The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปผลการดำเนินงานคลินิกให้คำปรึกษาด้านจิตสังคม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nakhonratchasima Juvenile & Family Court, 2022-09-28 05:33:25

คลินิกให้คำปรึกษาด้านจิตสังคม ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา

รายงานสรุปผลการดำเนินงานคลินิกให้คำปรึกษาด้านจิตสังคม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2565

Keywords: คลินิกให้คำปรึกษาด้านจิตสังคม,ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีม



คานา

คลนิ ิกให้คาปรึกษาดา้ นจิตสงั คม ของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา
ได้ดาเนินงานอย่างตอ่ เนื่องเป็นระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน 2563 – 30 กันยายน 2565
โดยบูรณาการงานคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม ร่วมกับศูนย์ให้คาปรึกษาแนะนาและประสาน
การประชุมเพ่ือแก้ไข บาบัด ฟื้นฟูเด็ก เยาวชนและครอบครัว รวมถึงศูนย์ให้คาปรึกษาเพ่ือแนะนา
ช่วยเหลือผู้เสียหายและครอบครัว และยกระดับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้เสียหายในคดีอาญา
เพื่อพัฒนาระบบการดาเนินงานกับเด็ก เยาวชนและผู้ปกครองผู้กระทาความผิดในกระบวนการ
ยุติธรรมให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และลดปัญหาความความรุนแรงในครอบครัว หรือปัญหาเด็ก
และเยาวชนอันเกดิ จากความไม่พรอ้ มของครอบครัว ตลอดจนการเสริมสร้างคา่ นิยม ทางจริยธรรม
คุณธรรม และความรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชนและสังคมของเด็กและเยาวชน โดยการยกระดับ
การดาเนินงานร่วมกับภาคเี ครือข่ายทุกภาคส่วนในจงั หวดั นครราชสมี า

ทั้งน้ี คลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม ของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด
นครราชสีมา ได้ดาเนินงานต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2563 – 30 กันยายน 2565
ซ่ึงเสร็จสิ้นตามวัตถุประสงค์โครงการเรียบร้อยแล้ว จึงได้จัดทารายงานสรุปผลการประเมิน
โครงการให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม เพ่ือให้ทราบถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดาเนินงาน
การให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม การพัฒนาองค์ความรู้ จัดอบรมการให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม
สาหรับผู้ให้คาปรึกษา การดาเนินกิจกรรมโครงการสาหรับเด็กและเยาวชน รวมถึงการบูรณาการ
งานรว่ มกบั หนว่ ยงานภาคเี ครือขา่ ย ตลอดจนสรปุ รายงานสถติ คิ ดีระยะเวลา 3 ปีงบประมาณ

นางสาวกญั ญว์ รา อภิเมธธี ารง
นกั จติ วิทยาประจาคลนิ กิ ใหค้ าปรกึ ษาดา้ นจติ สังคม

30 กนั ยายน 2565





สารบัญ

เร่อื ง หน้า
คานา ก

สารบัญ ข

บทนา 1

ส่วนที่ 1 สรปุ รายงานผลการดาเนินงานคลินิกให้คาปรึกษาดา้ นจิตสังคม ของศาลเยาวชน 2
และครอบครวั จงั หวดั นครราชสมี า ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 - 2565 3
3
1.1 สถิตคิ ดที ศ่ี าลมคี าสั่งเขา้ คลนิ กิ ให้คาปรึกษาด้านจติ สังคม 4
1.2 สถิตเิ ขา้ รับคาปรกึ ษาและรบั รายงานตวั (ชั้นกอ่ น – หลงั ฟูอง) 5
1.3 สถิตกิ ารยตุ ใิ หค้ าปรกึ ษาและรายงานตวั ช้ันกอ่ น – หลงั ฟอู ง
1.4 สถิตกิ ารกระทาความผดิ ซา้
1.5 สถติ ิสง่ บาบัดรักษาอาการตดิ สารเสพตดิ ยาเสพตดิ

ส่วนท่ี 2 สรปุ ผลการดาเนนิ กิจกรรมที่ 1 - 3 การจดั ประชมุ และอบรม

2.1 กจิ กรรมที่ 1 สนับสนุนการดาเนนิ งานภายในศาล 6

2.2 กิจกรรมที่ 2 การดาเนนิ งานดา้ นแกไ้ ข บาบดั ฟื้นฟู 6

2.3 กิจกรรมที่ 3 การจดั ประชุมและอบรม

1. สรุปผลการประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร : บูรณาการและประสานความรว่ มมอื 7

ในการดาเนนิ งานคลินกิ ใหค้ าปรกึ ษาดา้ นจติ สังคม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2565

2. สรปุ ผลการอบรมการให้คาปรกึ ษาการจดั การภาวะเสพติด 12

สาหรบั ผ้ใู ห้คาปรกึ ษาคลนิ ิกให้คาปรกึ ษา หลกั สูตรที่ 2

3. สรุปผลการอบรมการใหค้ าปรกึ ษาครอบครวั สาหรบั ผใู้ หค้ าปรกึ ษา 17

คลินกิ ใหค้ าปรกึ ษาดา้ นจติ สงั คมในระบบศาล หลกั สตู รที่ 3

ส่วนที่ 3 พฒั นาและยกระดับระบบงานคลนิ ิกใหค้ าปรกึ ษาดา้ นจิตสงั คม

3.1 บรรยายใหค้ วามรกู้ ารทางานของคลนิ กิ ใหค้ าปรกึ ษาดา้ นจติ สังคม

3.1.1 ศาลจงั หวัดพิมาย 22

3.1.2 ศาลจงั หวัดนครราชสมี า 22

3.1.3 ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั เพชรบรู ณ์ 23

3.1.4 สานักงานอธบิ ดผี พู้ ิพากษา ภาค 1 23

3.2 จุดเดน่ / จดุ แข็ง ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาระบบงานใหย้ ั่งยืน 24

3.3 การพัฒนาตอ่ ยอดระบบงานร่วมกับเครอื ข่ายภาคชมุ ชนและประชาชน 26

3.4 ผังกระบวนการปฏบิ ัตงิ านดา้ นการแกไ้ ข บาบดั ฟ้ืนฟแู บบบรู ณาการ 27

3.5 แผนปฏบิ ตั งิ านคลนิ กิ ให้คาปรึกษาด้านจิตสงั คม ปีงบประมาณ 2566 – 2567 28

3.6 ภาพกจิ กรรมโครงการที่บรู ณาการการทางานรว่ มกัน ในปงี บประมาณ พ.ศ.2565 33

3.7 QR Code วดิ ิทศั น์เผยแพร่ผลสัมฤทธิก์ ารดาเนินงานคลินกิ ใหค้ าปรกึ ษาดา้ นจิตสงั คม 34



1

บทนา
ตามที่ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง คัดเลือกศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด
นครราชสีมา เป็นศาลนาร่องให้ดาเนินงานคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมแก่ผู้ต้องหาคดียาเสพติด
และคดีความรุนแรงในครอบครัวในระบบศาล ต่อเน่ืองเป็นระยะเวลา 3 ปี ต้ังแต่วันท่ี 15 มิถุนายน
2563 – 30 กนั ยายน 2565 ภายใตก้ ารตดิ ตาม กากับ ดูแล จากสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์
และได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามยาเสพติด
โดยเน้นบูรณาการร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในจังหวัดนครราชสีมา เพ่ือลดระดับ
ความรุนแรงของปัญหายาเสพติดในเด็กหรือเยาวชนโดยเร็ว ซึ่งการดาเนินงานในระบบศาลเป็นโครงการ
เชงิ รุกที่จะช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์การดาเนินงานในกระบวนการยุติธรรมท่ีเป็นมิตรกับประชาชน
และในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒน์ศักดิ์ แจ้งจัดสรรเงินงบประมาณ
สาหรับศาลเยาวชนและครอบครวั จังหวดั นครราชสมี า ใหด้ าเนนิ งานตอ่ เนอ่ื งเปน็ ปีท่ี 3
การดาเนินงานคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมแก่ผู้ต้องหาคดียาเสพติดและ
คดีความรนุ แรงในครอบครัวในระบบศาล มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้คาปรึกษาแก่ผู้ต้องหาในคดียาเสพติด
หรือคดีทเี่ กีย่ วกับยาเสพติดและความรุนแรงในครอบครัวใหเ้ ป็นมาตรฐานตามหลักวิชาการด้านจิตวิทยา
ภายใต้เจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อให้โอกาสเด็กและเยาวชนได้ปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม
ของตนเองให้ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ไม่หวนกลับไปกระทาความผิดซ้า เป็นการคืนคนดีสู่สังคม
และพัฒนาระบบการดาเนินงานผู้กระทาความผิดในกระบวนการยุติธรรมให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น
ท้งั นี้ คลนิ ิกให้คาปรึกษาด้านจิตสงั คม ของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั นครราชสีมา เป็นศาลนาร่อง
ในการดาเนินงานด้านการให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม และได้บูรณาการงานร่วมกับระบบงาน
ศูนย์ให้คาปรึกษาแนะนาฯ ให้อยู่ในระบบงานประจา ตามทไ่ี ดร้ ับการสนับสนนุ งบประมาณใหด้ าเนนิ งาน
ตอ่ เนอ่ื งเป็นระยะเวลา 3 ปี
ดังน้ัน เพื่อให้ทราบถึงผลสัมฤทธ์ิและประสิทธิผลการดาเนินงานคลินิกให้คาปรึกษา
ด้านจิตสังคม ของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา จึงสรุปผลการดาเนินงาน
พร้อมจัดทาวิดิทัศน์นาเสนอผลสัมฤทธ์ิการดาเนินงานตลอดระยะเวลา 3 ปีท่ีผ่านมา รวมถึงเสนอ
แนวทางในการพัฒนาระบบงานเพ่ือให้คลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมดาเนินโครงการอยู่ในระบบงาน
ของศาลต่อไป โดยแบง่ เปน็ 3 สว่ นดังนี้



