The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม 2 ชุมชนจัดการตนเอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เล่ม 2 ชุมชนจัดการตนเอง

เล่ม 2 ชุมชนจัดการตนเอง

ภาคผนวก 51 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก 3. ส่งเส่ริิมมาตรการ/กิิจกรรมเชิิงป้้องกัันทั้้งระ�ดัับบุุคคลและชุุมชน - การออกกำำลัังกายเป็็นประจำำ ที่่�เหมาะสมกัับผู้้�สููงอายุุ เช่่น การเดิินบนพื้้�นราบ อย่่างน้้อยสััปดาห์์ละ 3 ครั้้� ง นานครั้้� งละ 30 นาทีี แล้้วค่่อยๆ เพิ่่� มระยะเวลา และ เพิ่่� มความถี่่�ในการออกกำำลัังกาย - นอนพัักผ่่อนให้้เพีียงพอ ไม่่เครีียดกัับงาน ควรทำำสมาธิิ หรืือฟัังเพลงเบาๆ - ควบคุุมน้ำ ำ หนัักไม่่ให้้อ้้วน โดยใช้้วิิธีีออกกำำลัังกายและ รัับประทานอาหารที่่�ถููกต้้อง เช่่น งดขนมหวาน, ผลไม้้ รสหวานจััด เพราะหััวใจของคนอ้้วนต้้องทำำงาน มากกว่่าปกติิ - การตรวจเช็็คสุุขภาพอย่่างน้้อยปีีละ 1 ครั้้� ง แต่่ถ้้ามีี อาการเจ็็บแน่่นหน้้าอกเป็็นๆ หายๆ ควรปรึึกษาแพทย์์ 4. ประเมิินโอกาสเสี่่ยงสี่่�ต่่อการเกิิดโรคหััวใจและหลอดเลืือดทุุกปีี ด้้วยเครื่่�องมืือ CVD risk score 5. วางแผนการจััดการสุุขภาพรายบุุคคลเพื่่�อเยี่่�ยมบ้้านติิดตาม คำำ�แนะนำำ�หรืือ คำำ�ปรึึกษาการปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรมสุุขภาพและการจััดการตนเอง ประเมิินปััจจััยเสี่่ยง/ สี่่� การปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรมทุุกๆ 6-12 เดืือน และมากขึ้้�นในกรณีที่่�เป็็นกลุ่่มเสี่่ยงสี่่�สููง ดัังนั้้� น การจััดการส่่งเสริิม ป้้องกััน ควบคุุมโรคหลอดเลืือดหััวใจ จึึงต้้องดำำเนิินการ คััดกรองผู้้�สููงอายุุในชุุมชนทุุกคน เพื่่�อค้้นหากลุ่่มเสี่ ่� ยงต่่อการเกิิดโรคหลอดเลืือดหััวใจ และ พััฒนามาตรการหรืือกิิจกรรมลดปััจจััยเสี่ ่� ยงและการป้้องกัันการเกิิดภาวะหััวใจขาดเลืือด ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ เพราะจากการศึึกษาวิิจัยยืั ืนยัันแน่ชั่ ัดว่่าการลดอัตรัาตายจากโรคหลอดเลืือดหัวัใจ ส่ว่ นใหญ่่เกิิดจากการลดปััจจัยัเสี่ย ่� งอย่่างมีีประสิิทธิิภาพในประชากรกลุ่่มที่่�ยัังไม่่เป็็นโรค และ ยัังพบว่่าการรัักษาในกลุ่่มผู้้�ป่วย่ ที่่�เป็็นหรืือสงสัยว่ั ่าเป็็นโรคหลอดเลืือดหัวัใจมีีอัตรัาการรอดชีีพสูงู มีีเพีียงร้้อยละ 10 ที่่�รัักษาในภาวะวิิกฤตฉุุกเฉิิน ทำำ ให้้ผู้้�สููงอายุุรอดชีีวิิต


52 การติิดตาม ดููแล หลัังผู้สู้�ูงอายุุกลัับมาพัักรัักษาตััวที่่บ้้า�น กลุ่่มนี้้ถื�ือเป็็น “ผู้้�สูงอาูยุุกลุ่่มเสี่่�ยงสูงอาูจเกิิดภาวะหััวใจขาดเลืือดเฉีียบพลััน ชนิิด STEMI” เป็็นผู้้�มีีประวััติิเคยเป็็นภาวะหัวัใจขาดเลืือดเฉีียบพลััน ชนิิด STEMI ซึ่่ง�ก่่อนผู้้�สููงอายุุ ออกจากโรงพยาบาลจะได้้คำำแนะนำำการปฏิิบััติิตััวจากบุุคลากรทางการแพทย์์/คลิินิิกผู้้�สูงู อายุ พรุ้้อมกัับส่่งข้้อมููลประวััติิการรัักษาตััวของผู้้�สููงอายุุมาที่่� รพ.สต. ด้้วย ดัังนั้้� น ชุุมชน จััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สูงอายุุฯ ู ควรวางแผนตามแนวทาง “การจััดการช่่วงที่่� 3 การติิดตาม ดููแล หลัังผู้้�สููงอายุุกลัับมาพัักรัักษาตััวที่่�บ้้าน” โดยผู้้�สููงอายุุกลุ่่มนี้้�จะต้้องได้้รัับการ “วางแผน จััดการสุุขภาพผู้้�สููงอายุุรายบุุคคล (individual plan)” และดำำเนิินกิิจกรรมหรืือมาตรการตาม “แนวทางการส่่งเสริิมป้้องกัันภาวะหััวใจขาดเลืือดเฉีียบพลััน ชนิิด STEMI” นอกจากนั้้� น ดำำเนิินการ “ป้้องกัันการเป็็นซ้ำำ ในผู้้�สููงอายุุที่่�มีีประวััติิเป็็นภาวะหััวใจขาดเลืือดเฉีียบพลััน ชนิิด STEMI” ชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุจะต้้องลงทะเบีียนและมีีระบบการติิดตาม เยี่ ่�ยมบ้้าน เพื่่�อติิดตามและแนะนำำการรัับประทานยาอย่่างต่่อเนื่่�อง โดยเฉพาะยาแอสไพริิน และยาโควพิิโดเกล (ASA, Clopidogrel) ในผู้้�ป่่วยที่่�ได้้รัับการขยายหลอดเลืือดหััวใจและใส่่ ขดลวดค้ำ ำ ยัันต้้องรัับประทานยาต้้านเกร็็ดเลืือดทั้้� ง 2 ชนิิดอย่่างน้้อย 1 ปีีและรัับประทานยา แอสไพริิน ชนิิด 81 มิิลลิิกรััม ตลอดชีีวิิต เพื่่�อป้้องกัันการเกิิดขดลวดอุุดตัันซ้ำ ำ และแนะนำำ การปรัับเปลี่่� ยนปััจจััยเสี่ ่� ยง (ควบคุุมระดัับน้ำ ำ ตาลในเลืือด ความดัันโลหิิต และการหยุุดสููบ บุุหรี่่�) รวมทั้้� ง ให้้ผู้้�ป่่วยได้้รัับวััคซีีนป้้องกัันไข้้หวััดใหญ่่เพื่่�อป้้องกัันความรุุนแรงเมื่่�อเกิิดภาวะ หััวใจขาดเลืือดเฉีียบพลัันซ้ำ ำอีีก ด้้วยเหตุนีุ้้�ผู้้�สูงอายุุ ูทุุกคน โดยเฉพาะกลุ่่มเสี่ย ่� งสูงและกู ลุ่่มที่่�เคยเป็็นโรคนี้้ม�าก่่อน มีี แนวทางป้้องกัันโรคหลอดเลืือดหััวใจ สามารถสรุุปได้้ดัังนี้้� • สำำรวจตััวเองว่่ามีีปััจจััยเสี่ ่� ยงอะไรบ้้าง (โดยเฉพาะ เบาหวาน ความดััน ไขมััน การสููบบุุหรี่่�) • หากมีีปััจจััยเสี่ ่� ยงให้้รีีบควบคุุมปััจจััยเสี่ ่� ยงให้้อยู่่ในเกณฑ์์ที่่�ปลอดภััย ยกเลิิก พฤติิกรรมเสี่ย ่� ง เช่่น การหยุุดสููบบุุหรี่ ่� ควบคุุมค่่า BMI < 23, รอบเอว < 90 cm, ควบคุุมระดัับน้ำ ำ ตาลในเลืือด < 100 mg% ค่่าความดัันโลหิิต BP < 140/90 mmHg, ระดัับ cholesterol < 200 mg% , LDL-C <70 mg % ในผู้้�สูงอายุุที่่� ูยัังไม่่ เคยเป็็นโรคหัวัใจ ACS เละ LDL-C < 55 mg% ในผู้้�สูงอายุุที่่�เ ูป็็นโรคแล้้ว ทั้้� งชนิิด STEMI และ NSTMI, HDL-C > 50 mg% TG < 150 mg% • เสริิมสร้้างพฤติิกรรมที่่�มีีประโยชน์์โดยการออกกำำลัังกายที่่�เหมาะสมกัับสภาพ ผู้้�สููงอายุุและบริิบทพื้้�นที่่� เช่่น การเดิินบนพื้้�นราบ ครั้้� งละ 30 นาทีี เป็็นอย่่างน้้อย 5 ครั้้�งต่่อสััปดาห์์งดหวาน มััน เค็็มจััด ทานผัักผลไม้้ ควบคุุมน้ำ ำ หนััก และ ลดความเครีียด หรืือตามแนวทาง 3อ.2ส.


53 อสม./ผู้้�ดููแลผู้้�สูงอายุุ (CG) ู (CVD risk score ไม่่ใช้้ผล Lab) ช่่วงที่่� 1 : ส่งเ่สริิม ป้้องกััน ควบคุุม ช่่วงที่่� 2 : การจััดการเมื่่�อเกิิดภาวะฉุุกเฉิิน ช่่วงที่่� 3 : การติิดตาม ดููแล นำำส่งโรง ่พยาบาลในพื้้�นที่่�/ระบบช่่องทางด่่วน (Fast Track) ผู้้�สูงอายุุออก ูจากโรงพยาบาลมาพัักรัักษาตััวที่่บ้้ �าน ตามแนวทาง ดำำเนิินการกลุ่่มเ สี่่ ย สี่่� งสููงที่่�ไ ม่่ต้้องใช้้เค รื่่�องมืื อ คััดกรอง เมื่่�อเกิิดเหตุสุงสัยัเป็็นภาวะเกี่่ย�วกัับโรคหลอดเลืือดหััวใจ (ภาวะหััวใจขาดเลืือดเฉีียบพลััน ชนิิด STEMI) (2)ผู้้�สูงอายุุ ูทั่่วไป� เสี่่ยสี่่�งปานกลาง (10-<30%) เสี่่ยสี่่�งสูงและสููงูอัันตราย (≥30%) เสี่่ยสี่่�งต่ำ ำ� (<10%) จััดการตาม “แนวทางการส่่ง เสริิมป้้องกััน STEMI + การส่่งเสริิมความรู้้� ความเข้้าใจ ปััจจััยเสี่่�ยง สััญญาณเตืือน และ แนวทางการร้้องขอความช่วย่เหลืือ 1669 “ทั้้�งรายบุุคคลและมาตรการชุุมชน” เสี่่�ยงสููงไม่มี่ ีอาการ จััดการเหมืือนกลุ่่มเสี่่�ยงปานกลาง + แนวทางดำำเนิินการกลุ่่มเสี่่�ยงสููงที่่� ไม่ต้้ ่ องใช้้เครื่่�องมืือคััดกรอง + ส่่งพบแพทย์์GP Med และ Cardiologist ตามลำดัำ ับ สำำหรัับ เสี่ย่�งสูงูอัันตราย ปฏิิบัติิัเพิ่่ม�เติิม ดัังนี้้� 1) ส่่งตรวจหาระดับ ั LDL cholesterol และกำำหนดเป้้าหมายการ ควบคุุมระดัับ LDL ให้้ได้้ตามเป้้า หมาย LDL-C < 70 mg% 2) ตรวจ EKG เพื่่�อค้้นหาภาวะ หััวใจขาดเลืือดไปเลี้้�ยงและค้้นหา ภาวะหััวใจเต้้นผิิดปกติิชนิิด new AF เพื่่�อค้้นหาสาเหตุุภาวะหลอด เลืือดสมองขาดเลืือดไปเลี้้�ยง “ทั้้� งรายบุุคคลและมาตรการ ชุุมชน” เน้้นการจััดการฯ รายบุุคคล จััดการเหมืือนกลุ่่มเสี่่�ยงต่ำำ + 1) ตรวจระดัับไขมัันในเลืือดปีีละ 1 ครั้้� ง (ถ้้าผล lab ผิิดปกติิส่่งเข้้า NCD คลิินิิก) 2) ประเมิิน CVD risk score ซ้ำำปีีละ 1 ครั้้ง� “ทั้้� งรายบุุคคลและมาตรการชุุมชน” เน้้นการจััดการฯ รายบุุคคล ผู้้�พบเหตุุหากมั่่�นใจเป็็นภาวะเกี่่�ยวกัับโรคหลอดเลืือดหััวใจ โทรแจ้้ง 1669 แต่่หากไม่มั่่�นใจ โทรแจ้้ง อสม. หรืือ รพ.สต. หรืือ “ชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุ” พร้้อมกัับนำำเครื่่�อง AED ไปที่่�เกิิดเหตุุ(หากมีี) (1) กลุ่่มเสี่่�ยงสููง (ไม่ต้้ ่องคััดกรอง) ได้้แก่่ 1) ผู้้�ที่่�มีีประวััติิโรคหลอดเลืือดหััวใจ (CAD) /ผู้้�ป่่วยที่่�เคยเกิิดภาวะหััวใจขาดเลืือดเฉีียบพลััน (post ACS ทั้้� งชนิิด STEMI และ ชนิิด NSTEMI) 2) ผู้้�ป่่วยเบาหวานชนิิดที่่� 2 และ 3) ผู้้�ป่่วยไตเรื้้�อรัังตั้้� งแต่่ระยะที่่� 3 ขึ้้�นไป ขั้้นตอนก� ารดำำ�เนิินงานชุุมชนจััดการตนเองสำ�หำรัับภาวะหััวใจขาดเลืือดเฉีียบพลัันชนิิด STEMI เสี่่�ยงสููงมีีอาการ (ไม่่เฉีียบพลััน) }


