The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แหล่งประวัติศาสตร์ แทนดี้1.4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by golfkiller86, 2022-09-02 07:11:32

แหล่งประวัติศาสตร์ แทนดี้1.4

แหล่งประวัติศาสตร์ แทนดี้1.4

แหล่งประวัติ ศาสตร์

นิ ต ย ส า ร ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ที่ ดี ที่ สุ ด ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ

ช ม ด า ว แ ม็ ก ก า ซี น

ฉ บั บ ที่ 0 1 • กั น ย า ย น 2 5 6 5 • พ บ กั บ ป ร ะ วิ ติ ศ า ส ต ร์ เ มื อ ง เ ชี ย ง ใ ห ม่

สารบัญ

หน้า 2 หน้า 4 หน้า 5

ประวัติ วัดดงส้ มสุ ก การค้ นพบวัตถุ จ า รึก โ บ ร า ณ
โบราณ
หน้า 6
หน้า 7
บรรณานุ การ
วิช ชุ ม ม า ล า ฉั น ท ร์

หน้า 1

บ ร ร ณ า ธิ ก า ร

บรรณาธิการในทุกคนนี้มีความรับผิดชอบในการทำงาน การตัดสินใจนี้กระทำขึ้นโดยหัวหน้า
บรรณาธิการหลังจากที่ได้รับข้อมูลจากนักวิจารณ์ที่เลือกตามพื้นฐานความชำนาญที่
เกี่ยวข้อง
เราจะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีแหล่งประวัติศาสตร์เยอะแยะมากมาย แต่ยังไม่มีที่ใดที่ขุดพบ
วัตถุโบราณหรอเคหสถานของคนในยุคสมัยก่อนได้มากเท่า"วัดพระธาตุดงส้มสุก" เพราะ
ฉะนั้นวัดดงส้มสุกถือเป็นแหล่งวัตถุโบราณที่สำคัญที่หนึ่งของประเทศไทย

จัดทำโดย
1.นางสาวคำ นายแสง
2.นางสาวธนาภา เชื่อพระซอง
3.นางสาวรพินทร์นิภา กาหลง
4.นางสาวภัชราภรณ์ แสนย่าง
หน้า 6 5.นางสาวณัฐนรี เพ็งอ่อนตา
6.จักริน จันทร์ตา

เนื้ อหา

ประวัติวัดดง โบราณสถานวัดดงส้มสุก ถูกสำรวจครั้งแรกเมื่อปี
ส้มสุก พ.ศ.2527 โดยโครงการโบราณคดีประเทศไทย ภาคเหนือ
กรมศิลปกร พบว่าโบราณวัตถุวัดดงส้มสุก สภาพทั่วไป
วัดดงส้มสุก ร่องรอยเมืองเก่าลุ่มแม่น้ำ ปกคลุมด้วยต้นไม้หนาแน่น ประกอบด้วยซากเจดีย์และ
ฝาง ต.มะลิกา อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ อาคาร (วิหาร) ที่สภาพทั่วไปพังทลายลงมากแล้ว ทั้งเหตุผล
ทางธรรมชาติและมนุษย์
ก วัดพระธาตุดงส้มสุก เป็นวัดร้างโบราณ สันนิษฐานว่า
สร้างโดยพระเจ้าพรหมมหาราช หลังจากที่พระองค์ทรง จากกการสำรวจ ได้มีการศึกษา วิเคราะห์กำหนดช่วงอายุ
สร้างเวียงพางคำเสร็จ และทรงสร้างเมืองฝางขึ้น สมัยของการก่อสร้างได้จากการเทียบเคียงสภาพโบราณ
ซากโบราณสถานในปี 2553 ประกอบไปด้วยเจดีย์ และ สถานที่ยังคงอยู่ และวัตถุโบราณที่ค้นพบ มีการสรุปได้ว่า
วิหาร สร้างจากอิฐหน้าวัวขนาดใหญ่ และปรากฏเสา ช่วงเวลาของการก่อสร้างวัดดงส้มสุก อยู่ในช่วงประมาณ
วิหารขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.2 เมตร เดิมเป็น กลางพุ ทธศตวรรษที่ 21 โบราณสถานวัดส้มสุก แต่เดิมเป็น
วัดร้าง ต่อมาได้รับการบูรณะโดยเทศบาลตำบลแม่อาย ศาสนสถานร้างที่อยู่กลางส่วนส้มของเอกชน ต่อมาได้มีการ
บริจาคที่ดินเพื่ อสร้างเป็นวัด
หน้า 2