3



2

สว่ นท่ี 1 สรุปรายงานผลการดาเนินงานคลนิ ิกให้คาปรึกษาด้านจติ สงั คม
ในศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั นครราชสีมา ประจาปี พ.ศ.2563 - 2565

ศาลมีคาสั่งเข้ารับคาปรึกษาด้านจิตสังคม เพื่อแก้ไข บาบัด ฟื้นฟูเด็ก เยาวชนและ

ครอบครัว ทง้ั สน้ิ จานวน 1,240 คน โดยจาแนก ดังนี้

- มาตรา 73 วรรคทา้ ย (ช้ันกอ่ นฟูอง) จานวน 565 คน

- มาตรา 90 (ชนั้ พิจารณาคดี) จานวน 23 คน

- มาตรา 132 วรรคหนง่ึ (ชัน้ หลงั ฟอู ง) จานวน 652 คน

และศาลมีคาส่ังให้เด็กหรือเยาวชนและผู้ปกครองในคดีที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดให้โทษ

เขา้ รบั คาปรึกษาแนะนาด้านจิตสังคมในคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน 2563

ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2565 สรุปจานวนสถิติคดีท่ีเข้าคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม

แยกเป็นรายปีงบประมาณ พ.ศ.2563 – 2565 ดังนี้

1.1 สถติ ิคดีที่ศาลมคี าสง่ั เขา้ คลนิ ิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 - 2565ดังนี้

จากสถิติคดีเด็กหรือเยาวชนและผู้ปกครอง เข้ารับคาปรึกษาด้านจิตสังคม ต้ังแต่ชั้นก่อนฟูอง
หรือตรวจสอบการจับ และช้ันหลังฟูอง รวมทั้งส้ิน จานวน 588 คน เมื่อศาลมีคาสั่งเข้ารับคาปรึกษาด้าน
จิตสังคม เด็กหรือเยาวชนได้รับการประเมินด้วยแบบคัดกรองหรือแบบประเมินทางจิตวิทยาทุกคน
เพ่ือประเมินด้านลักษณะบุคลิกภาพ ประเมินวิธีการเผชิญปัญหา ประเมินการเห็นคุณค่าตั วเอง

ประเมนิ ความเข็มแข็งทางจิตใจ และประเมินความเสี่ยงในการใชส้ ารเสพตดิ เพ่อื นาไปสู่การวางแผนการ
ใหค้ าปรึกษาไดต้ รงกบั สภาพปัญหา หรือศกั ยภาพของเด็กหรือเยาวชนรายบุคคล รวมถึงวางแผนในการ
แกไ้ ข บาบัด ฟน้ื ฟใู ห้เหมาะสม กบั เกดิ ประสิทธภิ าพสูงสุดกบั เด็กหรอื เยาวชนตอ่ ไป

3
1.2 สถิตเิ ขา้ รับคาปรึกษาและรายงานตวั (ชั้นก่อน – หลงั ฟ้อง) จาแนกเป็นรายครงั้

จากการดาเนนิ งานคลินกิ ให้คาปรกึ ษาดา้ นจิตสงั คม ระหว่างวันท่ี 15 มิถุนายน 2563
ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2565 มีเด็กและเยาวชนเข้ารับคาปรึกษาและรายงานตัว จานวน 588 คน
รวมทัง้ สนิ้ 1,611 คร้ัง (***เด็กหรือเยาวชนหน่ึงคนรับคาปรกึ ษามากกวา่ สองคร้งั ข้นึ ไป)

1.3 สถิติการยุติใหค้ าปรึกษาและรายงานตวั (ชนั้ ก่อน – หลงั ฟอ้ ง) ระหว่างเดือน มิถุนายน 2563
ถึงวันท่ี 30 กนั ยายน 2565 สถิตคิ ดียตุ ใิ ห้คาปรกึ ษาและยตุ ิคดตี ามคาส่ังศาล จานวน 432 คน จาแนกดังน้ี

- มาตรา 73 วรรคทา้ ย (ช้ันก่อนฟอู ง) จานวน 252 คน คิดเปน็ ร้อยละ 58.33
- มาตรา 132 วรรคหนง่ึ (ชัน้ หลงั ฟูอง) จานวน 180 คน คดิ เป็นร้อยละ 41.67

หมายเหตุ : ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุช่ือยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ.2565
ออกใชบ้ งั คบั ตัง้ แตว่ นั ที่ 9 มถิ ุนายน 2565 มผี ลใหพ้ ืชกญั ชาไม่เปน็ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 อีกต่อไป
ดังน้ัน การกระทาของจาเลยที่เก่ียวกับพืชกัญชาตามฟูอง ไม่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติด
ให้โทษ พ.ศ. 2522 และประมวลกฎหมายยาเสพตดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 วรรคสอง
ศาลจึงมคี าส่งั ยุตกิ ารทาแผนแก้ไข บาบดั ฟนื้ ฟขู องจาเลยในข้อหาท่ีเก่ยี วกับพืชกญั ชา

4

1.4 สถิตกิ ารกระทาผดิ ซา้
ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน 2563 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2565 คดีเข้ารับคาปรึกษา

ด้านจิตสังคมในคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม ท้ังสิ้น จานวน 588 คน กระทาผิดซ้า
26 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.42 จากสถติ ผิ ู้กระทาผิดซ้า พบวา่ สาเหตุส่วนใหญ่มาจาก 3 ปัจจยั คือ

1. ปัจจยั จากเด็กหรือเยาวชน คือ
1.1 เด็กหรือเยาวชนขาดการตระหนักถึงโทษหรือผลกระทบจากการใช้สารเสพติดต่อ

ระบบประสาท ด้านสุขภาพร่างกาย และโทษทางกฎหมาย
1.2 เด็กหรือเยาวชนยังคบเพื่อนกลุ่มเสี่ยงหรือเพ่ือนกลุ่มเดิมท่ีมีพฤติกรรม

ยุ่งเก่ียวกบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ หากไม่เสพยาเสพติดเพอ่ื นในกลมุ่ ไมย่ อมรับ ปฏิเสธการชักจูงจากเพอื่ นไมไ่ ด้
1.3 เด็กหรือเยาวชนมีภาวะสมองติดยา ไม่สามารถหยุดใช้สารเสพติดได้ด้วยตัวเอง

แตไ่ มเ่ ขา้ รับการบาบัดรกั ษา เลือกใช้สารเสพติดเพอ่ื ตอบสนองความต้องการของตนเอง
1.4 เด็กหรือเยาวชนปฏิเสธหรือไม่ยอมรับการเสพติดของตนเอง เลือกใช้ยาเสพติด

ในการแก้ปัญหาหรือความทกุ ข์ทางใจ ความเครียดทไี่ มส่ ามารถจัดการได้
2. ปจั จัยจากครอบครัว คือ
2.1 ผู้ปกครองขาดการกากบั ดูแลบุตรหลานอย่างใกล้ชิด เน่ืองจากต้องทางานหรือ

ประกอบอาชพี เพือ่ ใหม้ รี ายไดใ้ นการเลี้ยงดคู รอบครวั
2.2 ผ้ปู กครองเลี้ยงดบู ุตรหลานตามวถิ ีชีวิต ตามความรู้ ความสามารถ

3. ปัจจัยดา้ นสังคม ชมุ ชน และส่งิ แวดล้อม คอื
3.1 เดก็ หรอื เยาวชนอาศยั อยู่ในชมุ ชน สังคม และส่งิ แวดล้อมเดมิ
3.2 มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน ยาเสพติดราคาถูก เช่น เมทแอมเฟตามีน

อย่างต่าราคาเม็ดละ 30 บาท บคุ คลในชุมชนไมใ่ ห้ความสนใจในการแกไ้ ข ปัญหายาเสพติด
ดงั นน้ั เพอ่ื ปูองกันเด็กหรอื เยาวชนกระทาความผดิ ซ้า ศาลเยาวชนและครอบครวั จังหวดั

นครราชสีมา จึงดาเนินการยกระดับการดาเนินงานด้านการแก้ไข บาบัด ฟื้นฟู ร่วมกับหน่วยงานภาคี
เครือข่ายภาคประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการสอดส่องกากับดูแลเด็กหรือเยาวชนในชุมชน
ไม่ให้กลับมากระทาความผิดซ้าอีก โดยปีงบประมาณ พ.ศ.2566 คลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม
ของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา จึงพัฒนาระบบการดาเนินงานด้านแก้ไข บาบัด
ฟนื้ ฟู ร่วมกบั หนว่ ยงานภาคีเครอื ข่ายภาคชุมชน

5

1.5 สถิตสิ ่งเขา้ รับการบาบัดรักษาอาการติดสารเสพติด
ระหวา่ งวันที่ 15 มถิ นุ ายน 2563 ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2565 คดีเข้ารับคาปรึกษา

ด้านจิตสังคมในคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม ทั้งส้ิน จานวน 588 คน และศาลมีคาส่ังให้เด็กหรือ
เยาวชนเข้ารับการบาบัดอาการติดสารเสพติด ณ โรงพยาบาลของรัฐบาลตามภูมิลาเนาของเด็กหรือ
เยาวชน แบบผปู้ วุ ยนอกและผู้ปวุ ยใน รวมจานวน 26 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.42 ดังน้ี

- เข้ารับการบาบัดรักษาอาการติดสารเสพติดแบบผู้ปุวยนอก จานวน 24 คน
คิดเป็นร้อยละ 4.08

- เข้ารับการบาบัดรักษาอาการทางจิตร่วมกับการใช้สารเสพติด แบบผู้ปุวยใน
ณ โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ จานวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.34

4



6

สว่ นท่ี 2 สรปุ ผลการดาเนนิ กจิ กรรมที่ 1 - 3 การจดั ประชมุ และอบรม
คลนิ กิ ใหค้ าปรกึ ษาดา้ นจิตสังคม ของศาลเยาวชนและครอบครัวจงั หวดั นครราชสมี า กาหนดแผนการดาเนินงาน