54 5.3 กระดููกสะโพกหััก (Hip fracture) ชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สูงอายุุฯ ู ดำำเนิินการค้้นหาและคััดกรองผู้้�สูงอายุุที่่�มี ูโอกา ีส เสี่ ่� ยงกระดููกสะโพกหััก 2 อย่่าง เพื่่�อค้้นหาและจำำแนกกลุ่่มเสี่ ่� ยงผู้้�สููงอายุุที่่�มีีโอกาสเกิิดภาวะ สะโพกหััก นำำสู่่การพััฒนากิิจกรรมหรืือมาตการส่่งเสริิม ป้้องกััน ควบคุมปัุัจจััยเสี่ย ่� งทั้้� งระดัับ บุุคคลและมาตรการชุุมชน (นำส่ำ ่งข้้อมููลการคััดกรองเชื่่�อมกัับคลิินิิกผู้้�สูงอาูยุุ) ได้้แก่่ 1. การคััดกรองหรืือประเมิินความเสี่่�ยงต่่อการหกล้้ม ตามแบบฟอร์์มการ คััดกรอง หรืือแอปพลิิเคชัันที่่�กำำหนด เพื่่�อค้้นหาและระบุุผู้้�สูงอายุุที่่�มี ูีความเสี่ย ่� งสำำหรับนำั ำมา วางแผนจััดการดููแลสุขุภาพผู้้�สูงอายุุ ูรายบุุคคล (Individual plan) และมาตรการระดัับชุุมชน ป้้องกัันและควบคุมุการพลััดตกหกล้้ม สาเหตุสำุำคััญสะโพกหััก (ตััวอย่่างแบบคััดกรองในภาค ผนวก) 2. การประเมิินการตรวจคััดกรองผู้้�ที่่�มีีความเสี่่�ยงในการเกิิดโรคกระดููกพรุุน ด้้วย Osteoporosis Self-Assessment Tool for Asians (OSTA) สำำหรับค้้ ั นหาผู้้�ที่่�มีีความ เสี่ย ่� งในการเกิิดโรคกระดููกพรุุน อีีกหนึ่่ง�สาเหตุสำุำคััญที่่�เมื่่�อผู้้�สูงอายุุ ูพลััดตกหกล้้มแล้้วมีโอกา ีส สะโพกหัักสููง (ตััวอย่่างแบบคััดกรองในภาคผนวก)


ภาคผนวก 55 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก การพลััดตกหกล้้ม การคััดกรองกลุ่่มเสี่่ยงและแนวสี่่�ทางการจััดการดููแลผู้สู้�ูงอายุุเบื้้�องต้้น ชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุฯ ดำำเนิินการคััดกรองหรืือประเมิินความเสี่ ่� ยง ต่่อการหกล้้มในผู้้�สูงอายุุ ู ด้้วยแบบฟอร์ม์การคััดกรองหรืือ แอปพลิิเคชัันที่่�กำำหนด กัับผู้้�สูอายุุ ู ทุุกคนในชุุมชน จำำแนกกลุ่่มผู้้�สููงอายุุจากการคััดกรองหรืือแบบประเมิิน ดัังนี้้� 1) กลุ่่มปกติิ หรืือไม่่เสี่่ยงสี่่�ต่่อภาวะหกล้้ม คืือ ผู้้�สููงอายุุที่่�ที่่�ใช้้เวลาน้้อยกว่่า 12 วิินาทีี ในการทดสอบการเคลื่่�อนไหวของร่่างกาย ด้้วยวิิธีี Time Up and Go Test: TUGT และ ไม่่มีีประวััติิหกล้้มภายใน 6 เดืือน อย่่างน้้อย 1 ครั้้� ง กลุ่่มนี้้�เน้้นจััดกิิจกรรมที่่�หลากหลายเพื่่�อ ส่่งเสริิมความรู้้� ความเข้้าใจตาม “แนวทางส่่งเสริิม ป้้องกัันการหกล้้มสำำหรัับผู้้สููงอายุุใน ชุุมชน” รวมทั้้� งการส่่งเสริิมความรู้้� ความเข้้าใจปััจจััยเสี่ ่� ยง สััญญาณเตืือน และแนวทางการ ร้้องขอความช่วย่เหลืือ 1669 ทั้้� งระดัับรายบุุคคลและมาตรการชุุมชน 2)กลุ่่มเสี่่ยงสี่่�ต่่อภาวะหกล้้มคืือผู้้�สูงอายุุที่่�ใ ูช้้เวลามากกว่่าหรืือเท่่ากับ ั 12 วิินาทีี ใน การทดสอบการเคลื่่�อนไหวของร่่างกาย ด้้วยวิิธีี Time Up and Go Test : TUGT หรืือ มีีประวััติิ หกล้้มภายใน 6 เดืือน อย่่างน้้อย 1 ครั้้ง� ให้้ดำำเนิินงานเหมืือน กลุ่่มปกติิ หรืือไม่่เสี่ย ่� งต่่อภาวะ หกล้้ม แต่่เน้้นเพิ่่ม�เติิมในประเด็็นต่่างๆ ดัังนี้้� 1. ผู้้�สููงอายุุจะต้้องได้้รัับคำำแนะนำำจากเจ้้าหน้้าที่่�หรืือบุุคลากรสาธารณสุุข เรื่่�อง การป้้องกัันและปััจจััยเสี่ ่� ยงต่่อการหกล้้ม อย่่างต่่อเนื่่�อง 2. ลงทะเบีียนข้้อมููล ปัักหมุุดระบุุพิิกััดบ้้านผู้้�สููงอายุุกลุ่่มเสี่ ่� ยง (นำำส่่งข้้อมููลการคััดกรองเชื่่�อมกัับคลิินิิกผู้้�สููงอายุุ) 3. เตรีียมระบบสุุขภาพชุุมชนเพื่่�อเข้้าจััดการดููแลช่่วยเหลืือเบื้้�องต้้นเมื่่�อเกิิดเหตุุ ด้้วยระบบช่่องทางด่ว่ นที่่�รวดเร็ว ็เพื่่�อเชื่่�อมกับรัะบบบริิการสุขุภาพ เช่่น โรงพยาบาล หน่วยป ่ฏิิบััติิการแพทย์์1669 หรืือ กู้ชีีพ ้� อบต. 4. วางแผนจััดการดููแลสุุขภาพผู้้�สููงอายุุรายบุุคคล (Individual plan)


56 4.1 แผนการติิดตาม เฝ้้าระวััง ด้้วยการเยี่ยมบ้้ ่� านให้้คำปรึึ ำกษา ความรู้้� คำำแนะนำำ เช่่น การส่่งเสริิมความรู้้�เฉพาะกลุ่่ม (การออกกำำลัังกาย การฝึึกการทรงตััว การจััดการจััดสิ่่� งแวดล้้อมเป็็นมิิตรทั้้� งในและบริิเวณบ้้าน) รวมทั้้� งการสร้้าง มาตรการชุุมชนที่่�เป็็นมิิตรต่่อผู้้�สููงอายุุ 4.2 ดำำเนิินกิิจกรรมหรืือมาตรการที่่�หลากหลายเพื่่�อส่่งเสริิมความรู้้� ความเข้้าใจ ตาม “แนวทางส่่งเสริิม ป้้องกัันการหกล้้มสำำหรัับผู้้�สููงอายุุในชุุมชน” ทั้้� งในระดัับบุุคคลและสร้้างการตระหนัักรู้้�ในชุุมชน 4.3 การจดจำำอาการหรืือสััญญาณเตืือนกระดููกสะโพกหััก เมื่่�อเกิิดหกล้้ม ได้้แก่่ "ปวดบริิเวณข้้อสะโพก ยืืนลงน้ำ ำ หนัักไม่่ได้้ ขาหดสั้้� น ผิิดรููป ขาแบะออก หรืือล้้มแล้้วยัังสามารถเดิินได้้ แต่่ลงน้ำ ำ หนัักแล้้วปวด" 4.4 แนวทางดููแลช่่วยเหลืือเบื้้�องต้้นและการร้้องขอความช่่วยเหลืือกัับชุุมชน จััดการตนเองฯ และโทรแจ้้ง 1669 เมื่่�อเกิิดหกล้้ม กรณีสีงสััยกระดููกสะโพกหััก : เมื่่�อผู้้�สูงอายุุหก ูล้้มและไม่ส่ามารถลุุกขึ้้น�ยืืนหรืือ เดิินได้้ ควรสงสัยว่ั ่ากระดููกสะโพกหัักก่่อน อย่่าเคลื่่�อนย้้ายผู้้�ป่วย่เด็็ดขาด ให้้ ผู้้�ป่่วยพัักในท่่าที่่�สบายที่่�สุุด 4.5 สร้้างนวััตกรรมชุุมชนเพื่่�อแจ้้งชุุมชนหรืือคนในชุุมชนทราบ กรณีีผู้้�สููงอายุุ หกล้้มเมื่่�อตามลำำพััง เช่่น กระดิ่่� ง นกหวีีดติิดตััว ไซเรนหน้้าบ้้าน เป็็นต้้น การส่งเส่ริิม ป้้องกัันการหกล้้มสำ�หำรัับผู้สู้�ูงอายุุในชุุมชน ชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุ จะต้้องวางแผนการดำำเนิินกิิจกรรม/มาตรการ ที่่�ครอบคลุุมการจััดบริิการการจััดบริิการในชุุมชน พฤติิกรรมสุุขภาพและการจััดการ สิ่่� งแวดล้้อมเป็็นมิิตรต่่อผู้้�สููงอายุุ ดัังนี้้� 1. ประเมิินภาวะเสี่ ่� ยงต่่อการหกล้้มที่่�เหมาะสมกัับบริิบทของชุุมชน อย่่างน้้อย ปีีละ 1 ครั้้� ง 2. เยี่ ่�ยมบ้้านติิดตาม ประเมิินปััจจััยเสี่ ่� ยง/การปรัับเปลี่่� ยนพฤติิกรรมปีีละ 1-2 ครั้้� ง 3. เสนอแนะแนวทางป้้องกัันการหกล้้ม - การป้้องกัันอาการวิิงเวีียนศีีรษะ ตััวเซ จากความดัันโลหิิตต่ำำ เมื่่�อเปลี่่� ยน ท่่าทาง โดยแนะนำำ ให้้ยืืดเหยีียดแขนขาประมาณ 5 นาทีีก่่อนเปลี่่� ยนจาก ท่่านอนเป็็นท่่านั่่� ง ท่่านั่่� งเป็็นท่่ายืืน สำำหรัับกรณีีที่่�บ้้านมีีเครื่่�องวััดความดััน โลหิิต สามารถให้้ญาติิวััดความดัันโลหิิตก่่อนได้้ ซึ่่�งไม่่ควรต่ำ ำ กว่่า 100/60 มิิลลิิเมตรปรอท


