รายงานวชิ าอาชีวอานามยั และความปลอดภยั
เรื่อง ความรทู้ ว่ั ไปในการบริหารงานอาชวี อนามัยและความปลอดภยั
จดั ทำโดย
นายปฎวิ ัตร พนิ จิ
แผนก ช่างยนตร์ ชย.1/2 เลขที่ 23
เสนอ
อาจารย์ สุประวตั ิ ขนั ทอง
รายงานเลม่ นเ้ี ปน็ สว่ นหน่ึงของการเรียน
วิชาอาชีวอานามัยและความปลอดภัย
ภาคเรยี นท่ี 1/2564
คำนำ
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเพื่อให้ผู้อ่านได้ศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเพื่อให้ผู้อ่านได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็น
ประโยชนก์ ับการใช้ชีวิต
ผู้จดั ทำหวังว่ารายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหรือนักเรียนนกั ศึกษาทกี่ ำลังหาข้อมูลเร่ือง
นอี้ ยหู่ ากมีข้อแนะนำหรอื ข้อผดิ พลาดประการใดผ้จู ัดทำขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่ีนดี้ ว้ ย
นายปฎิวัตร พินิจ
สารบัญ หนา้
เร่ือง 1
ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั อาชวี อนามัยและความปลอดภยั 2
3
1.1 ขอบเขตงานอาชีวอานามยั และความปลอดภยั
1.2 สภาวะการทำงานไม่ปลอดภยั และการสง่ เสริมความปลอดภัย
1.3 สาเหตกุ ารเกิดและการทำใหเ้ กดิ อุบตั ิเหตุ
ความรูเ้ บ้อื งต้นเกย่ี วกับอาชีวอนามัยและความปลอดภยั
1.1 ขอบเขตงานอาชีวอนามัยและความปลอดภยั
ขอบเขตงานอาชีวอนามัยและความปลอดภยั
การดำเนินการโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของ
ผู้ปฏิบัติงานให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดโรคปลอดภัยมีสภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริการที่จัดขึ้นในสถานประกอบการ
โดยมจี ุดมุง่ หมายทจี่ ะส่งเสรมิ และดำรงไวซ้ ง่ึ สุขภาพอนามัยท่ีดีของผู้ประกอบอาชีพรวมทัง้ การควบคุมโรค
ตลอดจนอนั ตรายอันเกดิ จากอุปกรณแ์ ละเคร่ืองจักรในการปฏบิ ัตงิ าน
1.1.1 ขอบเขตตามข้อกำหนดของ WHO และ ILO องค์การอนามัยโลก (World Health
Organization – WHO) WHO เป็นหน่วยงานที่มีคว. 4/7 เฉพาะทางในกฎบัตรของสหประชาชาติและ
ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2491 โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อประสานความร่วมมือระหว่างพวกเขาและหน่วยงานอื่น
เพ่ือสง่ เสริมสขุ อนามยั ของทกุ คน 5 ประการ
1. การส่งเสริมสุขภาพ (Promotion) และธำรงรักษาไว้ (Maintenance) เพื่อให้ทุกคนทุกอาชีพ
มสี ขุ ภาพร่างกายจติ ใจทส่ี มบรณู ์
2. การป้องกัน (Prevention) สุขภาพคนทำงานไม่ให้เสื่อมโทรมหรือผิดปกติจากสาเหตุอัน
เน่อื งจากการทำงาน
3. การปกปอ้ งคมุ้ ครอง (Protection) คนทำงานหรอื ลูกจา้ งไมใ่ ห้ทำงานทเี่ สย่ี งอนั ตราย
4. จัดคนงานใหท้ ำงานในสง่ิ แวดลอ้ มทเี่ หมาะสมกบั ความสามารถของร่างกายและจิตใจ