ประจาปงี บประมาณ 2565 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 กนั ยายน 2565 ดังนี้

2.1 กจิ กรรมท่ี 1 สนบั สนุนการดาเนนิ งานภายในศาล (คา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนินงาน) คือ

1.1 ค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างบุคลากร สนับสนุนงานคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม

จานวน 1 อัตรา คือ ได้รับจัดสรรเงินงบประมาณ จัดจ้างนักจิตวิทยา 1 อัตรา เดือนละ 15,000 บาท

เปน็ เวลา 11 เดือน ดาเนินการจัดจา้ งนกั จิตวทิ ยา เปน็ เงนิ จานวน 165,000 บาท

1.2 ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการสนับสนุนการดาเนินงาน ได้รับจัดสรร

งบประมาณ จานวน 4,750 บาท โดยจัดซอื้ วัสดุอปุ กรณ์สานักงาน เป็นเงนิ จานวน 4,750 บาท

1.3 ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ เช่น ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ปูายประชาสัมพันธ์ ได้รับจัดสรร

งบประมาณจานวน5,000บาท โดยจัดทาแผน่ พับประชาสัมพันธ์ จานวน500แผน่ เปน็ เงนิ จานวน5,000บาท

1.4 จัดทาสรุปรายงานผลการดาเนินงาน (เชิงผลสรุป/ผลลัพธ์การดาเนินงาน) ได้รับ

จัดสรรงบประมาณ จานวน 5,000 บาท โดยจัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงานพร้อมจัดทา

รูปเลม่ จานวน 20 เล่ม เป็นเงินจานวน 5,000 บาท

1.5 ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ผลสัมฤทธ์ิงานคลินิกจิตสังคมฯ ค่าจัดจ้างทา

วิ ดิ ทั ศ น์ เ ผ ย แ พ ร่ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ก า ร ด า เ นิ น ง า น ค ลิ นิ ก ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า ด้ า น จิ ต สั ง ค ม

เป็นเงนิ จานวน 32,000 บาท โดยมคี ่าใช้จ่ายดังนี้

- ค่าเทคนิคให้ห้องแล็ป 14,000 บาท

- ค่าบันทึกเสียง (จานวน 2 วัน x 5,000 บาท) 10,000 บาท

- ค่าออกแบบส่ือวิดิทัศน์เพ่ือประชาสัมพันธ์ 8,000 บาท

2.2 .กจิ กรรมท่ี 2 การดาเนินงานด้านแก้ไข บาบัด ฟืน้ ฟู ประกอบดว้ ย
2.1 ตรวจหาสารเสพติด บาบัดรักษาผู้ปุวยติดยาเสพติด/จิตเวช แ บบผู้ปุวยนอก

แ ล ะ ผู้ปุว ย ใ น แ น ว ทางใน การ ดาเนิ น งาน โ ด ยการ บูร ณาการ การ ด าเนิ น งาน ร่ ว มกับ
ศูนย์ให้คาปรึกษาแนะนาฯ ซ่ึงเป็นรูปแบบการดาเนินงานประจาร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย
ดา้ นสาธารณสขุ ด้วยระบบสง่ ต่อไม่ตอ้ งเบกิ จ่ายงบประมาณ

2.3 กจิ กรรมท่ี 3 การจดั ประชมุ และอบรม ประกอบด้วย 3 กิจกรรมย่อย

3.1 กิจกรรมย่อยที่ 3.1 การบูรณาการและประสานความร่วมมือในการดาเนินงาน
คลินกิ ใหค้ าปรึกษาด้านจิตสงั คมประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565

3.2 กจิ กรรมย่อยที่ 3.2 อบรมการใหค้ าปรึกษาดา้ นจติ สงั คมในระบบศาล 3 หลกั สูตร
- หลักสูตรท่ี 2 การให้คาปรึกษาเพ่ือจัดการภาวะเสพยาเสพติดสาหรับ

ผู้ให้คาปรึกษาในคลนิ กิ ให้คาปรกึ ษาด้านจิตสังคมในระบบศาล
- หลกั สูตรท่ี 3 การใหค้ าปรกึ ษาครอบครวั ผใู้ หค้ าปรกึ ษาในคลนิ กิ ให้คาปรกึ ษา

ด้านจติ สังคมในระบบศาล

97

สรปุ รายงานผลโครงการบูรณาการและประสานความร่วมมือในการดาเนินงานคลินิกให้คาปรึกษา
ดา้ นจิตสงั คมประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ระหวา่ งวันท่ี 7 - 8 กุมภาพันธ์ 2565
***************

คลนิ ิกให้คาปรึกษาดา้ นจติ สังคม ทางานภายใต้ศูนย์ให้คาปรึกษาแนะนาฯ ของศาลเยาวชน

และครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมย่อยท่ี 3.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อกาหนด
แนวทางการดาเนินงาน ภายใต้ช่ือโครงการบูรณาการและประสานความร่วมมือในการดาเนินงานคลินิก
ให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ขึ้น ระหว่างวันท่ี 7 - 8 กุมภาพันธ์ 2565
ณ ห้องประชุมนกยูง 4 ชั้น 4 โรงแรมเซนเตอร์ พอยต์ เทอร์มินอล 21 โคราช จังหวัดนครราชสีมา
โดยมีวัตถุประสงค์ ได้บูรณาการและพัฒนาระบบการดาเนินงานคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม ให้ถูกต้อง
ครอบคลุม ครบถ้วน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เป็นรูปธรรม และได้รับความร่วมมือและสนับสนุนจาก
หน่วยงานภาคีเครือข่ายในจังหวัดนครราชสีมาการดาเนินงานด้านแก้ไข บาบัด ฟ้ืนฟูเด็กหรือเยาวชน
ในคดียาเสพติดและคดีความรุนแรงในครอบครัว อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ เกิดการสร้างอาชีพ
ที่เหมาะสมกับความต้องการหรือความพร้อมของเด็กหรือเยาวชน

1. กลุม่ เป้าหมาย ประกอบดว้ ย ผพู้ ิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด
นครราชสีมา และผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงานภาคเครือข่าย รวมท้ังหมด 56 คน โดยมีหน่วยงานภาคี
เครอื ขา่ ย 12 หน่วยงาน ดังรายนามหนว่ ยงานภาคีเครือขา่ ย

1.1 สานักงานปูองกนั และปราบปรามยาเสพตดิ ภาค 3

1.2 ตารวจภธู รจงั หวดั นครราชสมี า
1.3 สถานพนิ ิจและคุ้มครองเดก็ และเยาวชนจังหวดั นครราชสมี า
1.4 ศูนยฝ์ กึ และอบรมเดก็ และเยาวชนเขต 3 จังหวดั นครราชสมี า
1.5 สานักงานคมุ ประพฤตจิ ังหวดั นครราชสีมา
1.6 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นครราชสีมา
1.7 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสมี า
1.8 โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสมี าราชนครนิ ทร์
1.9 โรงพยาบาลเทพรตั น์
1.10 พัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์จังหวดั นครราชสมี า
1.11 สถาบนั พัฒนาฝมี อื แรงงาน 5 นครราชสีมา
1.12 เทศบาลนครนครราชสมี า

2. งบประมาณท่ีได้รบั จดั สรร จานวน 41,850 บาท โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้

2.1 ค่าอาหารกลางวนั (50 คน x 120 บาท x 2 วัน) จานวน 12,00๐ บาท

2.2 ค่าอาหารวา่ งและเคร่อื งดื่ม (50 คน x 35 บาท x 2 มอ้ื x 2 วนั ) จานวน 7,00๐ บาท

2.3 คา่ ตอบแทนวทิ ยากร (3 คน x 600 บาท x 6 ชม.x 2 วนั ) จานวน 21,600 บาท

2.4 คา่ เอกสารและวัสดุจดั เกบ็ เอกสารประกอบการประชมุ จานวน 1,250 บาท

8

3. วิทยากร ประกอบด้วย รองอธบิ ดีผู้พิพากษาภาค 3
3.1 นางสรุ างคร์ ตั น์ โอฬารสกุล ผูพ้ ิพากษาอาวุโสในศาลแพง่
3.2 นายวรณัฏฐ์ สังข์ใหม่ ผพู้ ิพากษาหัวหนา้ ศาลฯ
3.3 นายอดุ ม ปะญาติ ผพู้ พิ ากษาสมทบ
3.4 นางโสภาพรรณ วงท้าว

4. ผู้รบั ผิดชอบและคณะทางาน เจ้าพนักงานศาลยุตธิ รรมชานาญการพเิ ศษ
4.1 นางสาวนัชชา เนตรศาสตร์ นกั จิตวิทยาชานาญการ
4.2 นางสาวยุภาภรณ์ ไพรบูลย์ นักจิตวทิ ยาปฏบิ ตั กิ าร
4.3 นางสาวยมลพร จงยงิ่ ศริ ิ เจา้ หนา้ ทีศ่ นู ย์ใหค้ าปรกึ ษา
4.4 นายพิสษิ ฐ์ มะโน นักจติ วทิ ยาประจาคลนิ ิกให้คาปรกึ ษาดา้ นจติ สงั คม
4.5 นางสาวกญั ญว์ รา อภิเมธีธารง

5. ผลการดาเนินงาน
ตามท่ีคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม ของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด

นครราชสีมา ได้จัดโครงการบูรณาการและประสานความร่วมมือในการดาเนินงานคลินิกให้คาปรึกษา
ด้านจิตสังคม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 น้ัน ผลปรากฏว่า คลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม
ภายใต้การบริหารจัดการของศูนย์ให้คาปรึกษาแนะนาฯ ของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด
นครราชสีมา ได้แนวทางในการดาเนินงานจากการประชุมมาประยุกต์ใช้ภายในหน่วยงานของตนเอง
ได้เป็นระบบมากยิ่งข้ึน อีกทั้ง ผลการดาเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น ได้รับคาชมเชยและคาแนะนา
เก่ียวกับการจัดประชมุ ในปีถดั ไป และยังเป็นการสร้างเครือขา่ ยใหเ้ พม่ิ มากย่ิงขน้ึ เพ่ือใหช้ ว่ ยเหลือเดก็ และ
เยาวชนไดอ้ ย่างครอบคลุมให้เหมาะสมกบั ความต้องการและความแตกตา่ งของเด็กหรอื เยาวชน

5.1 สรปุ คะแนนความพึงพอใจของการจดั โครงการ

จากผลการประเมิน สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในการ
จัดทาโครงการโดยภาพรวมอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 92.86 และรองลงมาอยู่ในระดับปานกลาง
คิดเป็นร้อยละ 7.14 จากจานวนผู้เข้าร่วมที่ตอบแบบประเมินทั้งหมด จานวน 56 คน
นอกจากน้ี หน่วยงานภาคีเครือข่ายยังสามารถนาความรทู้ ีไ่ ดร้ ับไปวางแผนเพ่ือพฒั นาต่อยอดระบบงาน
และนาแนวทางไปปรับหรือแกไ้ ขเพื่อเพ่มิ ประสทิ ธิภาพของการทางานเพ่ิมมากขึ้น โดยมีผลการประเมิน
ความพงึ พอใจรายละเอียด ดงั นี้

ระดบั คะแนน (N = 56 คน)

ท่ี หัวข้อ ดี ปานกลาง พอใช้

คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ

1 วิทยากรสามารถถ่ายทอดและอธิบาย 52 92.86 3 5.36 1 1.78
เนอ้ื หาได้ชัดเจนตรงประเด็น

2 เปิดโอกาสให้ซกั ถามและแสดงความคิดเห็น 52 92.86 2 3.57 2 3.57
54 96.43 - - 2 3.57
3 ใช้ภาษาทีเ่ หมาะสมและเข้าใจงา่ ย 55 98.22 - - 1 1.78

4 การตอบคาถามของวทิ ยากร

9

5 ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการอบรม 40 71.43 13 23.21 3 5.36

6 สถานทมี่ คี วามเหมาะสมกบั การจัดโครงการ 56 100 - - - -

7 สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน 52 92.86 4 7.14 - -
การดาเนินงานของท่านได้

8 สามารถนาขอ้ มูลไปพัฒนาต่อยอดระบบงาน 52 92.86 4 7.14 - -
ของท่านได้

9 ส่งิ ท่ีทา่ นได้รับจากโครงการครง้ั น้ตี รงตาม 49 87.5 7 12.5 - -
คาดหวังของท่าน

10 ความพึงพอใจภาพรวมของการจดั 52 92.86 4 7.14 - -
โครงการ

5.2 ขอ้ เสนอแนะท่ไี ด้จากแบบประเมินความพึงพอใจ
1. ดมี ากค่ะ ทง้ั การอบรมและสถานที่
2. อยากไดเ้ บอรโ์ ทรเครอื ขา่ ยค่ะ
3. ได้ประโยชน์จากเครอื ข่ายมากซง่ึ จะต้องตดิ ตามต่อไป
4. อยากให้แลกเปล่ียนกันมากกวา่ น้ี ลดการสอื่ สารทางเดียว
5. อยากให้มีจดั อกี เพอ่ื มาแลกเปลีย่ นขอ้ มลู การปฏบิ ตั งิ าน
6. มีเนื้อหานา่ สนใจดมี าก ซง่ึ เวลาคอ่ นข้างจากดั

6. ข้อดี/ประโยชน์ท่ีไดร้ บั
6.1 การดาเนนิ โครงการบูรณาการและประสานความรว่ มมอื ในการดาเนนิ งานคลนิ กิ

ให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ทาให้หน่วยงานท่ีเข้าร่วมประชุม
สามารถนาเน้อื หาทไี่ ด้รับไปประยุกตใ์ ช้กบั หน่วยงานได้ ดังน้ี

- กองทนุ เช่น กองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ ท่ีไดท้ างานรว่ มกนั กับหน่วยงานปูองกันและ
ปราบปรามยาเสพติด กองทุนจากพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ข้อมูลข้ันตอนการขอรั บ
เงนิ กองทนุ เพื่อทชี่ ว่ ยเหลือเยียวยาเด็กหรือเยาวชนได้อย่างเหมาะสมตามสภาพปญั หาของเดก็ หรอื เยาวชน

- ได้รับแนวทางในการปฏิบัติงานจากหน่วยงานทางด้านสาธารณสุข
ท้งั เรือ่ งระบบการส่งตอ่ ผทู้ ่ีมอี าการเสพตดิ หรอื มอี าการทางจติ รว่ มรวมถึงการบาบัดสาหรับผู้ติดยาเสพตดิ
อาทิ สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั นครราชสีมา โรงพยาบาลทกุ แหง่

- ได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมอาชีพให้กับเด็กหรือเยาวชนท่ีกระทาความผิด
จากสถาบันพฒั นาฝีมือแรงงาน 5 นครราชสมี า

7. ปัญหาหรอื อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ
7.1 เนื่องด้วยงบประมาณในการจัดโครงการมีจากัด ดังน้ัน จึงจาเป็นที่จะต้องลด

ระยะเวลาเพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกับงบประมาณทีไ่ ด้รบั ในการจัดโครงการ
7.2 เนือ่ งจากระยะเวลาท่ีจากัดทาใหไ้ มส่ ามารถได้ข้อมลู ที่ครบถว้ นสมบูรณ์

ดงั นน้ั จงึ มีความจาเปน็ ท่ีตอ้ งต่อยอดระบบงานของภาคีเครือข่ายในทกุ การจดั สรรงบประมาณเพอื่ ให้
ผลการดาเนนิ งานไดอ้ ย่างตอ่ เนือ่ งเกิดประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล

10

8. ภาพกิจกรรม โครงการบูรณาการและประสานความร่วมมือในการดาเนินงานคลินิก
ให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ระหว่างวันท่ี 7 - 8 กุมภาพันธ์ 2565
ณ ห้องประชุมนกยูง 4 โรงแรมเซนเตอร์ พอยต์ เทอร์มินอล 21 โคราช จังหวัดนครราชสี มา

11

12

สรปุ รายงานผลโครงการการใหค้ าปรกึ ษาการจดั การภาวะเสพติดสาหรบั ผ้ใู ห้คาปรึกษา
คลินกิ ให้คาปรึกษาดา้ นจติ สังคมในระบบศาล ระหวา่ งวันท่ี 15 – 16 มิถนุ ายน 2565

ณ หอ้ งประชุมนกยงู ชัน้ 4 โรงแรมเซนเตอรพ์ อยต์ เทอมินอล 21 โคราช
*******************

คลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมในศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครรา ชสีมา

ได้จัดกิจกรรมย่อยท่ี 3.2 หลักสูตรท่ี 2 อบรมการให้คาปรึกษาการจัดการภาวะเสพติดสาหรับ

ผู้ให้คาปรึกษาคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมในระบบศาล ระหว่างวันท่ี 15 – 16 มิถุนายน 2565

ณ ห้องประชุมนกยูง ช้ัน 4 โรงแรมเซนเตอร์พอยต์ เทอมินอล 21 โคราช โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ

ให้ผู้ให้คาปรึกษาสามารถให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมและมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมแก้ไข บาบัด

ฟ้ืนฟู ตามมาตรการและแนวทางในการสร้างเสริมทัศนคติเชิงบวก เพ่ือไม่ให้เด็กหรือเยาวชนกระทาผิด

ซา้ อกี และให้สามารถอยู่รว่ มกับสงั คมไดอ้ ย่างปกตสิ ุข

1.กลมุ่ เป้าหมาย

1.1 ผูเ้ ขา้ รบั การอบรม

- ผู้พพิ ากษาสมทบ จานวน 27 ท่าน

1.2 วิทยากร จานวน 5 ท่าน

1.3 คณะทางานและผสู้ งั เกตการณ์

- คณะทางาน จานวน 13 คน

- ผเู้ ขา้ รว่ มสงั เกตการณ์ จานวน 3 คน

2.งบประมาณ

งบประมาณกิจกรรมย่อยที่ 3.2 หลักสูตรที่ 2 อบรมการให้คาปรึกษา

การจัดการภาวะเสพติดสาหรับผู้ให้คาปรึกษาในคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมในระบบศาล

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จานวน 39,600 บาท

- ค่าตอบแทนวทิ ยากร (2 คน x 600 บาท x 2 ชม. x 1 วนั ) จานวน 2,400 บาท

- คา่ ตอบแทนวทิ ยากร (5 คน x 600 บาท x 1.5 ชม.x 2 ครง้ั ) จานวน 9,000 บาท

- ค่าตอบแทนวทิ ยากร (5 คน x 600 บาท x 1 ชม. x 3 ครงั้ ) จานวน 9,000 บาท

- ค่าถา่ ยเอกสาร จานวน 960 บาท

- ค่าอาหารกลางวนั (48 คน x 120 บาท x 1 มื้อ x 2 วนั ) จานวน 11,520 บาท

- คา่ อาหารวา่ งและเครอื่ งดืม่ (48 คน x 35 บาท x 2 มือ้ x 2 วนั ) จานวน 6,720 บาท

รวม 39,600 บาท

3. วทิ ยากร

3.1 นายรฐั พล ธปู อนิ ทร์ นายแพทยช์ านาญการ รพ.จติ เวชนครราชสมี าราชนครินทร์

3.2 นางกมลนิ อ่นุ จติ ติกลุ นักจิตวทิ ยาคลนิ กิ ชานาญการพิเศษ รพ.จติ เวชนครราชสีมาราชนครนิ ทร์

3.3 นางภทั รพร รุ่งโรจนน์ ิมติ ชยั พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ รพ.จติ เวชนครราชสมี าราชนครินทร์