ภาคผนวก 57 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก - การได้้ยาลดความดัันโลหิิต/ยาขับปัสสัาวะ หากไม่่มีอากาีรบวมควรให้้ดื่่�มน้ำ ำ มากๆ เพื่่�อป้้องกัันปริิมาตรน้ำ ำในหลอดเลืือดต่ำ ำ และระมััดระวัังการรีีบ เดิินไปเข้้าห้้องน้ำ ำที่่�ลื่่�น และลื่่�นจากปััสสาวะที่่�อาจเล็็ดราด - การออกกำำลัังกาย กระตุ้้�นให้้ผู้้�สููงอายุุออกกำำลัังกายด้้วยตนเองหรืือ ออกกำำลัังกายเป็็นกลุ่่ม โดยเลืือกวิิธีีการออกกำำลัังกายให้้เหมาะสมและ ที่่�ผู้้�สููงอายุุชอบ หาวิิธีีการออกกำำลัังกายแบบใหม่ม่าสลัับเปลี่่� ยนเป็็นระยะๆ 4. เสนอแนะและร่วมดำ่ ำเนิินการจััดสิ่่� งแวดล้้อมในบ้้านเป็็นมิิตรกัับผู้้�สููงอายุุ เตีียง ต้้องพิิจารณา 3 ข้้อ ได้้แก่่ 1) เลืือกใช้้เตีียงที่่�มีีความสููงพอเหมาะกัับ ผู้้�สููงอายุุ โดยสููงระดัับข้้อพัับเข่่า (40-45 เซนติิเมตร) เมื่่�อนั่่� งที่่�ขอบเตีียง ให้้เท้้าวางราบได้้กัับพื้้�น 2) จััดให้้ด้้านหนึ่่�งของเตีียงชิิดผนัังห้้อง เพื่่�อลด ความเสี่ย ่� งตกเตีียง และ 3) กรณีีที่่�ผู้้�สููงอายุุไม่่มีีเตีียงใช้้ ควรจััดให้้มีีที่่�มั่่� นคง ยึึดเกาะ เพื่่�อลุุกจากที่่�นอนได้้สะดวกและแนะนำำวิิธีีลุุกจากพื้้�นที่่�ถููกต้้อง เสื้้อสื้้�ผ้้า จะต้้องสวมใส่่เสื้้�อผ้้าที่่�ไม่รุ่่มร่่าม เพื่่�อป้้องกัันการเกี่ ่� ยวกัับขอบประตูู หรืือสิ่่� งของต่่างๆ สวมกางเกงที่่�มีีความยาวใต้้ระดัับเข่่าเล็็กน้้อยและเอวเป็็น ยางยืืดเพื่่�อถอดออกได้้ง่่ายเมื่่�อต้้องการถ่่ายปััสสาวะ พื้้�นทางเดิิน ต้้องเก็็บของใช้้และของเด็็กเล่่นให้้เรีียบร้้อย วางเฟอร์์นิิเจอร์์ ไว้้เป็็นระยะอย่่างเป็็นระเบีียบ เพื่่�อใช้้เป็็นที่่�ยึึดเกาะขณะเดิิน และติิดเทป สีีเหลืือง ส้้ม แดงไว้้ที่่�พื้้�นต่่างระดัับเพื่่�อกัันสะดุุด ห้้องน้ำำ�� ควรติิดราวสำำหรัับยึึดเกาะ มีีแสงไฟที่่�สว่่างเพีียงพอโดยทำำสวิิทซ์์ ปิิดเปิิดไว้้ที่่�เตีียง สำำหรัับผู้้�สููงอายุุที่่�มีีปััญหาเวีียนศีีรษะบ่่อยๆ อาจใช้้เก้้าอี้้� เจาะรููตรงกลางพร้้อมถัังรองรัับปััสสาวะถ่่ายข้้างเตีียงในช่ว่งเวลากลางคืืน พรมเช็็ดเท้้า ใช้้พรมเช็็ดเท้้าแบบกัันลื่่�น และหลีีกเลี่ ่� ยงการใช้้เสื้้�อผ้้าเก่่า ขาดรุ่่งริ่่� งเป็็นผ้้าเช็็ดเท้้า เฟอร์์นิิเจอร์์ โต๊๊ะควรเป็็นมุุมโค้้งมน เพราะในกรณีีหกล้้มจะป้้องกััน การบาดเจ็็บรุุนแรง เก้้าอี้้�ควรมีีความสููงพอเหมาะ มีีที่่�วางแขนเพื่่�อใช้้ พยุุงตััวขณะลุุกยืืน แต่่ไม่ควร่มีีล้้อหรืือทำำด้้วยพลาสติิกที่่�เปราะบาง การผููกยึึด หลีีกเลี่ ่� ยงการผููกยึึดผู้้�สููงอายุุญาติิควรดููแลอย่่างใกล้้ชิิด


58 ภาวะกระดููกพรุุน การคััดกรองกลุ่่มเสี่่ยงและแนวสี่่�ทางการจััดการดููแลผู้สู้�ูงอายุุเบื้้�องต้้น นอกจากนั้้น� ชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุจะต้้องดำำเนิินการประเมิินการตรวจ คััดกรองผู้้�ที่่�มีีความเสี่ ่� ยงในการเกิิดโรคกระดููกพรุุนด้้วยเครื่่�องมืือ OSTA ควบคู่่กััน ซึ่่�งจะ จำำแนกกลุ่่มผู้้�สูงอายุุ ูเป็็น 3 กลุ่่มตามหลัักการคำำนวณ OSTA index (นำส่ำ ่งข้้อมููลการคััดกรอง เชื่่�อมกัับคลิินิิกผู้้�สูงอาูยุุ) ได้้แก่่ 1) กลุ่่มเสี่่�ยงต่ำ ำ (มีค่ี่า OSTA index มากกว่่า -1) 2) กลุ่่มเสี่่�ยงปานกลาง (มีค่ี่า OSTA index ระหว่่าง -4 ถึึง -1) 3) กลุ่่มเสี่่�ยงสููง (มีค่ี่า OSTA index น้้อยกว่่า -4) “กลุ่่มเสี่่ยงสี่่�ต่ำำ��”ชุมุชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สูงอายุุ ูเน้้นดำำเนิินการจััดกิิจกรรมที่่�หลาก หลายเพื่่�อส่่งเสริิมความรู้้� ความเข้้าใจตาม “แนวทางป้้องกัันการหกล้้มจากภาวะกระดููกพรุุน” รวมทั้้� งการส่่งเสริิมความรู้้� ความเข้้าใจปััจจััยเสี่ ่� ยง สััญญาณเตืือน และแนวทางการร้้องขอ ความช่วย่เหลืือ 1669 ทั้้� งระดัับรายบุุคคลและมาตรการชุุมชน “กลุ่่มเสี่่ยงสี่่�ปานกลางและกลุ่่มเสี่่ยงสี่่�สููง” มีีแนวทางการดำำเนิินงาน ดัังนี้้� 1. แนะนำำ ให้้ผู้้�สููงอายุุรีีบปรึึกษาแพทย์์เพื่่�อตรวจและรัักษาโรคกระดููกพรุุน 2. ลงทะเบีียนข้้อมููล ปัักหมุุดระบุุพิิกััดบ้้านผู้้�สููงอายุุกลุ่่มเสี่ ่� ยง (นำำส่่งข้้อมููลการคััดกรองเชื่่�อมกัับคลิินิิกผู้้�สููงอายุุ) 3. เตรีียมระบบสุุขภาพชุุมชนเพื่่�อเข้้าจััดการดููแลช่วย่เหลืือเบื้้�องต้้นเมื่่�อเกิิดเหตุุ ด้้วยระบบช่่องทางด่ว่ นที่่�รวดเร็ว ็เพื่่�อเชื่่�อมกับรัะบบบริิการสุขุภาพ เช่่น โรงพยาบาล หน่วยป ่ฏิิบััติิการแพทย์์1669 หรืือ กู้ชีีพ ้� อบต.


ภาคผนวก 59 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก 4. วางแผนจััดการดููแลสุุขภาพผู้้�สููงอายุุรายบุุคคล (Individual Plan) ควรประกอบ ไปด้้วยกิิจกรรมสำำคััญๆ เช่่น 4.1 จัั ดกิิจ กรรมที่่� ห ล า กห ล ายเพื่่� อส่่งเสริิมความรู้้� ความเข้้าใจตาม “แนวทางป้้องกัันการหกล้้มจากภาวะกระดููกพรุุน” ติิดตาม เฝ้้าระวัังด้้วย การเยี่ยมบ้้ ่� าน,การส่่งเสริิมความรู้้�เฉพาะกลุ่่ม (การรับปร ัะทานอาหารครบ 5หมู่่ และมีแีคลเซีียมสูงูการได้้รับวิิต ัามิินดีีที่่�เพีียงพอการหลีีกเลี่ย ่� งอาหารบางชนิิด งดสููบบุุหรี่ ่� ชา กาแฟ การออกกำลัำ ังกาย การควบคุมน้ำุำ หนััก การจััดสิ่งแ่�วดล้้อม เป็็นมิิตรทั้้� งในและบริิเวณบ้้าน เป็็นต้้น) รวมทั้้� งการสร้้างมาตรการชุุมชนที่่� เป็็นมิิตรต่่อผู้้�สููงอายุุ 4.2 การจดจำำอาการหรืือสััญญาณเตืือนกระดููกสะโพกหััก เมื่่�อเกิิดหกล้้ม ได้้แก่่ “ปวดบริิเวณข้้อสะโพก ยืืนลงน้ำ ำ หนัักไม่่ได้้ ขาหดสั้้� น ผิิดรููป ขาแบะออก หรืือล้้มแล้้วยัังสามารถเดิินได้้ แต่่ลงน้ำ ำ หนัักแล้้วปวด” 4.3 แนวทางดููแลช่่วยเหลืือเบื้้�องต้้นและการร้้องขอความช่่วยเหลืือกัับชุุมชน จััดการตนเองฯ และโทรแจ้้ง 1669 เมื่่�อเกิิดหกล้้ม การเตรีียมข้้อมููลสำำหรัับ แจ้้งเหตุุขอความช่วย่เหลืือโทรแจ้้ง 1669 กรณีสีงสััยกระดููกสะโพกหััก : เมื่่�อผู้้�สููงอายุุหกล้้มและไม่่สามารถลุุกขึ้้�นยืืน หรืือเดิินได้้ ควรสงสััยว่่ากระดููกสะโพกหัักก่่อน อย่่าเคลื่่�อนย้้ายผู้้�ป่่วย เด็็ดขาด ให้้ผู้้�ป่่วยพัักในท่่าที่่�สบายที่่�สุุด 4.4 สร้้างนวััตกรรมชุุมชนเพื่่�อแจ้้งชุุมชนหรืือคนในชุุมชนทราบ กรณีีผู้้�สููงอายุุ หกล้้มเมื่่�อตามลำำพััง เช่่น กระดิ่่� ง นกหวีีดติิดตััว ไซเรนหน้้าบ้้าน เป็็นต้้น แนวทางป้้องกัันการหกล้้มจากภาวะกระดููกพรุุน ชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สูงอายุุ ู วางแผนการดำำเนิินกิิจกรรม/มาตรการที่่�เกี่ ่�ยวข้้อง ที่่�ครอบคลุุมการจััดบริิการในชุุมชน พฤติิกรรมสุุขภาพและการจััดการสิ่่� งแวดล้้อมเป็็น มิิตรต่่อผู้้�สููงอายุุเพื่่�อป้้องกัันการหกล้้มจากภาวะกระดููกพรุุน ดัังนี้้� 1. ตรวจคััดกรองผู้้�ที่่�มีีความเสี่ ่� ยงในการเกิิดโรคกระดููกพรุุนด้้วยเครื่่�องมืือ OSTA อย่่างน้้อยปีีละ 1 ครั้้� ง 2. เยี่ยมบ้้ ่� านติิดตาม ประเมิินปััจจัยัเสี่ย ่� ง/การปรับัเปลี่ย ่� นพฤติิกรรมสุขุภาพปีีละ 1-2 ครั้้� ง 3. ผู้้�สููงอายุุโดยเฉพาะหญิิงวััยหมดประจำำเดืือน ควรได้้รัับการตรวจความหนาแน่่น ของกระดููกและรัักษาถ้้าตรวจพบว่่ามีีกระดููกบาง กระดููกพรุุน