5. ปรบั งานใหเ้ หมาะสมกับคนและปรับคนให้เหมาะสมกบั สภาพการทำงาน
1.1.2 ขอบเขตในศาสตรแ์ ละงานในสาขาวิชาต่างๆ
1. งานอาชีวศาสตร์ซึ่งมีนักอาชีวสุขศาสตร์ (Occupational, hygienist) ทำหน้าที่สืบค้นตรวจ
ประเมนิ เพือ่ ควบคมุ สงิ่ แวดล้อมการทำงาน
2. งานอาชวี นริ ภัย (Occupational Safety) บุคลากรประกอบดว้ ยนักวิทยาศาสตร์อาชีวอนามัย
และความปลอดภัยวิศวกร ความปล อดภัยเจ้าหน้ าที่ความปล อดภัยใน กาารทำงาน นักการ ยศ าส ตร์
(Argonomist) มีหน้าทตี่ รวจสภาพการทำงานและสง่ิ แวดล้อมการทำงานเพื่อประเมินป้องกันและควบคุม
อบุ ัตเิ หตุ
3. งานอาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Medicine) บุคลากรประกอบด้วยแพทย์อาชีวอนามัย
พยาบาลอาชวี อนามยั ทำหน้าทใ่ี นการตรวจสอบรา่ งกายและรักษาโรคแก่คนทำงาน
4. งานเวชกรรมฟื้นฟู (Rehabilitation) ประกอบด้วยแพทย์เฉพาะสาขานักกายภาพบำบัด
นักวิจัยอุตสาหกรรมทำหน้าท่ฟี ้นื ฟสู ภาพความพิการของทำงาน
1.2 สภาวะการทำงานไมป่ ลอดภยั และการส่งเสรมิ ความปลอดภัย
สภาวะการทำงานไม่ปลอดภยั และการเสรมิ สรา้ งความปลอดภยั
1.2.1 สภาพการทาํ งานทีไ่ ม่ปลอดภยั สภาวะการทำงานที่ไมป่ ลอดภัยเกิดข้นึ จากหลายสาเหตุและ
จากกความไม่เหมาะสมของปจั จัยตา่ งๆปจั จัยสำคญั สว่ นใหญเ่ กดิ จากพนักงานและสิ่งแวดล้อมการทำงาน
1. เกิดจากพนักงาน ได้แก่ การขาดความรู้ประสบการณ์ความชำนาญและขาดความเข้าใจ
ในงานท่ีทำมีเจตคติและจิตสำนึกทไ่ี ม่ปลอดภยั
2. เกิดจากส่ิงแวดลอ้ มการทํางาน ได้แก่ สภาพการทำงานไม่ปลอดภัยหรอื มีความผิดพลาด
ของสิง่ ต่างๆ ไดแ้ ก่ เคร่ืองจักรกลอุปกรณ์เคร่ืองมือเครื่องใช้เสยี งแสงรังสีความสั่นสะเทอื นความร้อนความ
เย็นอากาศท่ีหายใจกา๊ ซไอสารฝุน่ รวมถงึ สภาพการทำงานที่ซำ้ ซากเร่งรนี งานกะงานลว่ งเวลาท่ีไม่เหมาะสม
1.2.2 การเสริมสรา้ งความปลอดภยั ดว้ ยหลกั 3E
โรคอุบัติภัย การบาดเจ็บ การสูญเสียมีผลต่อพนักงานทรัพย์สินผสผลิตและคุณภาพงานความเสียหายท่ี
เกดิ ขนึ้ น้ันสามารถควบคมุ ไดโ้ ดยการบรหิ ารจัดการให้มคี วามปลอดภยั ในงาน
1. Engineering (วิศวกรรมศาสตร์) คือการใช้ความรู้วิชาการด้านวิชาวิศวกรรมศาสตร์ใน
การคำนวนและออกแบบเครือ่ งจักรเคร่ืองมือทีม่ ีประสิทธิภาพการใช้งานท่ีปลอดภัยทีส่ ดุ การติดตั้งเครื่อง
ป้องกันอันตรายให้แก่ส่วนท่ีเคล่ือนไหวหรืออันตรายของเครื่องจกั รการวางผังโรงงานระบบไฟฟา้ แสงสว่าง
เสียงการระบายอากาศเป็นต้น
2. Education (การศึกษา) คือการให้การศึกษาหรือการฝึกอบรมและแนะนำคนงาน
หัวหน้างานตลอดจนผ้ทู ีเ่ กีย่ วข้องในการทำงานใหม้ คี วามรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการป้องกนั อบุ ัติเหตุ
3. Enforcement (การออกกฎข้อบังคบั ) คอื การกำหนดวิธีการทำงานอย่างปลอดภัยและ