3.4 นางสาวโชตกิ า คงสัตย์ นักจิตวิทยาคลนิ กิ ปฏิบัติการ รพ.จติ เวชนครราชสมี าราชนครินทร์

3.5 นางสาวญาดา โภคารัตน์กลุ นักจติ วทิ ยาคลินิกปฏบิ ตั ิการ รพ. มหาราชนครราชสมี า

13

4. ผ้รู ับผดิ ชอบและคณะทางาน เจ้าพนักงานศาลยุตธิ รรมชานาญการพิเศษ
นักจติ วทิ ยาชานาญการ
4.1 นางสาวนชั ชา เนตรศาสตร์ นักจติ วทิ ยาปฏบิ ัตกิ าร
4.2 นางสาวยภุ าภรณ์ ไพรบลู ย์ เจ้าหนา้ ทศ่ี นู ย์ใหค้ าปรกึ ษาแนะนาฯ
4.3 นางสาวยมลพร จงย่งิ ศริ ิ นกั จิตวทิ ยาประจาคลินกิ ให้คาปรกึ ษาดา้ นจติ สังคม
4.4 นายพสิ ษิ ฐ์ มะโน
4.5 นางสาวกญั ญว์ รา อภเิ มธีธารง

5. ผลการดาเนนิ งาน
จากการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม ท้ังหมด 27 คน

ผลปรากฏว่า ภาพรวมของการจัดโครงการในคร้ังน้ี มีคะแนนความพึงพอใจอยู่ที่ 68 คะแนน
จากคะแนนผลรวมท้งั หมด 81 คะแนน ซ่งึ อยใู่ นระดับดี คิดเป็นรอ้ ยละ 83.95 อธิบายไดว้ า่ ผ้เู ข้ารับ
การอบรมสามารถนาความรู้ท่ีได้รับเก่ียวกับการจัดการภาวะเสพติดสาหรับเด็กหรือเยาวชนไปใช้ได้จริง
และเกิดความม่ันใจในการนาความรู้ไปใช้ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องมากขึ้น โดยมีผลการประเมิน
ความพงึ พอใจรายละเอียด ดงั น้ี

ระดบั คะแนน (N = 27 คน)

ที่ หวั ข้อ ดี (3) ปานกลาง (2) พอใช้ (1) ควรปรบั ปรงุ (0)

คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ

1 สถานทจี่ ดั อบรมมีความเหมาะสม 18 66.7 9 33.3 - - - -

2 ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการฝกึ อบรมมีความเหมาะสม 19 70.4 7 25.9 1 3.7 - -

3 อาหารว่างและเครอ่ื งด่ืม 12 44.4 14 51.9 1 3.7 - -

4 อาหารกลางวัน 11 40.7 14 51.9 2 7.4 - -

5 วทิ ยากรสามารถถ่ายทอดเน้อื หาและอธิบายได้ 14 51.9 13 48.1 - - - -
ชัดเจน เขา้ ใจง่าย

6 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหซ้ กั ถามและแสดงความคิดเหน็ 16 59.3 10 37 1 3.7 - -

7 วิทยากรสามารถตอบคาถามหรือข้อสงสยั ของผรู้ บั การ 17 63 10 37 - - - -
อบรมได้ ทาให้ผูร้ บั การอบรมเขา้ ใจเน้อื หานน้ั มากข้ึน

8 ส่ือ หรือคลิปวดิ โี อประกอบการบรรยายมีความ 13 48.1 11 40.7 2 7.4 1 3.7
นา่ สนใจ ทนั สมยั และชว่ ยให้เข้าใจเนื้อหาดีขึน้

9 เอกสารประกอบการอบรมครบถ้วน เหมาะสม 9 33.3 13 48.1 4 14.8 1 3.7

10 เน้อื หาทอี่ บรมมคี วามเหมาะสมกับตาแหนง่ หนา้ ที่ 17 63 9 33.3 1 3.7 - -
และการนาไปปฏบิ ตั งิ านของทา่ น

11 ทา่ นรสู้ กึ วา่ ได้รบั ความรู้จากการเขา้ อบรมในคร้ังน้ี 15 55.6 12 44.4 - - - -

หลังจากท่ีได้รับการอบรมในครัง้ นี้ ท่านมคี วามมั่นใจ 51.9 12 44.4 1 3.7 - -
12 ในการนาความรู้ไปใช้ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างถูกต้องมาก 14 68 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 83.95

ข้ึน

คะแนนรวมท้ังหมด

14

6. ขอ้ เสนอแนะท่ไี ด้จากแบบประเมินความพงึ พอใจ
1. คลิปวิดีโอควรใช้ท่ีตรงกับ Case study เด็กและเยาวชน กรมสุขภาพจิตควรได้รับ

ขอ้ มลู จากศาลเยาวชนและครอบครัวจงั หวดั นครราชสีมาเพือ่ ปรับรปู แบบการบรรยายได้ตรงกับการไปใชจ้ รงิ
2. เสริมสร้างองค์ความรู้สู่การปฏิบัติท่ีชัดเจนข้ึน เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาตนเอง

แกไ้ ขในจดุ ทต่ี นเองยงั บกพร่องอยู่
3. ควรเพ่ิมคลปิ วิดโี อหรือตัวอยา่ ง Case study ในการประกอบการบรรยาย
4. วิทยากร แสดงบทบาทสมมุติ ให้ผเู้ ขา้ รับการอบรม
5. อยากให้ ขอชดุ วีซดี ี (VCD) ใช้ในการอบรมในคร้งั น้จี ากทางวิทยากร 1 ชุด
6. อยากให้มีเอกสาร ประกอบการบรรยายที่ชัดเจนมากกว่านี้ เพ่ือสามารถนาไป

เรยี นรแู้ ละทบทวนได้ดีย่ิงข้ึนในภายหลงั
7. เพิม่ เวลาฝกึ ปฏบิ ัติให้มากขึน้
8. อยากใหม้ รี ายละเอยี ดของเนอ้ื หาหลักสูตรแจกใหก้ ับผเู้ ขา้ อบรม

7. ขอ้ ดี/ประโยชนท์ ีไ่ ด้รับ
1. การจดั อบรมครั้งนี้ เพื่อให้ผเู้ ขา้ รบั การอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจ และทักษะการ

ให้คาปรึกษาการจัดการภาวะเสพตดิ เพ่อื นาไปปฏบิ ัตงิ านในคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมได้ตรงตาม
วัตถุประสงค์ของโครงการคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม ท้ังวิธีการปฏิบัติหรือวิธีการพู ดคุย
การประเมนิ อาการ ประเมนิ ความถ่ีของการใช้ยาหรือสารเสพติด ในบางรายอาจมีภาวะทางจิตร่วมด้วย
โดยภาพรวมนนั้ มปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลตรงตามวัตถุประสงคใ์ นการจัดฝกึ อบรม

2. เนื่องจากจดั การประชุมท่ีโรงแรม มีพนักคอยบริการ รวมถึงมีการตรวจสอบเร่ือง
ระบบไฟ เคร่ืองเสียงและไมโครโฟน ทาให้ในการจัดประชุมในครั้งนี้สามารถสาเร็จลุล่วงผ่านไปด้วยดี
ไม่มีเรื่องภาพเสยี งสัญญาณสะดุด

3. ในการจัดอบรมหลักสูตรท่ี 2 ในครั้งนี้ได้มีการเพิ่มรูปแบบการจัดอบรมทางไกล
ผา่ นจอภาพ ด้วยโปรแกรม (Zoom meeting) ทาให้ผทู้ เ่ี กีย่ วข้องหรอื เจ้าหน้าท่ีในสานักงานศาลเยาวชน
และครอบครวั จังหวดั นครราชสีมา ไดเ้ ข้ารบั ฟังการอบรมและทราบถึงการทางานของคลินกิ ให้คาปรึกษา
ดา้ นจิตสงั คมมากยิ่งขึ้น

8. ปญั หา/อปุ สรรค
1. สถานท่ีจัดการอบรมค่อนข้างมีจากัดในการแบ่งกลุ่มทาให้ไม่สามารถแบ่งเป็น

สัดส่วนห้องไดช้ ดั เจน เมอ่ื แบง่ กลมุ่ จึงทาใหไ้ ด้ยินเสียงจากกลมุ่ อน่ื รบกวนสมาธผิ ฝู้ กึ ปฏิบัติ
2. เวทีในการจัดบรรยายค่อนข้างกว้าง ทาให้ผู้บรรยายไม่ได้รับการตอบสนองจาก

ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรม ขาดการสบตา ขาดการโต้ตอบ ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้บรรยายและผู้เข้ารับการ
ฝกึ อบรมจึงทาให้ส่งผลต่อสมาธแิ ละความจดจอ่ ในการรว่ มกจิ กรรม

3. เน่ืองจากได้มีการถ่ายทอดผ่านระบบ Zoom Meeting ให้กับเจ้าหน้าท่ีภายใน
ศาลเยาวชนและครอบครวั จังหวัดนครราชสมี า จงึ ทาใหต้ ้องมกี ารสลับสัญญาณภาพและเสียง อีกทั้งเกิด
ความยุ่งยากซับซอ้ นให้กับทีมวิทยากรท่มี าบรรยาย จะต้องกดแชรส์ ไลดใ์ นแอปพลเิ คชัน Zoom

15

9. ภาพกิจกรรม การให้คาปรึกษาการจัดการภาวะเสพติดสาหรับผู้ให้คาปรึกษา
คลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมในระบบศาล ระหว่างวันท่ี 15 – 16 มิถุนายน 2565
ณ หอ้ งประชุมนกยงู ชน้ั 4 โรงแรมเซนเตอร์พอยต์ เทอมินอล 21 โคราช จังหวัดนครราชสีมา