หน้า 3

การค้นพบ ตลอดระยะเวลาก่อนหน้าที่จะมีการดำเนินงานครั้งนี้
วัตถุโบราณ วัดดงส้มสุกเป็นที่รับรู้แต่เพียงว่าเป็นวัดเก่า แม้กรม
ศิลปกรจะเคยเข้ามาดำเนินการสำรวจเมื่อ 30 กว่าปี
''การขุดค้นพบ ขุดแต่งเมืองโบราณ ก่อน แต่ข้อมูลยังไม่ถูกเผยแพร่มากนัก อีกทั้งยังมีคน
ลุ่มน้ำฝางขนาดใหญ่ ที่จะถูกปลุกขึ้น เข้ามาใช้และทำลายโบราณสถานอย่างไม่ถูกไม่ควร ทั้งที่
มาและถูกสร้างให้เป็นสถานที่ศึกษา โบราณสถานแห่งนี้มีความสำคัญต่อท้องถิ่นอย่างมาก
ร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เพราะเป็นศาสนสถานริมน้ำฝาง ที่ยังคงเหลือร่องรอย
สถาปัตยกรรมโบราณ ที่ยังทิ้งร่อง สถาปัตยกรรมโบราณอยู่ ซึ่งเป็นหลักฐานสำคัญที่ช่วย
รอยให้ได้เห็นอย่างชัดเจนจากคน ให้เข้าใจอดีตของพื้ นที่ลุ่มน้ำฝางได้ดียิ่งขึ้น
โบราณ ที่นี่กำลังจะถูกฟื้ นให้เราได้
เห็นเป็นรูปร่างอีกครั้ง'' โดยภายหลังการขุดค้นขุดแต่งโบราณคดีพบว่า
วัดดงส้มสุกแห่งนี้ เป็นโบราณสถานอันมีเจดีย์และวิหาร
หน้า 4 เป็นแกนหลักของวัด อีกทั้งยังมีการขุดค้นพบ ขุดแต่ง
อาคารประกอบเพิ่ มขึ้นด้วยข้อมูลหลักฐานโบราณคดีที่
พบจากการดำเนินงานทำให้ทราบว่าโบราณสถานแห่งนี้
สร้างขึ้นตั้งแต่ราวพุ ทธศตวรรษที่ 20 และใช้งานต่อ
เนื่องมาจนถึงราวพุ ทธศตวรรษที่ 22 เป็นอย่างน้อย

พบ จารึกโบราณ บนแผ่นอิฐ วัดส้มสุก วัดที่มีจารึกมากที่สุดในไทย
กว่า 200 ชิ้น

นับเป็นอีกการค้นพบที่น่าสนใจมาก เมื่อกรมศิลปากร สำหรับกรมศิลปากรได้ดำเนินโครงการขุดแต่งโบราณ
ได้ดำเนินการขุดแต่งทางโบราณคดี โบราณสถาน สถานวัดส้มสุก โดยใช้งบประมาณปี 2564 เพื่ อ
วัดดงส้มสุก ตำบลมะลิกา อำเภอแม่อาย จังหวัด ดำเนินงานต่อจากระยะแรกเมื่อปี 2558 ในขณะนี้มี
เชียงใหม่ ผลปรากฏว่าพบ จารึก อักษรฝักขามบน โบราณสถานที่ดำเนินการขุดค้นแล้ว ได้แก่ เจดีย์
แผ่นอิฐหน้าวัว และอิฐรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดย จารึก ประธานทรงระฆังมีช้างล้อมรอบฐานวิหารขนาดใหญ่
โบราณ เหล่านั้นมีทั้งที่จารเป็นอักษร 1-2 ตัว จารเป็น ซึ่งพบร่องรอยการปฏิสังขรณ์ 3ครั้ง, ซุ้มประตูโขง
ข้อความ และภาพลายเส้นเป็นลวดลายต่างๆ รวมแล้ว และอาคารใหญ่น้อยอีกประมาณ 10 หลัง ซึ่งได้พบ
มากกว่า 200 ก้อนจารึก เหล่านี้เป็นหลักฐานสำคัญใน โบราณวัตถุสำคัญ ได้แก่ พระพิ มพ์ เนื้อชินมีจารึก
การยืนยันอิทธิพลวัฒนธรรมสุโขทัยที่แพร่เข้าสู่ดิน คาถา “จะภะกะสะ” ซึ่งเป็นคาถาที่ปรากฏในคัมภีร์
แดนล้านนาโบราณเมื่อกว่า 600 ปีมาแล้วได้เป็นอย่าง วิชรสารัตนสังคหะ รจนา โดยพระรัตนปัญญาเถระ
ดี และจากการค้นพบจารึกจำนวนมากนี้ก็ทำให้ โบราณ ภิกษุในนิกายวัดสวนดอกเมื่อ พ.ศ. 2078 และล่าสุด
สถานวัดส้มสุก ซึ่งเป็นแหล่งโบราณสถานขนาดใหญ่ คือการค้นพบจากรึกโบราณ
ที่สุดในแอ่งที่ราบฝาง กลายเป็นวัดที่มีจารึกมากที่สุด
ในประเทศไทย