60 4. ส่่งเสริิมมาตรการ/กิิจกรรมการปรัับเปลี่่� ยนพฤติิกรรมสุุขภาพเพื่่�อป้้องกััน การหกล้้มจากภาวะกระดููกพรุุน - ออกกำำลัังกายอย่่างสม่ำ ำ เสมอและเป็็นการออกกำำลัังกายที่่�ลงน้ำ ำ หนััก เช่่น การเดิินให้้ได้้ครั้้� งละ 30 นาทีี สััปดาห์์ละ 3-5 วััน - กิินอาหารที่่�มีีประโยชน์์โดยเฉพาะอาหารที่่�มีีแคลเซีียมสููง เช่่น น้ำ ำ เต้้าหู้้�นม ผัักใบเขีียว ปลาเล็็กปลาน้้อยที่่�กิินได้้ทั้้� งกระดููก - ได้้รับวิิต ัามิินดีีที่่�เพีียงพอ โดยออกกำลัำ ังกายกลางแจ้้งขณะมีแีสงแดดอ่่อน ๆ - งดสููบบุุหรี่่�และดื่่�มสุุรา เพราะทำำ ให้้มวลกระดููกลดลง - หลีีกเลี่ ่� ยงยาที่่�รัับประทานต่่อเนื่่�องจะทำำ ให้้มวลกระดููกลดลง เช่่น สเตีียรอยด์์ ถ้้าไม่่มีีข้้อบ่่งชี้้�ทางการแพทย์์โดยยากลุ่่มนี้้�มัักผสมในยาหม้้อ ยาลููกกลอน - ไม่่ควรดื่่�มชา กาแฟมากกว่่าวัันละ 2 แก้้ว เพราะคาเฟอีีนจะเร่่งการขัับ แคลเซีียม 5. ส่่งเสริิมกิิจกรรมการจััดสภาพแวดล้้อมภายในบ้้านให้้เหมาะกัับผู้้�สููงอายุุเพื่่�อ ป้้องกัันการหกล้้ม เช่่น ต้้องมีีแสงสว่่างเพีียงพอ ไม่่มีีบริิเวณที่่�ลื่่�น หรืือพื้้�นต่่างระดัับที่่�ทำำ ให้้ สะดุุดได้้ ไม่ว่างของระเกะระกะตามพื้้�น การติิดตาม ดููแลหลัังผู้สู้�ูงอายุุกลัับมาพัักรัักษาตััวที่่บ้้า�น กลุ่่มนี้้�ถืือเป็็น “ผู้้�สููงอายุุกลุ่่มเสี่่�ยงสููงเกิิดสะโพกหััก” เป็็นผู้้�มีีประวััติิเคยสะโพกหััก มาแล้้ว ซึ่่�งก่่อนผู้้�สููงอายุุออกจากโรงพยาบาลจะได้้การแนะนำำการปฏิิบััติิตััวจากบุุคลากร ทางการแพทย์์(นำส่ำ ่งข้้อมููลการคััดกรองเชื่่�อมกัับคลิินิิกผู้้�สููงอายุุ) พร้้อมกัับ ส่่งข้้อมููล ประวััติิการรัักษาตััวของผู้้�สููงอายุุมาที่่� รพ.สต. ด้้วย ดัังนั้้� น ชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุ ควรวางแผนตามแนวทาง “การจััดการช่่วงที่่� 3 การติิดตาม ดููแลหลัังผู้้�สููงอายุุกลัับมาพััก รัักษาตััวที่่�บ้้าน” โดยผู้้�สููงอายุุกลุ่่มนี้้�จะต้้องได้้รัับ “การวางแผนจััดการสุุขภาพผู้้�สููงอายุุ รายบุุคคล (Individual Plan)” และดำำเนิินกิิจกรรมหรืือมาตรการตาม “แนวทางส่่งเสริิม ป้้องกัันการหกล้้มสำำหรัับผู้้�สูงอาูยุุในชุุมชน” รวมทั้้� ง “แนวทางป้้องกัันการหกล้้มจากภาวะ กระดููกพรุุน” เน้้นดำำเนิินตามแผนจััดการดููแลสุุขภาพผู้้�สููงอายุุรายบุุคคล


61 ขั้้นตอนก� ารดำำ�เนิินงานชุุมชนจััดการตนเองสำ�หำรัับภาวะกระดููกสะโพกหััก (Hip fracture) อสม./ผู้้�ดููแลผู้้�สูงอายุุ (CG) ู (คััดกรองความเสี่่ยสี่่�ง) ช่่วงที่่� 1 : ส่งเ่สริิม ป้้องกััน ควบคุุม ช่่วงที่่� 2 : การจััดการเมื่่�อเกิิดภาวะฉุุกเฉิิน ช่่วงที่่� 3 : การติิดตาม ดููแล นำำส่งโรง ่พยาบาลในพื้้�นที่่�/ระบบช่่องทางด่่วน (Fast Track) ผู้้�สูงอายุุออก ูจากโรงพยาบาลมาพัักรัักษาตััวที่่บ้้ �าน เมื่่�อมีีเหตุุผู้้�สูงอายุุ ูพลััดตกหกล้้ม ผู้้�สูงอายุุ ูทั่่วไป� คััดกรองความเสี่่ยสี่่�งต่่อการหกล้้ม คััดกรองภาวะกระดููกพรุุน (OSTA) ปกติิ/ไม่่เสี่่�ยง (1) แนวทางส่่งเสริิม ป้้องกัันการหกล้้มสำำหรัับผู้้�สููงอายุุใน ชุุมชน (2) การส่่งเสริิมความรู้้� ความเข้้าใจปััจจััยเสี่่�ยง สััญญาณเตืือน และแนวทางการร้้องขอความช่วย่เหลืือ 1669 ทั้้� งระดัับบุุคคลและมาตรการชุุมชน กลุ่่มเสี่่�ยงต่่อภาวะหกล้้ม จััดการเหมืือนกลุ่่มเสี่่�ยงต่ำำ + ผู้้�สูงอายุุไ ูด้้รับคำั ำแนะนำำจากเจ้้าหน้้าที่่�หรืือบุุคลากรสาธารณสุข ุ ทั้้� งระดัับบุุคคลและมาตรการชุุมชน เน้้นแผนการจััดการฯ รายบุุคคล กลุ่่มเสี่่�ยงต่ำำ (1) แนวทางป้้องกัันการหกล้้มจากภาวะ กระดููกพรุุน” (2) การส่่งเสริิมความรู้้� ความเข้้าใจปััจจััย เสี่่�ยง สััญญาณเตืือน และแนวทางการ ร้้องขอความช่วย่เหลืือ 1669 ทั้้� งระดัับบุุคคลและมาตรการชุุมชน กลุ่่มเสี่่�ยงปานกลางและสููง จััดการเหมืือนกลุ่่มเสี่่�ยงต่ำำ + ผู้้�สููงอายุุปรึึกษาแพทย์์เพื่่�อตรวจและรัักษา โรคกระดููกพรุุน ทั้้� งระดัับบุุคคลและมาตรการชุุมชน เน้้นการจััดการฯ รายบุุคคล เมื่่�อผู้้�สููงอายุุหกล้้มและไม่ส่ามารถลุุกขึ้้�นยืืนหรืือเดิินได้้ ควรสงสััยว่่ากระดููกสะโพกหัักก่่อน อย่่าเคลื่่�อนย้้ายผู้้�ป่่วยเด็็ดขาด ให้้ผู้้�ป่่วยพัักในท่่าที่่�สบายที่่�สุุด ร้้องขอความช่วย่เหลืือไปที่่� 1669 และ ชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุฯ }


62 5.4 สรุปุบทบาทหน้้าที่่�ของผู้้�เกี่่�ยวข้้องในชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้สู้�ูงอายุุ ชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุ ในการส่่งเสริิม ป้้องกัันและช่่วยเหลืือเบื้้�องต้้น สำำหรับั ผู้้�สูงอายุุเ ูสี่ย ่� งโรคหลอดเลืือดสมอง (Stroke) ภาวะหัวัใจขาดเลืือดเฉีียบพลััน (STEMI) และภาวะกระดููกสะโพกหััก (Hip fracture) มีีบทบาทสำคัำ ัญ 3 ช่ว่ง ได้้แก่่ ช่ว่ งที่่�1 การส่่งเสริิม ป้้องกััน ช่ว่ งที่่� 2 การจััดการเมื่่�อเกิิดภาวะฉุุกเฉิิน ช่ว่ งที่่� 3 การจััดการ ดููแลเมื่่�อผู้้�ป่่วยกลัับมา รัักษาที่่�บ้้าน จะเห็็นว่่ามีีผู้้�เกี่ ่�ยวข้้องหลายส่่วน ในส่่วนนี้้�จึึงขอสรุุปบทบาทหน้้าที่่�ของ ผู้้�เกี่ ่�ยวข้้อง ดัังนี้้� ผู้้�สููงอายุุ ครอบครััว อสม./ผู้้�ดููแลผู้้�สููงอายุุ(CG) หรืืออื่่�นๆ 1. ดููแลสุุขภาพตนเองและครอบครััว/ปรัับเปลี่่� ยน พฤติิกรรมเสี่ ่� ยง จััดการสิ่่� งแวดล้้อมที่่�เป็็นมิิตรป้้องกัันเหตุุ หรืือภาวะฉุุกฉิิน 2. สำำหรัับผู้้�ป่่วยหรืือผู้้�มีีโรคประจำำตััว ปฏิิบััติิตาม คำำแนะนำำของแพทย์์และบุุคลากรสาธารณสุุข เช่่น การรัับประทานยาต่่อเนื่่�อง การไปตรวจและรัักษาตาม นััดหมาย และให้้ความร่่วมมืือตาม “แผนจััดการดููแล สุุขภาพรายบุุคคล” 3. เสนอแนะและเข้้าร่วมกิิ ่จกรรมหรืือมาตรการที่่�“ชุุมชน จััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สูงอาูยุุ” จััดขึ้้น� 4. เรีียนรู้้�และจดจำำอาการหรืือสััญญาณเตืือนเพื่่�อการดููแล ร้้องขอความช่่วยเหลืือ รวมทั้้�งการตััดสิินใจแสวงหาการ รัักษาที่่�รวดเร็็ว 5. ฝึึกทัักษะการแจ้้งเหตุุ1669 และเจ้้าหน้้าที่่�ในชุมุชนกรณีี เกิิดเหตุุ 1. ร่วม่เสนอแนะความคิิดเห็็นการจััดการดููแลผู้้�สูงอายุุ ู ตาม บทบาทหน้้าที่่�ใน “ทีีมชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สูงอาูยุุ” 2. พััฒนาศัักยภาพการจััดการดููแลผู้้�สููงอายุุเป็็นประจำำ 3. พััฒนาศัักยภาพการ CPR + AED กรณีีเกิิดเหตุุฉุุกเฉิิน และให้้การช่วย่เหลืือผู้้�สููงอายุุอย่่างรวดเร็็ว ผู้้�รัับผิิดชอบ บทบาทหน้้าที่่�


ภาคผนวก 63 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก ผู้้�รัับผิิดชอบ บทบาทหน้้าที่่� 4. คััดกรองผู้้�สููงอายุุในชุุมชน ตามแบบคััดกรอง CVD risk score, แบบคััดกรองภาวะหกล้้ม และ OSTA 5. ร่่วมสำำรวจข้้อมููลผู้้�สููงอายุุกัับเจ้้าหน้้าที่่� รพ.สต. และ นำมำา เป็็นข้้อมููลพื้้�นฐานกา รจัั ดทำำแผนชุุมชน + แผนปฏิิบัติิัการ 6. ร่่วมบัันทึึกและส่่งต่่อข้้อมููลแก่่เจ้้าหน้้าที่่� รพ.สต. หรืือ พยาบาลพี่่�เลี้้�ยง (เชิิงปริิมาณและการบอกเล่่าเชิิงลึึกของ ผู้้�สููงอายุุรายบุุคคล) 7. ร่่วมจััดกิิจกรรมและให้้คำำแนะนำำการปฏิิบััติิตััวตาม แนวทางส่่งเสริิม ป้้องกัันตามกลุ่่มเสี่ ่� ยงของแต่่ละโรค โดยเฉพาะการปรัับเปลี่่� ยนพฤติิกรรมเสี่ ่� ยง ตามหลััก 3อ.2ส. เช่่น การรัับประทานอาหาร การออกกำำลัังกาย ทำำอารมณ์์ให้้แจ่ม่ ใส ไม่่สููบบุุหรี่ ่�ไม่ดื่่�มเครื่่�องดื่่�มแอลกอฮอล์์ และมาตรการระดัับชุุมชน 8. ร่่วมจััดทำำแผนจััดการสุุขภาพผู้้�สููงอายุุรายบุุคคล (Individual Plan)เพื่่�อการติิดตามเยี่ยมบ้้ ่� านในกลุ่่มเสี่ย ่� งสูงู และผู้้�ป่่วยที่่�กลัับมารัักษาตััวที่่�บ้้าน 1. เป็็นพี่่�เลี้้�ยงหลัักของ “ทีีมชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อ ผู้้�สูงอาูยุุ” เพื่่�อวางแผนและจััดทำำแผนชุมุ ชน, ร่วมดำ่ ำเนิินการ และประสานงานกัับชุุมชน 2. จััดการและสนัับสนุุนบริิการที่่�จำำเป็็นและที่่�ชุุมชน ต้้องการ ได้้แก่่ ช่่วงที่่� 1 การส่่งเสริิม ป้้องกััน ช่่วงที่่� 2 การจััดการเมื่่�อเกิิดภาวะฉุุกเฉิิน ช่ว่ งที่่� 3 การจััดการ ดููแล เมื่่�อผู้้�ป่่วยกลัับมารัักษาที่่�บ้้าน รวมทั้้�งส่่งเสริิมวิิชาการ สนัับสนุุนส่่งเสริิมกระบวนการจััดการอื่่�นๆ 3. เป็็นพี่่�เลี้้�ยงแก่่อสม./ผู้้�ดููแลผู้้�สููงอายุุ (CG) หรืืออื่่�นๆ ในการคััดกรองกลุ่่มเสี่ ่� ยงโดยใช้้แบบคััดกรอง CVD risk score,แบบคััดกรองภาวะหกล้้ม และOSTAและเป็็นพี่่�เลี้้ย�ง สำรวำจข้้อมููลผู้้�สูงอายุุ ู เจ้้าหน้้าที่่� รพ.สต./พยาบาล/ คลิินิิกผู้้�สููงอายุุ