16

17

สรุปผลโครงการการใหค้ าปรึกษาครอบครวั สาหรบั ผใู้ หค้ าปรึกษาคลนิ ิกให้คาปรึกษาด้านจติ สังคมในระบบศาล
ระหวา่ งวันที่ 11 – 12 กรกฎาคม 2565

ณ หอ้ งประชมุ ชน้ั 3 ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั นครราชสมี า
***********

คลินกิ ให้คาปรึกษาดา้ นจติ สังคมในศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมาได้จัด
กิจกรรมย่อยที่ 3.3 หลักสูตรที่ 3 อบรมการให้คาปรึกษาครอบครัวสาหรับผู้ให้คาปรึกษาคลินิกให้
คาปรกึ ษาดา้ นจิตสงั คมในระบบศาล ระหว่างวันที่ 11 – 12 กรกฎาคม 2565 ณ ห้องประชุม ชั้น 3
ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมหรือ

ผู้เก่ียวข้องได้เรียนรู้วิธีการให้คาปรึกษาครอบครัว หาสาเหตุปัจจัยที่จะเป็นปัจจัยกระตุ้นและ
ปัจจัยปกปูอง เพ่ือแก้ไขปัญหาเด็กหรือเยาวชนได้อย่างเหมาะสมตามสภาพปัญหาที่แท้จริง อีกทั้ง
สามารถปรับเปล่ียนความคิดและพฤติกรรมเด็กหรือเยาวชนในคดียาเสพติดและคดีความรุนแรง
ในครอบครัวเพื่อไมใ่ ห้เด็กหรือเยาวชนกระทาผิดซ้าและสามารถอยู่ร่วมกับสงั คมได้อย่างปกตสิ ุข

1.กลมุ่ เป้าหมาย

1.1 ผู้เข้ารบั การอบรม

- ผู้พิพากษาสมทบ จานวน 22 ท่าน

1.2 วทิ ยากร จานวน 6 ทา่ น

1.3 คณะทางานและผสู้ ังเกตการณ์

- คณะทางาน จานวน 19 คน

- ผเู้ ข้ารว่ มสงั เกตการณ์ จานวน 1 คน

2.งบประมาณ

งบประมาณกิจกรรมย่อยท่ี 3.3 หลักสูตรที่ 3 อบรมการให้คาปรึกษาครอบครัว

สาหรับผู้ให้คาปรึกษาคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมในระบบศาล ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

จานวน 39,600 บาท

- คา่ ตอบแทนวิทยากร (2 คน x 600 บาท x 1.5 ชม. x 1 ครั้ง) จานวน 1,800 บาท

- ค่าตอบแทนวิทยากร (1 คน x 600 บาท x 2 ชม. x 2 ครงั้ ) จานวน 2,400 บาท

- คา่ ตอบแทนวทิ ยากร (6 คน x 600 บาท x 1 ชม. x 4 ครง้ั ) จานวน 14,400 บาท

- คา่ ตอบแทนวทิ ยากร (3 คน x 600 บาท x 1 ชม.x 1 ครงั้ ) จานวน 1,800 บาท

- คา่ ถา่ ยเอกสาร จานวน 960 บาท

- คา่ อาหารกลางวนั (48 คน x 120 บาท x 1 ม้อื x 2 วนั ) จานวน 11,520 บาท

- ค่าอาหารว่างและเครอื่ งดื่ม (48 คน x 35 บาท x 2 มอ้ื x 2 วนั ) จานวน 6,720 บาท

รวม 39,600 บาท

18

3. วิทยากร

3.1 นายรัฐพล ธูปอินทร์ นายแพทย์ชานาญการ รพ.จิตเวชนครราชสมี าราชนครินทร์
3.2 นางกมลิน อุ่นจติ ติกุล นักจิตวทิ ยาคลินกิ ชานาญการพิเศษ รพ.จิตเวชนครราชสีมาราชนครนิ ทร์
3.3 นางสมพร ธรี พัฒนพงศ์ พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ รพ.จิตเวชนครราชสมี าราชนครินทร์
3.4 นางภัทรพร ร่งุ โรจนน์ ิมิตชัย พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ รพ.จติ เวชนครราชสีมาราชนครนิ ทร์
3.5 นางสาวโชตกิ า คงสตั ย์ นกั จติ วทิ ยาคลนิ ิกปฏิบัติการ รพ.จติ เวชนครราชสีมาราชนครนิ ทร์
3.6 นางสาวญาดา โภคารัตนก์ ุล นักจิตวิทยาคลนิ ิกปฏบิ ัติการ รพ. มหาราชนครราชสีมา

4. ผ้รู บั ผดิ ชอบและคณะทางาน เจา้ พนักงานศาลยุตธิ รรมชานาญการพเิ ศษ
4.1 นางสาวนัชชา เนตรศาสตร์ นักจติ วทิ ยาชานาญการ
4.2 นางสาวยภุ าภรณ์ ไพรบูลย์ นักจติ วทิ ยาปฏิบตั กิ าร
4.3 นางสาวยมลพร จงยิง่ ศริ ิ เจ้าหนา้ ทศ่ี นู ย์ใหค้ าปรกึ ษาแนะนาฯ
4.4 นายพิสษิ ฐ์ มะโน นกั จติ วิทยาประจาคลินกิ ให้คาปรกึ ษาดา้ นจติ สงั คม
4.5 นางสาวกญั ญว์ รา อภเิ มธีธารง

5. ผลการดาเนินงาน
จากการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม ท้ังหมด 22 คน ผลปรากฏว่า

ภาพรวมของการจัดโครงการในครั้งนี้ มีคะแนนความพึงพอใจอยู่ที่ 53 คะแนน จากคะแนนผลรวม
ท้ังหมด 66 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 80.30 อธิบายได้ว่า ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ใน
ส่วนของการนาสถาบันครอบครวั เข้ามาเปน็ แรงผลกั ดนั ใหก้ บั เด็กและเยาวชน หรือในบางกรณที ี่มีปัญหา
ครอบครัวเข้ามาเก่ียวข้องอาจจะต้องให้ผู้ที่ผ่านการอบรม เข้ามามีส่วนช่วยในการแก้ไข บาบัด ฟ้ืนฟู

ไดต้ รงตามสภาพปญั หาของแตล่ ะบคุ คล โดยมผี ลการประเมินความพงึ พอใจรายละเอียด ดังนี้

ระดบั คะแนน (N = 22 คน)

ท่ี หวั ข้อ ดี (3) ปานกลาง (2) พอใช้ (1) ควรปรบั ปรงุ (0)

คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ

1 สถานทจี่ ดั อบรมมีความเหมาะสม 8 36.4 12 54.5 2 9.1 - -

2 ระยะเวลาท่ใี ช้ในการฝึกอบรมมีความเหมาะสม 12 54.5 10 45.5 - - - -
-
3 อุปกรณ์เคร่ืองเสียง/จอภาพ มีความชัดเจน 4 18.2 19 59.1 5 22.7 - -
-
4 อาหารว่างและเครอื่ งด่มื 8 36.4 13 59.1 1 4.5 - -

5 อาหารกลางวนั 9 40.9 13 59.1 - - - -

6 วิทยากรสามารถถ่ายทอดเน้อื หาและอธิบาย 13 59.1 9 40.9 - - - -
ไดช้ ดั เจน เข้าใจงา่ ย

7 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหซ้ ักถามและแสดงความ 16 72.7 6 27.3 - - -
คิดเห็น

วิทยากรสามารถตอบคาถามหรอื ขอ้ สงสยั ของ

8 ผรู้ ับการอบรมได้ ทาใหผ้ ูร้ ับการอบรมเข้าใจ 16 72.7 6 27.3 - - -

เนื้อหานนั้ มากขน้ึ

19

9 สอ่ื หรอื คลปิ วดิ โี อประกอบการบรรยายมคี วาม 8 36.4 14 63.6 - - - -
น่าสนใจ ทนั สมัย และชว่ ยใหเ้ ข้าใจเนือ้ หาดีขนึ้ - -
- -
10 เอกสารประกอบการอบรมครบถว้ น เหมาะสม 6 27.3 15 68.2 1 4.5 - -

11 เน้ือหาที่อบรมมคี วามเหมาะสมกับตาแหน่ง 13 59.1 8 36.4 1 4.5 - -
หน้าทีแ่ ละการนาไปปฏบิ ตั งิ านของท่าน

12 ท่านรสู้ ึกวา่ ได้รบั ความรจู้ ากการเข้าอบรมในครงั้ นี้ 11 50 11 50 - -

หลงั จากท่ไี ดร้ บั การอบรมในคร้งั นี้ ท่านมี
13 ความม่ันใจในการนาความรูไ้ ปใชป้ ฏิบตั งิ าน 10 45.5 11 55 1 4.5

ได้อยา่ งถกู ตอ้ งมากขนึ้

คะแนนรวมท้ังหมด 53 คดิ เป็นร้อยละ 80.30

6. ขอ้ เสนอแนะท่ไี ด้จากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
1. ตัวหนงั สือเลก็ ไม่ชัดเจน ทั้งจอภาพและเอกสารทแ่ี จก
2. ควรมีการจัดฝึกอบรมในหลกั สูตรอ่ืนเพมิ่ เตมิ เพอ่ื เพมิ่ ความรแู้ ละนาไปปฏิบัตงิ าน
3. ระบบเคร่ืองเสยี งยังไม่สมบรู ณ์
4. เสนอให้วิทยากรแสดงบทบาทสมมติ (Role play) เป็นผู้รับคาปรึกษา
5. งบประมาณในการจัดโครงการค่อนข้างมีจากัดแต่คณะทางานสามารถจัดประชุม

ออกมาได้สมบูรณ์เพียงแต่ติดเรื่องเครื่องเสยี งทีต่ ้องไดร้ ับการแก้ไข
6. หลักสูตรที่ได้รับการอบรมสามารถนาไปปรับใช้ในการทางานได้ดีแต่ต้องใช้

ประสบการณ์ในการฝึกฝนเพอ่ื ให้เกดิ ความชานาญมากยิ่งขน้ึ ซง่ึ เปน็ ทักษะของแตล่ ะบุคคล