" จ า ก ก า ร ค้ น พ บ จ า รึ ก จำ น ว น ม า ก นี้ ก็ ทำ ใ ห้ โ บ ร า ณ ส ถ า น วั ด ส้ ม สุ ก

ซึ่ ง เ ป็ น แ ห ล่ ง โ บ ร า ณ ส ถ า น ข น า ด ใ ห ญ่ ที่ สุ ด ใ น แ อ่ ง ที่ ร า บ ฝ า ง ก ล า ย เ ป็ น

วั ด ที่ มี จ า รึ ก ม า ก ที่ สุ ด ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย "

ทั้งนี้นักโบราณคดีได้จำแนก จารึกโบราณ บนก้อนอิฐ อย่างไรก็ตาม จารึก ทั้งหมดยังอยู่ระหว่างการศึกษา
ที่พบออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่เขียนเป็นข้อความ โดยผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาโบราณ ซึ่งจะมีการทำสรุป
ส่วนใหญ่ระบุชื่อบุคคลที่อาจหมายถึงผู้ปั้ นหรือ รายงานผลการศึกษาทั้งหมดอย่างเป็นทางการต่อไป
ผู้บริจาคอิฐก้อนนั้น ๆ และอีกกลุ่มคือจารึกที่เขียนเป็น และล่าสุดกรมศิลปากรได้อนุมัติงบประมาณเพิ่ มเติม
ตัวอักษร 1-2 ตัว ซึ่งส่วนใหญ่พบบนอิฐหน้าวัวที่ อีก 1.1 ล้านบาท สำหรับการขุดค้นและดำเนินการทาง
ประกอบกันเป็นเสาอาคาร มีข้อสังเกตว่าในเสาต้น โบราณคดีให้ครบถ้วน เพื่ อขยายผลการศึกษาเชิง
เดียวกันส่วนใหญ่จะเป็นการจารึกตัวอักษรตัว ประวัติศาสตร์และโบราณคดีให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
เดียวกัน เบื้องต้นนักโบราณคดีสันนิษฐานว่าอาจ
เกี่ยวข้องกับการให้รหัสสำหรับการก่อสร้าง หรือ
เทคนิคการผลิต หรืออาจหมายถึงกลุ่มบุคคล กลุ่มข้า
วัด หัววัด หรือศรัทธาวัดของแต่ละหมู่บ้านที่ร่วมแรง
ร่วมใจกันซ่อมสร้างวัดโบราณแห่งนี้ขึ้น

หน้า 5

วิ ช ชุ ม ม า ล า ฉั น ท์ ๘

วัดเก่าโบราณ สืบสานความดี

แสงแดดสายลม วัดดงส้มสุก

เริ่มจากแม่อาย หญิงชายกราบกราน

เจ้าฟ้าประทาน เครื่องปั้ นโสภา

ชื่อดงส้มสุก ในยุคครั้งก่อน

เงินตราเป็นก้อน จึงนำบูชา

สร้อยเพรชสีทอง เรืองรองงามตา

พร้อมทั้งมาลา ไปไหว้สาเอย

หน้า 7 *ขอบคุณภาพจาก เพจวัดพระธาตุดงส้มสุก*


Click to View FlipBook Version