64 ผู้้�รัับผิิดชอบ บทบาทหน้้าที่่� 4. เป็็นผู้้�คััดกรองกลุ่่มเสี่ ่� ยงโดยใช้้แบบใช้้ผลเลืือดหรืือ ผลทางห้้องปฏิิบััติิการในผู้้�สููงอายุุกลุ่่มเสี่ ่� ยงปานกลาง-สููง ที่่�ต้้องการการยืืนยััน 5. ซัักประวััติิกลุ่่มเสี่ย ่� งสูงเพิู่่ม�เติิมและดำำเนิินการส่่งตัวักลุ่่ม เสี่ ่� ยงสููงไปพบหรืือปรึึกษาแพทย์์เพื่่�อการตรวจและรัักษา ที่่�เหมาะสม 6. นำำข้้อมููลจากการสำำรวจและการคััดกรองวิิเคราะห์ สรุ์ุป แ ล ะ คืื น ข้้อ มููล “ทีี ม ชุุ ม ช น จัั ด ก า ร ต น เ อ ง เ พื่่� อ ผู้้�สููงอายุุ” เพื่่�อการจััดทำำแผนชุุมชน + แผนปฏิิบััติิการ 7. จััดกิิจกรรมและมาตรการระดัับบุุคคลและชุุมชนตาม แนวทางส่่งเสริิม ป้้องกัันตามกลุ่่มเสี่ ่� ยงของแต่่ละโรค เพื่่�อ สร้้างความตระหนัักแก่่ผู้้�สููงอายุุและครอบครััวในการ ควบคุุมและปรัับเปลี่่� ยนพฤติิกรรมเสี่ ่� ยง 8. ส่่งต่่อข้้อมููลผู้้�สููงอายุุกลุ่่มเสี่ ่� ยงสููง และผู้้�ป่่วยที่่�กลัับมา รัักษาตััวที่่�บ้้าน และจััดทำำ “แผนจััดการสุุขภาพผู้้�สููงอายุุ รายบุุคคล (Individual Plan)” เพื่่�อการเฝ้้าระวััง ติิดตาม เยี่ยมบ้้ ่� านให้้คำำปรึึกษา ให้้ความรู้้� คำำแนะนำำและสร้้างความ ตระหนัักต่่อปััจจัยัเสี่ย ่� งการเกิิดโรค รวมทั้้� งแผนปรับัเปลี่ย ่� น พฤติิกรรมสุขุภาพและการประเมิิน คััดกรองซ้ำ ำ 9. ให้้คำำแนะนำำ ฝึึกทัักษะการจััดการแก้้ไขเมื่่�อเกิิดเหตุุ การช่วย่ ฟื้้� นคืืนชีีพเบื้้�องต้้น/การใช้้ AED 10. เป็็นหััวหน้้าทีีมสุุขภาพ สำำหรัับการจััดการและ ตััดสิินใจในเหตุุภาวะฉุุกเฉิิน ได้้แก่่การประเมิินอาการ การร้้องขอความช่่วยเหลืือ 1669 การดููแลเบื้้�องต้้น ณ จุุดเกิิดเหตุุ 11. ค้้นหาแนวทาง วิิธีีการ ช่่องทางหรืือนวััตกรรมเพื่่�อ ทำำ ให้้กิิจกรรม/มาตรการที่่� เกี่ ่�ยวข้้องกัับ 3 ระยะ มีีประสิิทธิิผล


ภาคผนวก 65 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก ผู้้�รัับผิิดชอบ บทบาทหน้้าที่่� 1. พััฒนาศัักยภาพและทำำความเข้้าใจเรื่่�องโรค อาการหรืือ สััญญาณเตืือน การจััดการดููแลและนำำส่่งผู้้�ป่่วยที่่�มีีความ จำำเพาะเฉพาะโรค 2. กู้้�ชีีพตำำบลร่่วมทำำแผนที่่�ชุุมชน แผนที่่�ผู้้�สููงอายุุ กลุ่่มเสี่ ่� ยงและการระบุุพิิกััดบ้้าน 3. ร่่วมเสนอแนะความคิิดเห็็นการจััดการดููแลผู้้�สููงอายุุ ตามบทบาทหน้้าที่่�ใน “ทีีมชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อ ผู้้�สููงอายุุ” 4. ร่วมปร ่ะชาสััมพัันธ์์แนวทางการร้้องขอความช่วย่เหลืือ และข้้อมููลสำำหรัับแจ้้งเหตุุขอความช่วย่เหลืือ 1669 5. ประชาสััมพัันธ์์แนวทางจััดการดููแลเบื้้�องต้้นในระหว่่าง รอเจ้้าหน้้าที่่�ไปถึึงที่่�เกิิดเหตุุ 6 . ฝึึ กทัักษะและให้้คำำแนะนำำก า รจััดกา รแก้้ไข เมื่่�อเกิิดเหตุุการช่วย่ ฟื้้� นคืืนชีีพเบื้้�องต้้น (CPR)/การใช้้ AED 7.เตรีียมความพร้้อมของบุุคลากรและยานพาหนะเพื่่�อรับส่ั ่ง ผู้้�ป่่วยไปสถานบริิการสุุขภาพอย่่างรวดเร็็ว ปลอดภััย 1. เป็็นผู้้�นำำ “ชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุ” ในการ ร่วมคิิ ่ด ร่วมว่างแผน ร่วมดำ่ ำเนิินการเพื่่�อจััดทำำแผนชุุมชน + แผนปฏิิบััติิการ 2. ร่่วมเป็็นส่่วนหนึ่่�งในการคััดกรองกลุ่่มเสี่ ่� ยง การสำำรวจ ข้้อมููลผู้้�สููงอายุุและนำำข้้อมููลจากการสำำรวจและการ คััดกรองวิิเคราะห์์ สรุุปและคืืนข้้อมููล “ทีีมชุุมชนจััดการ ตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุ” เพื่่�อการจััดทำำแผนชุุมชน + แผน ปฏิิบััติิการ 3. ส่่งเสริิมให้้เกิิดมาตรการชุุมชนหรืือนโยบายสาธารณะ ทั้้�งเชิิงบวก เช่่น การให้้รางวััลผู้้�สููงอายุุต้้นแบบ การให้้ รางวััลการสะสมคะแนนพฤติิกรรมสุุขภาพดีี การจััดหา สถานที่่�หรืืออุุปกรณ์์ออกกำำลัังกาย เป็็นต้้น และมาตรการ หน่วยป ่ฎิิบััติิการแพทย์์ , กู้้�ชีีพตำำบล ผู้้�นำำชุุมชน อปท. และ หน่วย่งานท้้องถิ่่� น


66 ผู้้�รัับผิิดชอบ บทบาทหน้้าที่่� เชิิงการบัังคับ ัเช่่นกฎชุมุชนงดเหล้้าวัันพระ ร้้านขายของชำำ งดขายบุุหรี่่�แก่่กลุ่่มเสี่ ่� ยง เป็็นต้้น 4. สร้้างมาตรการหรืือพื้้�นที่่�ตััวอย่่างเพื่่�อสิ่่� งแวดล้้อมที่่�เป็็น มิิตรเอื้้�อต่่อสุุขภาพที่่�ดีีของผู้้�สููงอายุุ 5. จััดกิิจกรรมบริิการและเตรีียมความพร้้อมระบบ ในชุุมชน ได้้แก่่ ช่่วงที่่� 1 การส่่งเสริิม ป้้องกััน ช่่วงที่่� 2 การจััดการเมื่่�อเกิิดภาวะฉุุกเฉิิน ช่ว่ งที่่� 3 การจััดการ ดููแล เมื่่�อผู้้�ป่่วยกลัับมารัักษาที่่�บ้้าน ร่่วมกัับเจ้้าหน้้าที่่� รพ.สต. และทีีม 6. เป็็นหัวัหน้้าทีีมชุุมชน สำำหรับัการจััดการและตััดสิินใจใน เหตุุภาวะฉุุกเฉิินร่่วมกัับทีีมสุุขภาพ ได้้แก่่การประเมิิน อาการ การร้้องขอความช่วย่เหลืือ 1669 การดููแลเบื้้�องต้้น ณ จุุดเกิิดเหตุุ 7. สนัับสนุุนทุุน ทรััพยากรที่่�เกี่ ่�ยวข้้องเพื่่�อพััฒนาระบบ ชุุมชน และงบประมาณบุุคลากรในการทำำ CPR รวมทั้้�ง จััดหาเครื่่�อง AED ให้้พร้้อมใช้้ในชุุมชน


ภาคผนวก 67 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก ภาคผนวก


68 ภาคผนวก 1 แบบประเมิินและแนวทางคััดกรอง Stroke, STEMI, Hip fracture แบบประเมิินโอกาสเสี่่�ยงสำำหรัับผู้้�สููงอายุุโรคหััวใจและหลอดเลืือด การพลััดตกหกล้้ม และภาวะกระดููกพรุุน การคััดกรองผู้้�สููงอายุุกลุ่่มเสี่ ่� ยงต่่อการเกิิดโรค Stroke, STEMI และ Hip fracture โดยใช้้แบบประเมิินโอกาสเสี่ ่� ยง 3 ส่ว่น ประกอบด้้วย 1. แบบประเมิินโรคหััวใจและหลอดเลืือด (CVD Risk Score) 2. การประเมิินโอกาสเสี่ ่� ยงต่่อการพลััดตกหกล้้มในผู้้�สููงอายุุ 3. แบบคััดกรองภาวะกระดููกพรุุน อสม. ผู้้�ดููแลผู้้�สููงอายุุ ควรทำำความเข้้าใจและได้้รัับการฝึึกอบรม รวมทั้้� งทดลอง ใช้้แบบประเมิินจนเกิิดความชำำนาญก่่อนจะนำำ ไปใช้้กัับผู้้�สููงอายุุในครััวเรืือนที่่�รัับผิิดชอบ 1. แบบประเมิินโรคหััวใจและหลอดเลืือด (CVD Risk Score) 1 2 3 4 5 6 7 ข้้อที่่�คำำถาม สำำหรัับคำำนวณ อายุุปััจจุุบััน ................................ ปีี เพศ ชาย หญิิง การสููบบุุหรี่่� สููบ ไม่่สููบ ป่่วยเป็็นเบาหวาาน ป่่วย ไม่ป่่วย ค่่าความดัันโลหิิต (ตััวบน) ......................... มม.ปรอท ค่่ารอบเอว ......................... เซนติิเมตร ส่ว่นสููง ......................... เซนติิเมตร เป็็นปีี (ชาย กำำหนดค่่า = 1 หญิิง กำำหนดค่่า = 0) (สููบ กำำหนดค่่า = 1 ไม่่ สููบ กำำหนดค่่า = 0) ป่่วย เป็็นเบา หว า น กำำหนดค่่า=1 ไม่่ป่่วยเป็็นเบาหวาน กำำหนดค่่า = 0) ระบุุค่่าตัวัเลข ระบุุค่่าตัวัเลข ระบุุค่่าตัวัเลข หมายเหตุุ ถ้้าข้้อมููลไม่่ครบ ถืือว่่าไม่่ได้้ประเมิิน สููตรและการคำำนวณ Full Score = (0.079 * AGE) + (0.128 * SEX) + (0.019350987 * SBP) + (0.58454 * DM) + (3.512566 * (Waist/ Height)) + (0.459 * SMOKING) P Full Score (%) = (1-(0.978296) exp (Full Score – 7.720484)) * 100 สููตร : https://drive.google.com/drive/u/0/folders/1tX4kKb5Njh5X4_pUq-YsRyyQ7VLXiOXU ในไฟล์์ : ตัวัอย่่างสููตร หัวข้้ ั อ 1 Thai-CV-risk-Calc-Total- Cholesterol


