่ เน่ือง

(2) การสง่ ออก
ปี 2559 คาดว่าการส่งออกไข่ไก่สดและผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะเพ่ิมขึ้นเล็กน้อย เม่ือเทียบกับปี
2558 เน่ืองจากการเข้าสู่ประซาคมอาเซียนไนเดือนธันวาคม 2558 เป็นโอกาสให้ไทยส่งออกไข่ไก่ ได้
เพ่ิมข้นึ
(3) การนาเข้า
ปี 2559 คาดว่าการนาเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะทรงตัวหรือเพ่ิมขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากโรงงาน
แปรรูปไข่ไก่ภายในประเทศยังไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ประเภทต่าง ๆ ได้อย่างเพียงพอ และ
อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเพ่ือการส่งออกบางประเภทยังต้องไข้ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จากกลุ่มประเทศ ที่
สหภาพยุโรปไหก้ ารรับรองไห้ไขเ้ ปน็ ส่วนประกอบได้
(4) ราคา
ปี 2559 คาดว่าราคาไข่ไก่ท่ีเกษตรกรขายได้เฉลยี่ ทั้งประเทศจะค่อนข้างทรงตัว หรือปรับตัวสูงขึ้น
เลก็ นอ้ ย เนอื่ งจากเกษตรกร สหกรณ์ และภาคเอกชน มีการวางแผนการผลติ ให้สอดคล้องกับความต้องการ
บริโภค รวมท้ังมีการรณรงค์สง่ เสริมการบริโภคไข่ไก่ ทาให้ความต้องการบริโภคขยายตวั เพิม่ ข้ึน

3) ปัจจัยทม่ี ผี ลกระทบต่อกำรผลติ และกำรตลำด
(1) ปัญหาภัยแล้งในปี 2558 และคาดว่าปี 2559 ปัญหาภัยแลง้ จะรุนแรงขน้ึ ซึ่งจะมีผลกระทบทา
ไห้ผลผลิตพืชอาหารสัตว์ได้รับความเสียหาย และส่งผลให้ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์สูงข้ึน โดยเฉพาะ
ข้าวโพดเลี้ยงสตั วซ์ ึ่งเป็นวตั ถุดบิ หลักในอาหารไกไ่ ข่ ทาให้มีต้นทนุ การผลติ เพ่ิมขึ้น
(2) สภาพอากาศที่แปรปรวน มผี ลต่อสุขภาพของไก่ไข่ อาจทาให้มภี ูมิคุ้มกันลดลง และเป็นโรคได้
ง่ายข้ึน สง่ ผลให้อัตราการให้ไข่ลดลงได้
(3) หน่วยงานจากภาครัฐและภาคเอกชนได้มีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ อย่างต่อเน่ือง
โดยมีการจัด กิจกรรมท่สี าคัญ ไดแ้ ก่ การจดั งานวนั ไข่โลกเพ่ือประชาสมั พันธ์คณุ ประโยชนไ์ ขไ่ กแ่ ละรณรงค์
ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ให้ เพ่ิมข้ึน ซึ่งจะส่งผลให้ผู้บริโภคหันมาบริโภคไข่ไก่มากขึ้น อย่างไรก็ตาม
เกษตรกรควรมีการจัดการฟาร์มที่ดีและมีการวางแผนการผลิต เพ่ือลดต้นทุนการผลิต และแก้ไขปัญหา
ผลผลติ เกนิ ความตอ้ งการบรโิ ภค

ตำรำงท่ี 1.5 แสดงจานวนแม่ไก่ไข่ ปริมาณการผลิตไข่ไก่ ราคาไข่ไก่ และต้นทุนในการผลติ ในช่วงระหวา่ ง
ปี พ.ศ. 2555 – 2559 ของประเทศไทย

ชนดิ หนว่ ย 2555 2556 2557 2558 2559

แมพ่ ันธ์ุ PS (รวมนาเขา้ + ตวั 535,230 621,052 627,342 510,095 814,785*
ผลิตในประเทศ.)

แมไ่ กไ่ ข่ A8 ล้านตัว 45.54 48.16 51.26 53.74 -

ผลผลิตไขไ่ ก่ ล้านฟอง 13,320 13,519 14,265 15,103 -

เฉลยี่ ล้านฟอง/วัน 37 37.04 39.04 41.38 -

การสง่ ออกไขไ่ ก่สด ล้านฟอง 272.78 274.88 245.27 340.37 -

ราคาไข่ไก่คละ ** บาท/ฟอง 2.43 3.02 2.87 2.49 2.61**

ตน้ ทุนผลติ ไข่ไก่ ** บาท/ฟอง 2.58 2.86 2.99 2.8 2.78**

ที่มา : กรมปศุสัตว์ ,สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ,กรมการค้าภายใน, กรมศุลกากร (2559)

แผนภำพที่ 1 แสดงสดั สว่ นของต้นทุนในการผลติ
ทม่ี า : สมาคมผู้ผลิต ผ้คู ้าและส่งออกไข่ไก่ (2559)


Click to View FlipBook Version