มาตรการบังคับควบคุมให้คนงานปฏิบัติตามเป็นระเบียบปฏิบัติที่ต้องประกาศให้ทราบทั่วกันหากผู้ใดฝ่า
ฝนื หรอื ไม่ปฏิบตั ิตามจะต้องถูกลงโทษเพื่อใหเ้ กิดความสำนึกและหลีกเลย่ี งการทำงานที่ไม่ถูกต้องหรือเป็น
อันตราย
1.3 สาเหตุการเกดิ และการทำให้เกดิ อุบตั ิเหตุ
สาเหตุการเกิดและการทำให้เกิดอุบัติเหตุอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในภาวะการจ้างงานก่อให้เกิดความ
สูญเสียต่อชีวิตคนเครื่องจักรสิ่งของในเวลาทันทีทันใด / ช่วงเวลาถัดไปในสถานท่ีทำงาน / นอกสถานที่
ทำงาน
13.1 สาเหตพุ น้ื ฐานหรือสาเหตทุ เ่ี อ้อื อำนวยให้เกดิ อุบตั เิ หตุ
สาเหตุพื้นฐานหรือสาเหตทุ ี่เอื้ออำนวยให้เกิดอุบัติเหตุ (Basic or Contibuting causes) มี 3 ประการตั้ง
ตอ่ ไป
1. เน่ืองจาการบริหารการจดั การและการควบคุมงานความปลอดภยั ขาดประสิทธภิ าพ
1. เน่อื งจากการบรหิ ารจัดการและการควบคุมงานความปลอดภยั ขาดประสทิ ธภิ าพ
2. ไมม่ กี ารสอนหรอื อบรมเก่ียวการความปลอดภยั
3. ไมไ่ ด้วางแผนความปลอดภยั ในการทำงาน
4. ไม่ได้ทำการแกไ้ ขจุดท่ีเปน็ อันตราย
5. ไม่จัดอปุ กรณค์ ุม้ ครองความปลอดภัยให้แก่คนงาน
2. เน่อื งจากสภาวะของจิตใจคนไม่ปกตหิ รอื ไมเ่ หมาะสม
1. ขาดความร้หู รอื จติ สำนึกความปลอดภัย
2. มีทศั นคติไม่ดแี ละไม่ถกู ต้อง
3. ภาวะจิตใจตอบสนองชา้ เกนิ ไป
4. ขากสตแิ ละความตง้ั ใจในการทำงาน
5. ไมส่ ามารถควบคุมอารมได้
6. ต่ืนเต้นขวัญออ่ นกลวั ตกใจงา่ ย
3. เน่อื งจากสภาวะร่างกายของบคุ คลไมป่ กติ
1. ออ่ นเพลียเม่ือนลา้
2. หูหนวก
3. สายตาไมด่ ี
4. สมภาพรา่ งกายไม่เหมาะกบั งาน
5. โรคหวั ใจ
1.3.2 สาเหตุทที่ ำใหเ้ กดิ อุบัติเหตุ (mrmediate causes)
1. การกระทำทีไ่ มป่ ลอดภยั ของบุคคล (Unsafe Act)
1. ปฏบิ ัติงานโดยไม่มหี น้าทร่ี ับผิดชอบโดยตรง
2. บำรงุ รักษาซ่อมแซมเคร่อื งจกั รโดยไมห่ ยุดเครือ่ ง
3. ถอดเคร่อื งป้องกนั อนั ตราย (Safety Guard) ออกแลว้ ไม่ใสห่ รอื วางใจไมใ่ ช่
4. ทำงานหรอื ใชเ้ ครอื่ งจักรเรว็ กวา่ อตั ราที่กำหนด
5. ไม่ใสเ่ ครื่องป้องกนั อันตรายส่วนบุคคลขณะปฏิบัติงาน
6. เลน่ ตลกคะนองหยอกล้อกันในขณะทำงาน
7. ไมป่ ฏบิ ัตงิ านกฎความปลอดภัย
8. สวมใส่ชุดทำงานไม่รัดกุมหรือใส่เครือ่ งประดบั ทเี่ อ้ืออำนวยให้เกดิ อบุ ัตเิ หตุ
9. ใชเ้ คร่อื งมอื ชำรดุ หรือใชไ้ มถ่ ูกวิธีและไมเ่ หมาะกับงาน
10. ด่มื สรุ าหรอื ของมีนเมาขณะปฏิบัติงาน
2. สภาพการทำงานทีไ่ มป่ ลอดภัย (Unsafe Condition)
1. อุปกรณก์ ารผลิตเครอื่ งจักรอยใู่ นสภาพชำรุดไม่มีเคร่อื งป้องกันอันตราย
2. โครงสรา้ งของอาคารไมม่ ัน่ คงแขง็ แรง
3. ขาดความวางแผนจัดระเบียบรักษาความสะอาดในโรงงาน
4. การต้งั กองวสั ตุหรอื สิ่งซ่ึงไม่เปน็ ระเบียบและไม่ถูกวธิ ี
5. การจัดสารเคมที เ่ี ปน็ พิษวัตถรุ ะเบิด
6. สถานที่ทำงานไมป่ ลอดภยั เช่นเสยี งดัง