7. ข้อด/ี ประโยชนท์ ่ไี ด้รับ
1. สามารถจัดอบรมได้ครบ 3 หลักสูตร เพื่อให้ครอบคลุมกับการปฏิบัติหน้าท่ีของ

ผ้ใู ห้คาปรกึ ษาหรอื ผทู้ เ่ี กย่ี วข้องในคลนิ กิ ใหค้ าปรกึ ษาดา้ นจติ สงั คมได้สามารถนาเอาเทคนิค วิธีการต่างๆ
ไปปรบั ใชก้ ับการทางานของคลนิ กิ ให้คาปรกึ ษาด้านจติ สงั คมตอ่ ไป

2. ในการจัดอบรมหลักสูตรที่ 3 ในครั้งนี้ได้มีการเพ่ิมรูปแบบการจัดอบรมทางไกล
ผ่านจอภาพด้วยโปรแกรม (Zoom meeting) ทาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือเจ้าหน้าท่ีในศาลเยาวชนและ
ครอบครัวจังหวัดนครราชสีมาได้เข้ารับฟังการอบรมและทราบถึงการทางานของคลินิกให้คาปรึกษา
ดา้ นจติ สงั คมมากย่ิงข้นึ

3. ทาใหเ้ หน็ ถงึ ความสาคัญของสถาบันครอบครวั ทีเ่ ป็นแรงผลักดนั ในการให้กาลงั ใจ
และสง่ เสริมให้เด็กหรือเยาวชนมีเปูาหมายในชีวิตมากข้ึน

20

8. ปญั หา/อปุ สรรค
1. เน่ืองจากสถานที่จัดการอบรมค่อนข้างจากัด จึงทาให้การจัดโต๊ะและเก้าอี้

ได้ไม่เหมาะสมกับการแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติหรือการฟังบรรยาย ระบบเคร่ืองเสียง/จอภาพมีปั ญหา
เสียงเบา ภาพหนา้ จอไม่ชดั เจน ทาใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมไม่มสี มาธจิ ดจอ่

2. คณะทางานหรอื บุคลากรมีจานวนที่จากดั จงึ ทาให้ไม่สามารถอานวยความสะดวก
ได้เหมาะสมใหก้ ับวิทยากรและผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม

3. เน่ืองจากได้มีการถ่ายทอดผ่านระบบ Zoom Meeting ให้กับเจ้าหน้าท่ี
ภายในศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา จึงทาให้ต้องมีการสลับสัญญาณภาพและเสียง
อีกทัง้ เกดิ ความยุ่งยากซับซ้อนให้กับทีมวิทยากรทีม่ าบรรยาย ต้องกดแชรส์ ไลด์ในแอปพลิเคชัน Zoom

9. ภาพกิจกรรม การให้คาปรึกษาครอบครัวสาหรับผู้ให้คาปรึกษาคลินิกให้คาปรึกษา
ด้านจิตสังคมในระบบศาล ระหว่างวันท่ี 11 – 12 กรกฎาคม 2565 ณ ห้องประชุมช้ัน 3
ศาลเยาวชนและครอบครัวจงั หวดั นครราชสมี า

21

20



22
สว่ นที่ 3 การพฒั นาและยกระดับระบบการทางานคลินกิ ใหค้ าปรกึ ษาด้านจิตสังคม

ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั นครราชสีมา
3.1 บรรยายให้ความรูก้ ารทางานของคลินกิ ให้คาปรกึ ษาดา้ นจิตสงั คม

3.1.1 บรรยายให้ความรู้เรื่องการทางานคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม รวมถึงบทบาท
หน้าท่ีนักจิตวิทยาของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา วันท่ี 8 มิถุนายน 2565
ณ หอ้ งประชุมชนั้ 3 ศาลจงั หวัดพิมาย จังหวดั นครราชสีมา

3.1.2 บรรยายให้ความรู้เร่ืองการทางานคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม รวมถึง
บทบาทหน้าที่นักจิตวิทยาของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา วันท่ี 21 มิถุนายน 2565
ณ หอ้ งสนั ทนาการ ชนั้ 1 ศาลจังหวดั นครราชสีมา จังหวดั นครราชสมี า

23
3.1.3 บรรยายให้ความรู้เร่ืองการทางานคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม รวมถึงบทบาท

หน้าที่นักจิตวิทยาของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา วันที่ 6 สิงหาคม 2565
ณ ห้องประชุมชั้น 1 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั เพชรบรู ณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์

3.1.4 บรรยายให้ความรเู้ รอ่ื งระบบการทางานของศูนย์ให้คาปรึกษาแนะนาฯ ที่บูรณาการ
ร่วมกับงานคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม รวมถึงเผยแพร่โปรแกรมศูนย์ให้คาปรึกษาและโปรแกรม
ประมวลผลแบบประเมนิ ทางจติ วิทยา ในโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “เพราะชีวิตดีได้กว่าที่เป็น
ด้วยพลังใจจาการคัดกรองสู่แผนแก้ไขบาบัดฟ้ืนฟูเด็กและเยาวชน” สานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 1
ระหวา่ งวันที่ 1 - 2 กันยายน 2565 ณ โรงแรมกรุงศรริ ิเวอร์ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

24

3.2 จุดเด่น/ จดุ แข็ง ปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบงานใหย้ ่ังยืน

1. จดุ เดน่ / จุดแขง็
1.1 คลนิ ิกใหค้ าปรึกษาด้านจิตสงั คม ไดบ้ รู ณาการระบบงานรว่ มกบั ศนู ย์ให้คาปรึกษา

แนะนาและประสานการประชุมเพื่อแก้ไข บาบัด ฟื้นฟูเด็ก เยาวชนและครอบครัว ของศาลเยาวชน
และครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา โดยมีการพัฒนาและนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการ
ประเมนิ และคัดกรองด้านจิตวิทยา ระบบรายงานและประเมินผลการให้คาปรึกษาเสนอความเห็นต่อศาล
เพื่อประกอบการพิจารณาคดที ง้ั ในช้ันก่อนฟอู งและหลังฟูอง รวมถงึ ระบบการจดั เก็บขอ้ มลู และสถิตติ า่ งๆ

1.2 ผู้พิพากษาหวั หนา้ ศาล ผู้อานวยการฯ ให้การผลักดันและสนับสนุนการดาเนินงาน
คลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมเพ่ือให้บุคลากรในศาลมีความรู้ ความเข้าใจข้ันตอน วิธีการ และการ
ดาเนินงานร่วมกันทุกกลุ่มงานให้เป็นระบบและมาตรฐานเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เพ่ือใหบ้ รกิ ารได้อย่างรวดเรว็ และมีคณุ ภาพ อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ ประชาชนที่มารบั บรกิ าร

1.3 ศาลเยาวชนและครอบครวั จังหวัดนครราชสีมา มีหน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน
ท่ีดาเนินงานด้านแก้ไข บาบดั ฟนื้ ฟูรว่ มกันมาอยา่ งตอ่ เนื่อง อันไดแ้ ก่

- หนว่ ยงานทหารทขี่ ึน้ ตรงต่อกองทัพภาคท่ี 2 สนับสนนุ การดาเนนิ จัดกจิ กรรมโครงการ
ดา้ นระเบยี บวนิ ยั ฯ

- สานักงานปูองกันและปราบปรามยาเสพติดภาค 3 สนับสนุนการดาเนินงานทั้งใน
ส่วนกิจกรรมโครงการด้านการบาบดั รักษาอาการตดิ ยาเสพติด กิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชน
ตน้ แบบ สนับสนุนอุปกรณต์ รวจหาสารเสพตดิ

- โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ ให้การสนับสนุนการตรวจวินิจฉัยและ
การบาบัดรกั ษาโรคทางจติ เวช

- สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา ท่ีให้การสนับสนุนการประสานงานกับ
โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดนครราชสีมาด้านการส่งต่อเพื่อเข้ารับการบาบัดรักษา
อาการติดสารเสพติด เด็กหรอื เยาวชนทีศ่ าลมีคาสั่งให้เข้ารบั การบาบดั อาการตดิ สารเสพตดิ

- หนว่ ยงานภาคีเครอื ขา่ ยอื่นทัง้ ภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน ที่ดาเนินงานร่วมกัน
ต่อเนอ่ื งตลอดมา

1.4 คลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม ของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด
นครราชสีมา ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ระบบการดาเนินงานให้กับศาลเยาวชนและครอบครัวในภาค 3
และภาคอ่ืนๆ ที่ให้ความสนใจผ่านระบบ Zoom Meeting และได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรบรรยาย
บทบาทหน้าที่และความสาคัญคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมให้กับศาลจังหวัดพิมาย ศาลจังหวัด
นครราชสีมา และศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเพชรบูรณ์ นอกจากนี้มีหลายศาลท่ีให้ความสนใจ
เขา้ ศึกษาดงู านคลนิ ิกใหค้ าปรึกษาด้านจติ สังคมอย่างต่อเนือ่ ง

1.5 ผู้ให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมของศาลเยาวชนและครอบครัว คือ ผู้พิพากษาสมทบ
ท่ีผ่านการอบรมหลักสูตรการให้คารปรึกษาด้านจิตสังคมทั้ง 3 หลักสูตร ซ่ึงเป็นผู้ที่มีประสบการณ์และ
ความรู้ ความสามารถในการให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม รวมถึงการจัดกิจกรรมโครงการเพื่อเสริมสร้าง
ทกั ษะให้กบั เดก็ หรอื เยาวชนในคดียาเสพตดิ

1.6 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา มีพื้นท่ีรับผิดชอบ 32 อาเภอ
มีสถิติคดีท้ังคดียาเสพติด คดีความรุนแรงในครอบครัว คดีอื่นๆ ท่ีมีผลต่อเนื่องการใช้สารเสพติดเข้าสู่