ภาคผนวก 69 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก ข้้อที่่� 1 ทดสอบการเคลื่่�อนไหวของร่่างกาย ด้้วยวิิธีี Time Up and Go Test : TUGT การเตรีียมการ : จััดสถานที่่�ด้้วยการวางเก้้าอี้้�ที่่�มีีที่่�เท้้าแขนที่่�จุุดตั้้� งต้้น วััดระยะทาง 3 เมตร ทำำเครื่่�องหมายบนพื้้�น และชี้้�แจงหรืือบอกให้้ผู้้�สููงอายุุทราบว่่า เมื่่�อเริ่่� มจัับเวลา ให้้ลุุกขึ้้�น จากเก้้าอี้้�แล้้วเดิินเป็็นเส้้นตรงด้้วยความเร็็วปกติิ เมื่่�อเดิินถึึงระยะทางที่่�กำำหนด ให้้หมุุนตััว และเดิินกลัับมานั่่� งที่่�เดิิม (สามารถใช้้อุุปกรณ์์ช่วย่เดิินที่่�ใช้้ประจำำ ได้้) ขั้้� นตอนในช่่วงการทดสอบ 1. ให้้ผู้้�สููงอายุุนั่่� งบนเก้้าอี้้�ที่่�มีีที่่�เท้้าแขน 2. ลุุกขึ้้�นยืืนเอง 3. เดิินด้้วยความเร็็วปกติิของผู้้�ป่่วย เป็็นเส้้นตรงไปข้้างหน้้า เป็็นระยะทาง 3 เมตร แล้้ว หมุุนตััว เดิินกลัับมานั่่� งที่่�เก้้าอี้้�เดิิม  4. ผู้้�ทดสอบจัับเวลาตั้้�งแต่่ผู้้�สููงอายุุลุุกขึ้้�นจนกลัับมานั่่�งที่่�เดิิม พร้้อมสัังเกตลัักษณะ การเดิิน 5. ตลอดการทดสอบผู้้�ทดสอบหรืือผู้้�ช่วยควร่อยู่่ใกล้้ผู้้�สููงอายุุเพื่่�อระวัังการล้้ม   6. ถ้้าปกติิผู้้�สููงอายุุต้้องใช้้อุุปกรณ์์ช่่วยเดิินเช่่นไม้้เท้้า ก็็ให้้ผู้้�ป่่วยใช้้อุุปกรณ์์นั้้� นตามปกติิ ขณะทดสอบ แปลผล: ถ้้าใช้้เวลามากกว่่าหรืือเท่่ากัับ 12 วิินาทีีถืือว่่ามีีความเสี่ ่� ยงต่่อภาวะหกล้้ม ส่่งต่่อให้้ กัับคลิินิิกผู้้�สููงอายุุ 2.การคััดกรองภาวะหกล้้มในผู้สู้�ูงอายุุ ข้้อที่่� 2 คำำถาม ท่่านมีีประวัติิ ัหกล้้มภายใน 6 เดืือน อย่่างน้้อย 1 ครั้้งห�รืือไม่่ มีีประวัติิ ัหกล้้ม : มีีความเสี่่�ยงต่่อภาวะหกล้้ม ให้้ส่่งต่่อคลิินิิกผู้้�สูงอาูยุุ ไม่มี่ ีประวัติิ ัหกล้้ม : ปกติิ


70 การตรวจคััดกรองด้้วย Osteoporosis Self-Assessment Tool for Asians (OSTA) ซึ่่�งสามารถค้้นหาผู้้�ที่่�มีีความเสี่ ่� ยงในการเกิิดโรคกระดููกพรุุนเพื่่�อตรวจหาความหนาแน่่น ของกระดููกต่่อไปได้้ โดยสููตรในการคำำนวณความเสี่ย ่� ง OSTA นั้้� นเท่่ากัับ ผลลััพธ์์ที่่�ได้้ให้้ตััดจุุดทศนิิยมออก โดยอายุุใช้้หน่วย่ ใช้้เป็็นปีี น้ำ ำ หนัักตััวใช้้หน่วย่เป็็นกิิโลกรััม การแปลผล OSTA index น้้อยกว่่า -4 หมายถึึง ความเสี่ ่� ยงสููง ระหว่่าง -4 ถึึง -1 หมายถึึง ความเสี่ ่� ยงปานกลาง มากกว่่า -1 หมายถึึง ความเสี่ ่� ยงต่ำ ำ 0.2 x (น้ำ ำ หนัักตััว - อายุุ) 3. แบบคััดกรองภาวะกระดููกพรุุน (OSTA) อายุุ (ปีี) 40-44 45-49 50-54 55-59 60-64 65-69 70-74 75-79 80-84 85-89 90-94 95-99 40-44 45-49 50-54 55-59 60-64 65-69 70-74 75-79 80-84 85-89 90-94 น้ำ ำ หนััก (กิิโลกรััม) ความเสี่่�ยงต่ำ ำ ความเสี่่�ยงปานกลาง ความเสี่่�ยงสููง ที่่�มา : ราชวิิทยาลััยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์แห่่งประเทศไทย. แนวปฏิิบััติิบริิการสาธารณสุุขโรคกระดููกพรุุน พ.ศ. 2553


ภาคผนวก 71 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก แบบสอบถามผู้สูงอายุ ขอม้ลูสุขภาพและความรเกี ู้่ ยวกับโรคหลอดเลอดืสมอง (Stroke)โรคหัวใจขาดเลอดเืฉียบพลัน ชนด STEMI และกระด ิกูสะโพกหัก (Hip fracture) แบบบรณาการ ในเขตูสุขภาพที่ 10” คำชี ้ แจง แบบสอบถามฉบบันี ้ มีวัตถุประสงค์เพื่ อศึกษาขอมู้ลดานสุขภาพ้ ผู้สงอายุเ ูบื ้ องตน ข้อมู้ล ความร คู้ วามเขาใ้จปัจจัยเสี ่ ยงและอาการเตือนที ่ เกี ่ ยวของกั ้บโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) โรค หวัใจขาดเลือดเฉยีบพลัน ชนิด STEMI และกระดกสะโพกูหัก (Hip fracture) รวมถึงประวัติการ ใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน 1669 เพื่ อเป็นขอมู้ลพื้ นฐานของแต่ละจังหวัดในการนำ ไปขับเคลื ่ อน การกำหนดรูปแบบระบบสุขภาพชุมชน สู่ระบบบริการสุขภาพอย่างไรรอยต่อ สำ ้หรับผู้สงอายุ ู กลุ่มเสี ่ ยง Stroke, STEMI และ Hip fracture แบบบูรณาการ ในเขตสุขภาพที ่ 10 แบบสอบถาม มทั ี้ งหมด 5 ส่วนดังนี ้ ส่วนที่ 1 ขอมู้ลทั่ วไปและประวัติดานสุขภาพเ้บื ้ องตนของ้ ผู้สงอายุ ู ส่วนที่ 2 แบบวัดความรเกู้ ี ่ ยวกับปัจจัยเสี ่ ยงและสัญญาณเตือนของโรคหลอดเลือด สมอง ส่วนที่ 3 แบบวัดความรเกู้ ี ่ ยวกับปัจจัยเสี ่ ยงและสัญญาณเตือนที ่ เกี ่ ยวกับโรคหวัใจขาด เลือดเฉยีบพลัน ชนิด STEMI ส่วนที่ 4 แบบวัดความรเกู้ ี ่ ยวกับปัจจัยเสี ่ ยงและสัญญาณเตือนภาวะพลัดตกหกล้มและ กระดกสะโพกูหัก ส่วนที่ 5 ประวัติการใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน 1669 คณะผู้วจิัยใคร่ขอความร่วมมือจากผู้สงอายุทุกท่านตอ ูบแบบสอบถามให้ครบถ้วนตาม จริง หวังเป็นอย่างยิ่ งว่าจะไดรั้บความร่วมมือจากท่านด้วยดแีละขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี ้ ภาคผนวก 2 : แบบสอบถามข้้อมููลผู้สู้�ูงอายุุ


72 ส่วนที่ 1ขอม้ ลทัู่ วไปและประวัตดิาน้สุขภาพเบื ้ องตนของ้ ผู้สูงอายุ รหัส คำชี ้ แจง ให้ผู้สัมภาษณ์อ่านขอค้วามแก่ผู้ถกสัมภาูษณ์ เมื่ ออ่านจบแล้วให้ผู้ถกู สัมภาษณ์ตอบจากนั้ นผู้สัมภาษณ์ทำ เครื่ องหมาย หรือ กรอกรายละเอยดใ ี ห้ ตรงกับขอค้วามนั้ นๆ 1. เพศ 1) ชาย 2) หญิง Sex [ ] 2. ปี พ.ศ. เกดิ ........................ Year [ ] 3. สถานภาพสมรส 1) โสด 2) สมรส 3) หมาย 4) ้หย่า/แยกกันอยู่ Status [ ] 4.ระดับการศึกษาสูงสุด 0) ไม่ไดเร้ ยน 1) ประถม ีศึกษา 2) มัธยมศึกษา/ปวช. 3) อนุปริญญา/ปวส. 4) ปริญญาตร 5) ส ีงกูว่าปริญญาตรี Edu [ ] 5. ปัจจุบันท่านประกอบอาชีพหลัก 0) ไม่ไดประกอ ้บอาชพ 1) รั ี บจ้าง 2) เกษตรกรรม/ประมง/ปศุสัตว์ 3) คาขาย้ 4) ธุรกิจส่วนตัว 5) ขาราชการ/พนักงานรั ้ฐวิสาหกิจ/ขาราชการเก้ ษียณ 6) อื่ นๆ ระบุ....................................................................... Occ [ ] 6. รายไดต่อเด ้อนของื ผู้สูงอายุ...............................................บาท Inc [ ] ส่วนนี้ บันทึกใหตรงกับแบบประเม ้นิผู้สูงอายุแต่ละราย เลขประจำ ตัวประชาชน 13 หลัก 1. อุบลราชธานี 2. มุกดาหาร 3. ศรสะเกีษ 4. ยโสธร 5. อำ นาจเจริญ วันที่ เก็บขอม้ลูวันที ่เดือน ปี พ.ศ. ชื่ อผู้สัมภาษณ์....................................... จังหวัด รหัสแบบสำรวจ จังหวัด - ตำ บล - หมู่บาน - ลำ ้ ดับแบบสอบถาม


ภาคผนวก 73 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก ส่วนที่ 1 ขอม้ ลทัู่ วไปและประวัตดิาน้สุขภาพเบื ้ องตนของ้ ผู้สูงอายุ รหัส 7. ประวัตโรคประ ิจำ ตัวและระยะเวลาที่ เป็ น (ตองได ้ รับการว ้นิ ิจฉัยจาก แพทย์) 0) ไม่เป็ น 1) เป็ น 99) ไม่แน่ใจ 1. โรคความดันโลหิตสง ระยะเูวลาที ่ เป็น......ปี 2. โรคเบาหวาน ระยะเวลาที ่ เป็น......ปี 3. ไขมันในเลือดสง ระยะเูวลาที ่ เป็น......ปี 4. โรคหวัใจ ระยะเวลาที ่ เป็น......ปี 5. โรคสมองขาดเลือด ระยะเวลาที ่ เป็น......ปี 6. โรคกระดกพรุน ระยะเ ูวลาที ่ เป็น......ปี 7. อื่ นๆ ระบุ ระยะเวลาที ่ เป็น......ปี ..................................... 8. อื่ นๆ ระบุ ระยะเวลาที ่ เป็น......ปี ..................................... Dis1 [ ] Dis2 [ ] Dis3 [ ] Dis4 [ ] Dis5 [ ] Dis6 [ ] Dis7Y [ ] Dis8Y [ ] 8. ประวัตการดิ ื ่ มแอลกอฮอล์ 0) ไม่เคยดื่ ม (ขามไปข ้ อ 9) ้ 1) เคยดื่ ม ปัจจบุันเลิกดื่ มแล้ว (ขามไปข ้ อ 9) ้ 2) ปัจจบุันยังดื่ ม 2.1) ดื่ มเป็นครั้ งคราว (ตามเทศกาล งานเลี้ ยงสังสรรค์) 2.2) ดื่ มประจำ 1-4 ครั้ งต่อเดือน 2.3) ดื่ มประจำ 2-4 ครั้ งต่อสัปดาห์ 2.4) ดื่ มประจำทุกวัน หรือเกือบทุกวัน Alc [ ] Alc2 [ ] 8. ประวัตการิสูบบุหรี่ 0) ไม่สูบ (ขามไปข ้ อ 10) ้ 1) เคยสูบ ปัจจบุันเลิกแล้ว (ขามไปข ้ อ 10) ้ 2) ปัจจบุันยังสูบอยู่ 2.1) นอยก้ว่า 5 มวนต่อวัน 2.2) 5-10 มวนต่อวัน 2.3) มากกว่า 10 มวนต่อวัน Nico [ ] Nico2 [ ]


74 ส่วนที่ 1 แบบสอบถามขอม้ ลทัู่ วไปและประวัตดิาน้สุขภาพเบื ้ องตนของ้ ผู้สูงอายุ รหัส 10. คนในครอบครัวมีประวัตโรคหลอดเล ิอดืสมอง (อัมพฤกษ/อัมพาต) หร ์อื ไม่ 0) ไม่เป็ น 1) เป็ น 8) ไม่ทราบ 1. พ่อ 2. แม่ 3. พี ่ /นอง ้ 4. ป่/ย่า/ตา/ยาย ู 5. ลุง/ป้า/นา/อา ้ Hered1 [ ] Hered2 [ ] Hered3 [ ] Hered4 [ ] Hered5 [ ] 11. การไดรับความร ้ เกี ู้่ ยวกับโรคหลอดเลอดืสมอง (อัมพฤกษ์/อัมพาต) 0) ไม่เคย (ขามไปข ้ อ 12) ้ 1) เคย ท่านเคยไดรั้บความรู้จากไหน (สามารถตอบไดมากกว่า 1 ข ้ อ) ้ 1) เจ้าหนาท้ ี ่ โรงพยาบาล 2) เจ้าหนาท้ ี ่ รพ.สต. 3) อสม./ผู้ดแู ลผู้สงอายุ 4) เพื ู่ อน/ญาติ/คนรู้จัก 5) โทรทัศน์ 6) วิทยุ 7) อินเตอร์เน็ต 8) สื่ อสิ่ งพิมพ์/ป้ายประชาสัมพันธ์ 9) เอกสาร/แผ่นพับ/ค่มือของโรงพยาูบาล 10) อื่ น.................................................................. Reck [ ] Reck1 [ ] Reck2 [ ] Reck3 [ ] Reck4 [ ] Reck5 [ ] Reck6 [ ] Reck7 [ ] Reck8 [ ] Reck9 [ ] Reck10 [ ] 12. ประวัติิ ัเคยพลััดตกหกล้้ม (ทั้้งในแ �ละนอกบ้้าน) เช่่น ตกบัันได ลื่่�นล้้มใน ห้้องน้ำ ำ สะดุุดผ้้าเช็็ดพื้้�น ตกแคร่หรื่ ือโซฟา 0) ไม่เคย (ขามไป ้ส่วนที่ 2) 1) เคย ในรอบ 6 เดืือน ที่ผ่ ่� ่านมาเคยพลััดตกหกล้้ม จำำนวน.......ครั้้ง � (0,1,2,3...)


ภาคผนวก 75 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก ส่วนที่ 2 แบบวัดความรเกี ู้่ ยวกับปัจจัยเสี ่ ยงและสัญญาณเตอนโรคหลอดเล ือดืสมอง (อัมพฤกษ/อัมพาต) ใน ์ ผู้สูงอายุ คำชี ้ แจง แบบสัมภาษณ์มีจำนวน 12 ขอ ใ ้ ห้ผู้สัมภาษณ์ ถามผู้สงอายุโดยอ่านคำ ูถามในแต่ละขอ ้ ภายหลังอ่านคำ ถามจบให้ผู้สงอายุตอ ูบคำว่า “ใช่” “ไม่ใช่” หรือ “ไม่ทราบ” สำหรับขอคำ ้ถาม นั้ น แล้วทำ เครื่ องหมาย ให้ตรงกับคำ ตอบ คำ ถาม 0) ไม่ใช่ 1) ใช่ 8) ไม่ทราบ รหัส ท่านคดว่า......... ิ 1. ถาพ่อแม่เป็นโรค ้หลอดเลือดสมองลูกจะมี โอกาสเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ST1 [ ] 2. สูบบหุรี ่ เพิ่ มความเสี ่ ยงต่อการเป็นโรคหลอด เลือดสมอง ST2 [ ] 3. การดื่ มเครื่ องดื่ มที ่ มคาเฟอ ีนมีคีวามเสี ่ ยงสงต่อู การเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ST3 [ ] 4. น้ำหนั ำ ักต่ำ ำ กว่่าปกติหรืิ ือผอมเสี่่�ยงเป็็นโรค หลอดเลืือดสมองมากกว่่าน้ำหนั ำ ักเกิินหรืืออ้้วน ST4 [ ] 5. โรคเบาหวานเพิ่ มความเสี ่ ยงต่อการเป็นโรค หลอดเลือดสมอง ST5 [ ] 6. โรคความดันโลหิตสงเป็นปัูจจัยเสี ่ ยงของโรค หลอดเลือดสมอง ST6 [ ] 7. ภาวะไขมันในเลือดสงเป็นปัูจจัยเสี ่ ยงของโรค หลอดเลือดสมอง ST7 [ ] 8. ผู้ที ่ เคยเป็นโรคหลอดเลือดสมองจะมี ภููมิต้้ ิานทานป้้องกัันการเป็็นซ้ำ ำได้้ ST8 [ ] ท่านคดว่าอาการต่อไปนี ิ้ เป็ น “อาการหรอืสัญญาณเตอนโรคหลอดเล ือดืสมอง ” ใช่หรอไม่ ื 9. ปากเบี้ ยวหรือมุมปากตก ขางใดข ้าง้หนึ่ งอย่าง ทันททันใด ี ST9 [ ] 10. แขน/ขา อ่อนแรง ขางใดข ้าง้หนึ่ งอย่างทันที ทันใด ST10 [ ]


76 คำ ถาม 0) ไม่ใช่ 1) ใช่ 8) ไม่ทราบ รหัส 11. พดูลบำาก พดไม่ชัด ูหรือพดไม่รูเรื ู้่ องอย่าง ทันททันใด ี ST11 [ ] 12. เดินเซ เดินลบำาก หรือสูญเสยคีวาม สามารถในการทรงตัวอย่างทันททันใด แ ีละ อาการหายเป็นปกติภายใน 24 ชั่ วโมง ST12 [ ] ส่วนที่ 3 แบบวัดความร เกี ู้่ ยวกับปัจจัยเสี ่ ยงและสัญญาณเตอนโรคหัวใ ืจขาดเลอดเืฉียบพลัน ชนด STEMI ใน ิ ผู้สูงอายุ คำชี ้ แจง แบบสัมภาษณ์มีจำนวน 13 ขอ ใ ้ ห้ผู้สัมภาษณ์ ถามผู้สงอายุโดยอ่านคำ ูถามในแต่ละขอ ้ ภายหลังอ่านคำ ถามจบให้ผู้สงอายุตอ ูบคำว่า “ใช่” “ไม่ใช่” หรือ “ไม่ทราบ” สำหรับขอคำ ้ถาม นั้ น แล้วทำ เครื่ องหมาย ให้ตรงกับคำ ตอบ คำ ถาม 0) ไม่ใช่ 1) ใช่ 8) ไม่ทราบ รหัส ท่านคดว่า......... ิ 1. ผู้ที ่ เป็นโรคเบาหวาน เสี ่ ยงต่อการเป็นโรค หวัใจขาดเลือดเฉยีบพลัน ชนิด STEMI STM1 [ ] 2. ผู้ที ่ เป็นโรคไตวายเรื้ อรังระยะ 3 ขึ้ นไป ไม่ใช่ สาเหตุเป็นโรคหวัใจขาดเลือดเฉยีบพลัน ชนิด STEMI STM2 [ ] 3. การดื่ มเครื่ องดื่ มที ่ มแอีลกอฮอล์เป็นประจำ สามารถป้องกันการเกิดโรคหวัใจขาดเลือด เฉยีบพลัน ชนิด STEMI ได้ STM3 [ ] 4. ความดันโลหิตสงเสูี ่ ยงต่อการเป็นโรคหวัใจ ขาดเลือดเฉยีบพลัน ชนิด STEMI STM4 [ ] 5. ไขมันในเลือดสงไม่เสูี ่ ยงต่อการเป็นโรคหวัใจ ขาดเลือดเฉยีบพลัน ชนิด STEMI STM5 [ ]


ภาคผนวก 77 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก คำ ถาม 0) ไม่ใช่ 1) ใช่ 8) ไม่ทราบ รหัส ท่านคดว่าอาการต่อไปนี ิ้ เป็ น “อาการหรอืสัญญาณเตอน โรคหัวใ ืจขาดเลอดื เฉียบพลัน ชนด STEMI” ใ ิช่หรอไม่ใ ืช่ 6. อาการเจบ็ แน่นบริเวณหนาอกนานมากก้ว่า 15-20 นาที STM6 [ ] 7. อาการรา้วบริเวณคอ กราม ไหล่ แขนทั้ ง 2 ขางโดยเฉพาะข ้าง้ ซ้าย STM7 [ ] 8. อาการหายใจหอบ เหนื่ อย นอนราบไม่ได้ STM8 [ ] 9. อาการหมดสติหรือหวัใจหยุดเตนกะทัน ้หัน STM9 [ ] ขอ 10-13 ้สอบถามเฉพาะผู้สูงอายุที่ เคยเป็ นโรคหัวใจมาก่อน 10. ผู้ป่วยที ่ เคยมภาีวะหวัใจขาดเลือดเฉยีบพลัน ชนิด STEMI แล้วและใส่ขดลวดแกไขแ ้ ล้วจะไม่มี โอกาสเกิดภาวะนี ้ อกี STM10 [ ] 11. ผู้ป่วยภาวะหวัใจขาดเลือดเฉยีบพลัน ชนิด STEMI หลังจหำ น่ายออกจากโรงพยาบาลแล้ว ตองรั ้บประทานยาแอสไพริน ตลอดชีวิต STM11 [ ] 12. ผู้้�ป่ว่ยภาวะหัวัใจขาดเลืือดเฉีียบพลััน ชนิิด STEMI ที่่�ได้้รับัการขยายหลอดเลืือดหัวัใจด้้วย บอลลููนและใส่่ขดลวดค้ำยั ำ ันหลัังจำหน่ำ ่ายออก จากโรงพยาบาลแล้้วควรได้้รับัการฉีีดวััคซีีน ป้้องกัันไข้้หวััดใหญ่่ และฉีีดซ้ำปีำ ลีะ 1 ครั้้ง� STM12 [ ] 13. ผู้ป่วยภาวะหวัใจขาดเลือดเฉยีบพลัน ชนิด STEMI ที ่ ไดรั้บการขยายหลอดเลือดหวัใจด้วย บอลลูนและใส่ขดลวดคำ้ยันหลังจหำ น่ายออก จากโรงพยาบาลแล้วควรหลีกเลี่ ยงการเชยร์ม ีวย ดูบอล หรือการแข่งขันที ่ มการเป ี ลี่ ยนแปลงของ อารมณ์สงู STM13 [ ]


78 ส่วนที่ 4 แบบวัดความร เกี ู้่ ยวกับปัจจัยเสี ่ ยงภาวะพลัดตก/หกลม และกระด้กูสะโพกหัก คำชี ้ แจง แบบสัมภาษณ์มีจำนวน 13 ขอ ใ ้ ห้ผู้สัมภาษณ์ ถามผู้สงอายุโดยอ่านคำ ูถามในแต่ละขอ ้ ภายหลังอ่านคำ ถามจบให้ผู้สงอายุตอ ูบคำว่า “ใช่” “ไม่ใช่” หรือ “ไม่ทราบ” สำหรับขอคำ ้ถาม นั้ น แล้วทำ เครื่ องหมาย ให้ตรงกับคำ ตอบ เนื ้ อหา 0) ไม่ใช่ 1) ใช่ 8) ไม่ทราบ รหัส ขอ 1-10 ท่านค ้ ดว่าลักษณะต่อไปนี ิ้ ...มีความเสี ่ ยงต่อการพลัดตก หกลมใ ้ช่หรอื ไม่ 1. อาการวิงเวียน บ้านหมุน หนามืด ขณะ ้ลุกขึ้ น Hip1 [ ] 2. เป็นตากุงยิง ้ Hip2 [ ] 3. เดินบนพื้ นต่างระดับ ขั้ นบันได Hip3 [ ] 4. ไดรั้บยากลุ่มยากันชัก Hip4 [ ] 5. การสูบบหุรี ่Hip5 [ ] 6. บริเวณบ้านแสงสว่างไม่เพยงพอี Hip6 [ ] 7. ขนาดของรองเทาไม่เก ้ ี ่ ยวกับการล้ม Hip7 [ ] 8. ออกกำลังกายบ่อยๆ สัปดาหล์ ะ 3 วัน Hip8 [ ] 9. ทานยาลดน้ำมูู ำ ก ยานอนหลัับ หรืือยาลด ความดัันโลหิิตบางชนิิด Hip9 [ ] 10. ผู้สงอายุท ูี ่ มประ ีวัติเคยหกล้มมาก่อน Hip10 [ ] ท่านคดว่า เม ิ ื ่ อผู้สูงอายุหกลม้จะมี “อาการหรอืสัญญาณเตอนกระดืกูสะโพก หัก” ต่อไปนี้ ใช่หรอไม่ ื 11. มีีอาการปวดบริิเวณข้้อสะโพก ยืืนลงน้ำ ำ หนัักไม่่ได้้ Hip11 [ ] 12. ขาหดสั้ น ผิดรป ขาแูบะออก Hip12 [ ] 13. มเีลือดไหลออกมาตรงบริเวณขอสะโพก ้ Hip13 [ ]