25

ระบบศาล จานวน 588 คน เยาวชนสามารถปรับตัวกลับใจกลับไปอยู่ในครอบครัวได้ ร้อยละ 96.60
และกระทาความผดิ ซา้ เพยี งรอ้ ยละ 4.40 นับวา่ กระบวนการใหค้ าปรกึ ษาดา้ นจติ สงั คมเป็นประโยชน์
ตอ่ การแกไ้ ข บาบัด ฟ้ืนฟเู ด็ก เยาวชนผกู้ ระทาความผดิ ใหก้ ลับตัวกลับใจ เปน็ การคนื คนดสี ู่สังคมตอ่ ไป

1.7 การพัฒนาองค์ความรู้เฉพาะทางด้านการให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมในระบบศาล
อย่างต่อเน่ือง ซ่ึงนับว่าเป็นประโยชน์ต่อการให้คาปรึกษาต่อเด็ก เยาวชนและผู้ปกครองท่ีเข้ารับ
คาปรกึ ษาในคลนิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม ซ่ึงเป็นการจัดอบรมแบบ onsite เน่ืองจากวิทยากรอยู่ใน
พ้ืนท่ีจังหวัดนครราชสีมา ทาให้ติดต่อประสานงานท้ังก่อนจัดอบรมและหลังการอบรมได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ นอกจากน้ียังสามารถขอคาปรึกษาจากทีมวิทยากร กรณีคดีมีปัญหายุ่งยากซับซ้อน
ทม่ี ีความจาเป็นตอ้ งได้รบั การแก้ไข บาบัด ฟื้นฟจู ากผูเ้ ช่ียวชาญเฉพาะด้าน

2. ปญั หา/อุปสรรค
2.1 โครงการให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมสาหรับเด็กหรือเยาวชนในคดียาเสพติดและ

คดคี วามรนุ แรงในครอบครัวในระบบศาล เป็นโครงการที่ดาเนินงานต่อเน่ืองเป็นระยะเวลา 3 ปีงบประมาณ
ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากสานักงานปูองกันและปราบปรามยาเสพติด แต่พบว่า การจัดสรร
เงินงบประมาณในแต่ละปีมีความล่าช้าอย่างน้อย 1 – 2 เดือน (เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน)
ส่งผลต่อการจัดจ้างนักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห์ประจาคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมในช่วง
ดังกล่าว และเมื่อได้รับจัดสรรเงินงบประมาณต้องดาเนินการ เปิดสอบคัดเลือกบุคลากรจ้างเหมา
ในตาแหน่งนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ ประจาคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมใหม่
ทุกปีงบประมาณ ส่งผลให้การดาเนินงานไม่ต่อเน่ือง นอกจากน้ี การเปิดรับสมัครบุคลากรใหม่ทุกปี
เป็นการสิ้นเปลืองทรัพยากร มีลาดับข้ันตอน ล่าช้า และต้องฝึกให้ผู้ที่เข้ารับตาแหน่งเข้าใจระบบการ
ดาเนินงานอยา่ งน้อยตอ้ งใช้ระยะเวลา 2 – 3 เดอื น

2.2 การโยกย้ายผู้บริหารศาล อาจมีความไม่ต่อเน่ืองในระบบบริหาร เน่ืองจากต้องมี
การเสนอแนวทางการดาเนินงานต่อผบู้ รหิ ารศาลทกุ ปที ี่มีการโยกย้าย

2.3 การดาเนินงานเป็นการขับเคล่ือนจากผู้ปฏิบัติสู่นโยบาย ทาให้การพัฒนา
ระบบงานเป็นด้วยความลา่ ช้า

3. ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาระบบงานใหย้ ่ังยนื
3.1 ควรมีนโยบายให้ขับเคลื่อนการดาเนินงานคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมให้เป็น

ระบบและมาตรฐานเดียวกนั ในส่วนของศาลเยาวชนและครอบครวั
3.2 ควรมีการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง และข้อมูลสถิติการดาเนินงานด้านคลินิกให้

คาปรึกษาดา้ นจิตสังคม เป็นประโยชนต์ ่อการประกอบการพจิ ารณาคดีของผู้พพิ ากษา หรือประกอบการ
จัดทาแผนแก้ไข บาบัด ฟ้ืนฟู หรือเป็นประโยชน์เด็ก หรือเยาวชนผู้กระทาความผิด หรือเป็นประโยชน์
สงั คมประเทศชาติอยา่ งไร

3.3 ควรมกี ารต่อยอดและพฒั นาระบบงานคลินกิ ให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมในส่วนของ
ภาคเี ครอื ขา่ ยภาคชมุ ชน ใหข้ ้อมูลความรู้เรื่องคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม รวมถึงการกากับติดตาม
ในกรณีทมี่ กี ารจัดต้งั ผู้กากบั ดแู ล เพ่อื สอดสอ่ งดูแลเดก็ หรือเยาวชนได้อย่างใกล้ชิด และสามารถประเมิน
สภาพความเปน็ อยู่ เปน็ แนวทางในการขยายภาคเี ครอื ข่ายใหค้ รอบคลุมวตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ตั้ง
โครงการคลินกิ ใหค้ าปรึกษาดา้ นจติ สังคม

26

3.4 ควรปรับเปลี่ยนโครงการให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาของเด็กและเยาวชนใน
ปจั จบุ ัน ปรับหลกั สูตรเนน้ ฝึกทกั ษะ ปรบั เปล่ยี นความคิดและพฤติกรรม เพ่อื ใหเ้ ด็กหรือเยาวชนสามารถ
กลบั ไปใช้ชวี ติ อยใู่ นกฎเกณฑข์ องสังคมได้อยา่ งปกติสุข

3.5 กรณีศกึ ษาทีน่ ามาประกอบการอบรมทง้ั 3 หลกั สูตร หากเปน็ ศาลเด็กหรอื เยาวชน
และครอบครัว ควรเป็นกรณีตัวอย่างที่เป็นเด็กหรือเยาวชนมากกว่าที่จะเป็นกรณีเดียวกันกับหลักสูตร
การอบรมของศาลจงั หวดั และศาลแขวง

3.3 การพฒั นาต่อยอดระบบงานภาคเี ครอื ขา่ ยภาคชมุ ชน
เน่ืองจากศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมาเป็นศาลนาร่องท่ีเปิดคลินิก

ให้คาปรกึ ษาดา้ นจิตสังคมมาเป็นระยะเวลา 3 ปีงบประมาณ ซ่ึงได้ทางานและประสานงานกบั หน่วยงาน
ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนโดยเน้นการทางานกับผู้ปฏิบัติงานหาแนวทางในการทางานร่วมกันเพื่อ
ช่วยเหลือเด็กหรือเยาวชนในคดียาเสพติดและคดีความรุนแรงในครอบครัว ปัจจุบันคดียาเสพติด
และคดีความรุนแรงในครอบครัวมีเพ่ิมมากขึ้น ท้ังสังคมส่ิงแวดล้อมหรือตัวเด็กหรือเยาวชนเองสามารถ
เปน็ สาเหตใุ ห้กอ่ คดไี ด้ดว้ ยเชน่ กนั ท้ังนี้ ในปงี บประมาณ พ.ศ.2566 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั
นครราชสีมา ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของหน่วยงานภาคีเครือข่ายภาคชุมชน ที่จะเข้ามาช่วยสอดส่อง
พฤติกรรมเด็กภายในชุมชนรวมถึงสอดส่องพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง สภาพครอบครัว และ
สภาพชุมชน เด็กหรือเยาวชนจะสามารถปรับเปล่ียนความคิดและพฤติกรรมตนเองไปในทางที่ดีได้
จึงจาเป็นที่ต้องอาศัยภาคีเครือข่ายภาคชุมชนทั้งผู้ใหญ่บ้าน กานัน รวมถึงผู้กากับดูแลของ
สานักศาลยุติธรรม ท่ีได้มีการจัดต้ังผู้กากับดูแล ดังน้ัน เพ่ือยกระดับการดาเนินงานคลินิกให้คาปรึกษา
ด้านจติ สังคมในศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวัดนครราชสีมา จึงได้บูรณาการทางานร่วมกับหน่วยงาน
ภาคีเครือข่ายท้ังภายในและภายนอกกระบวนการยุติธรรมด้วยการกากับติดตามพฤติกรรมเด็กหรือ
เยาวชนผ่าน แอปพลิเคชัน Kids House Tracking ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล

27
3.4 ผังกระบวนการปฏบิ ตั ิงานดา้ นการแกไ้ ข บาบดั ฟื้นฟู แบบบูรณาการ

28

29

30

31

32

33

3.6 ภาพกจิ กรรมโครงการ
ภาพกิจกรรมโครงการท่ีคลินิกให้คาปรึกษาด้านจิตสังคมในศาลเยาวชนและครอบครัว

จังหวัดนครราชสีมาได้บูรณาการร่วมกับงานศูนย์ให้คาปรึกษาแนะนาและประสานการประชุม
เพ่ือแก้ไข บาบัด ฟ้ืนฟูเด็ก เยาวชนและครอบครัว , ศูนย์ให้คาปรึกษาเพ่ือแนะนาช่วยเหลือ
ผู้เสียหายและครอบครัว ผู้พิพากษาสมทบ รวมถึงหน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน
และ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ที่ผ่านมา ได้มีการจัดกิจกรรมโครงการร่วมกัน
เช่น โครงการครอบครัวสัมพันธ์ , โครงการบาบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพทางสังคม ,
โครงการครอบครัวอุน่ ใจได้ลกู หลานคืน จังหวดั บรุ รี ัมย์ , โครงการเยาวชนไทยหวั ใจพุทธ

34
3.7 QR Code วิดิทศั น์เผยแพร่ผลสัมฤทธก์ิ ารดาเนนิ งานคลินิกใหค้ าปรกึ ษาด้านจิตสงั คม



31


Click to View FlipBook Version