ภาคผนวก 79 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก ส่วนที่ 5 ประวัตใิช้บรการการแพทย์ ิฉุกเฉิน 1669 รหัส คำชี ้ แจง ให้ผู้สัมภาษณ์อ่านขอค้วามแก่ผู้ถกสัมภาูษณ์ เมื่ ออ่านจบแล้วให้ผู้ถกู สัมภาษณ์ตอบ จากนั้ นผู้สัมภาษณ์ทำ เครื่ องหมาย หรือ กรอกรายละเอยดใ ี ห้ ตรงกับคำ ตอบนั้ นๆ 5.1. ท่านรู้จักเบอร์ 1669 หรอไม่ ื 0) ไม่รู้จัก 1) รู้จัก Kem [ ] 5.2 เมื ่ อเกดเหตุิฉุกเฉินกับผู้สูงอายุ เช่น เจ็บแน่นหนาอก หายใ ้จไม่ออก ปาก เบี้ ยว แขนขาอ่อนแรง เป็ นลมหมดสต พลักตกหกล ิ มขาหัก ถ ้กรถูชน ท่าน หรอืผู้สูงอายุจะขอความช่วยเหลอืจากใครไดบ้ าง (เล ้ อกได ื มากกว่า 1 ข ้ อ) ้ 1) บุคคล/สมาชิกในครอบครัว 2) เพื่ อนบ้าน/ผู้สงอายุด ู้วยกัน 3) บุคคลหรือหน่วยงานในชุมชน เช่น อสม. กำนัน ผู้ใหญบ้่ าน อปพร. เทศบาล 4) เจ้าหนาท้ ี ่ รพ.สต./รพ. 5) การแพทย์ฉุกเฉิน 1668/กชู้พตำ ีบล 6) หน่วยงานอื่ นๆ (ระบุ).................................................................... EmsR1 [ ] EmsR2 [ ] EmsR3 [ ] EmsR4 [ ] EmsR5 [ ] EmsR6 [ ] 5.3 ที่ ผ่านมาผู้สูงอายุเคยเจ็บป่ วยฉุกเฉิน เช่น เจ็บแน่นหนาอก หายใ ้จไม่ ออก ปากเบี้ ยว แขนขาอ่อนแรง เป็ นลมหมดสต พลักตกหกล ิ มขาหัก ถ ้กู รถชน หรอไม่ ื 0) ไม่เคย (จบการสัมภาษณ์) 1) เคย แล้วในรอบ 1 ปีที ่ ผ่านมาผู้สงอายุเคยเ ูจบ็ ป่วยฉุกเฉินหรือไม่ 0. ไม่เคย (จบการสัมภาษณ์) 1. เคย จำนวน.............ครั้ ง แล้วครั้ งล่าสุดที ่ ผู้สงอายุ เ ูจบ็ ป่วยฉุกเฉิน มอาการีหรือเป็นโรค อะไร (ระบุชื่ อโรคหรืออาการแสดง..........................................................) ครั้ งล่าสุด ผู้สงอายุป ู ฏบิ ัติตัวอย่างไร (เลือกไดมากก้ว่า 1 ขอ) ้ 1) ปล่อยให้อาการทุเลาเอง ไม่ไดไปสถานพยา ้บาล Hems [ ] Hems1 [ ] Hems1F [ ] Pems1 [ ]


80 ส่วนที่ 5 ประวัตใิช้บรการการแพทย์ ิฉุกเฉิน 1669 รหัส 2) รองขอค้วามช่วยเหลือจากบุคคล หน่วยงานในชุมชนก่อนไป สถานพยาบาล เช่น อสม. กำ นัน/ผู้ใหญบ้ ่าน รพ.สต. นายก อบต. เป็นตน้ 3) ไปสถานพยาบาลด้วยตนเอง (ญาติ คนในครอบครัว เพื่ อนบ้านพาไป) 4) ไปสถานพยาบาลด้วยการเรยกใช ี การแพทย์ฉุกเฉิน 1669, ้ กชู้พตำ ีบล 5) จัดการด้วยวิธอืี่ นๆ (โปรดระบุ................................................) Pems2 [ ] Pems3 [ ] Pems4 [ ] Pems5 [ ]


ภาคผนวก 81 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก ตารางการจััดทำำแผนชุุมชน แผนปฏิิบััติิการแต่่ละโครงการย่่อย โครงการ 1 .......................................... ภาคผนวก 3 : แนวทางการจััดทำำ�แผนชุุมชน วััตถุุประสงค์์ เป้้าหมาย/ ตััวชี้้วั�ัด แผนงาน/ โครงการ กิิจกรรม/ ขั้้�นตอนการ ดำำเนิินงาน กิิจกรรม เดืือน กลุ่่มเป้้าหมาย ผู้้�รัับผิิดชอบ ระยะเวลา ดำำเนิินการ งบประมาณ ผู้้�รัับผิิดชอบ แผนงานที่่� 1 การส่่งเสริิมป้้องกัันและควบคุุมความเสี่ย ่� งและโรค โครงการ.... โครงการ.... แผนงานที่่� 2 การดููแลเบื้้�องต้้น และร้้องขอความช่วย่เหลืือเพื่่�อนำำส่่งผู้้�ป่่วยที่่�สงสััยเป็็นโรค โครงการ.... โครงการ.... แผนงานที่่� 3 การดููแลหลัังผู้้�สููงอายุุกลัับมาพัักรัักษาตััวที่่�บ้้าน โครงการ.... โครงการ.... 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12


82 2.1 องค์์ความรู้้�แนวทางจััดระบบชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุ : โรคหลอดเลืือดสมอง (Stroke) ภาคผนวก 4.1 รายนามคณะผู้พั้� ัฒนาองค์์ความรู้้�แนวทางจััดระบบ สุุขภาพเพื่่�อผู้สู้�ูงอายุุ ชื่่�อ-สกุุล นางศิิริิทิิพย์์ สงวนวงศ์์วาน นพ. อาคม อารยาวิิชานนท์์ นพ.ประวััติิวงศ์์ วงศ์์ศรีีแก้้ว น.ส.อรุุณีี รััตนนิิเทศน์์ นางอััชราพร เถาว์์โท นางสุุมาลีี ประกอบจรรยา นางลีีต้้า อาษาวิิเศษ นางสุุจิิตรา เขตคำำ นพ.อนุุชิิต หิิรััญกิิตติิ นางสาวสมจิิตร การะสา พญ.ขวััญภิิรมย์์ชมคำำ น.ส.นวรััตน์์ สิิงห์์คำำ น.ส.ณััฐธิิดา บัังศรีี นพ.อนุุวรรตน์์ บุุญส่่ง นางพััชนีี ฤกษ์์ใหญ่่ นพ.ธนิิตพงศ์์เมธีีพิิสิิษฐ์์ น.ส.สารภีีพรรน์์บุุญเฉลีียว พญ.วริินทรา เข็็มเพชร น.ส.โสภาพรณ์์ศรีีวิิเศษ นางนาฎนภา ภููบุุญคง นางบัันเทิิง พลสวััสดิ์์� นางอััจฉรา กาญจนาพิิพััธร์์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ นายแพทย์์เชี่่�ยวชาญ นายแพทย์์ชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ นายแพทย์์ชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ นายแพทย์์ปฎิิบััติิการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ นายแพทย์์ชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ นายแพทย์์ชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ นายแพทย์์ชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ ผู้้�อำำนวยการ อาสามััครสาธารณสุุขประจำำหมู่่บ้้าน รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.วาริินชำำราบ รพ.50 พรรษามหาวชิิราลงกรณ รพ.บุุณฑริิก รพ.บุุณฑริิก รพ.บุุณฑริิก รพ.มุุกดาหาร รพ.มุุกดาหาร รพ.ศรีีสะเกษ รพ.ศรีีสะเกษ รพ.ยโสธร รพ.ยโสธร สสจ. จ.อุุบลราชธานีี รพ.สต.ดงห่่องแห่่จ.อุุบลราชธานีี รพ.สต.ดงห่่องแห่่จ.อุุบลราชธานีี ลำำดัับ ตำำแหน่่ง สัังกััด


ภาคผนวก 83 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก 2.2 องค์์ความรู้้�แนวทางจััดระบบชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุ : ภาวะหััวใจขาดเลืือดเฉีียบพลัันชนิิด STEMI ชื่่�อ-สกุุล ดร.สุุเพีียร โภคทิิพย์์ นพ. จิิตติิ โฆษิิตชััยวััฒน์์ นพ. ธีีรพล เกาะเทีียน นพ. วีีระ มหาวนากููล นพ. ประพฤทธิ์์� ธนกิิจจารุุ นพ.วีีระยุุทธ ธิิมาภรณ์์ นางไขนภา มิ่่� งชััย น.ส.เบญจมาภรณ์์ วงศ์์ประเสริิฐ น.ส.นาฏอนงค์์ เสนาพรหม น.ส.แสงไทย ไตรยะวงศ์์ น.ส.ขวััญเนตร เกษชุุมพล นางเนตรชนก สิิทธิิบุุรีี นางพรพิิมล จำำปาเทศ นางเพ็็ญศรีี นริินทร์์ นางสาวเพ็็ญภััสสร มาพงษ์์ นางนวลจัันทร์์ พรโส 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ นายแพทย์์เชี่่�ยวชาญ นายแพทย์์ชำำนาญการพิิเศษ นายแพทย์์ชำำนาญการพิิเศษ นายแพทย์์ชำำนาญการพิิเศษ นายแพทย์์ชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ อาสาสมััครสาธารณสุุข รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.พระปกเกล้้าจัันทบุุรีี รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สต.ดงห่่องแห่่ง รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.มุุกดาหาร รพ.ศรีีสะเกษ รพ.ยโสธร รพ.วาริินชำำราบ รพ.ขุุนหาญ รพ. อำำนาจเจริิญ อ.วาริินชำำราบ ลำำดัับ ตำำแหน่่ง สัังกััด


84 2.3 องค์์ความรู้้�แนวทางจััดระบบชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุ : กระดููกสะโพกหััก (Hip fracture) ชื่่�อ-สกุุล ดร.กุุลธิิดา กุุลประฑีีปััญญา ดร. ภคิิน ไชยช่วย่ นพ. ลัักษณ์์ ชุุติิธรรมานัันท์์ นพ. ภาณุุพล ระจิินดา นพ. จิิรวััฒน์์ รากวงค์์ นพ. ถนอมชััย โคตรอาษา นพ. วิิชััย เติิมสมบััติิบวร นพ. สุุภเชษฐ์์ ชีีรณวานิิช นพ.สุุทิิวััส เหลืืองสด ดร.สุุวารีี เจริิญมุุขยนัันท์์ นางวิิภาพรรณ คงชนะ นางสาวศิิริิเอมอร วิิชาชาติิ น.ส.ปรานีี บุุญถููก นางปิิยดา เคีียง นางวรจรรฑญาร์์ มงคลดิิษฐ์์ ดร.ปณิิตา ครองยุุทธ นพ.พิิทัักษ์์พงศ์์ คำำภา นางยุุวดีี ศุุภโกศล นพ.สมภพ ทองประเสริิฐ นางฐิิติิกา แสนการุุณ นางทััศนาวไล ศรีีใส นพ.อดิิศัักดิ์์� ประวิิทย์์ธนา นพ.ประกิิจ เชื้้�อชม นพ.สัังวร ชััยมงคล นพ.ศิิคริินทร์์ บุุญรมย์์ น.ส.จัันทร์์ทิิพย์์ บััววััฒน์์ นพ.เรืืองเดช พิิพััฒน์์เยาว์์กุุล 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ หัวัหน้้ากลุ่่มงานศััลยกรรมออร์์โธปิดิิกส์์ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ นัักกายภาพบำำบััด พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ วิิทยาลััยพยาบาลบรมราชชนนีี สรรพสิิทธิิประสงค์์ วิิทยาลัยัการสาธารณสุขสิิริิุนธร จ.อุุบลราชธานีี รพ.แพร่่ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ วพบ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ วิิทยาลัยัการสาธารณสุขสิิริิุนธร จ.อุุบลราชธานีี รพ.๕๐ พรรษา มหาวชิิราลงกรณ รพ.๕๐ พรรษา มหาวชิิราลงกรณ รพ.วาริินชำำราบ รพ.วาริินชำำราบ รพ.วาริินชำำราบ รพ.สมเด็็จพระยุุพราชเดชอุุดม รพ.สมเด็็จพระยุุพราชเดชอุุดม รพ.สมเด็็จพระยุุพราชเดชอุุดม รพ.สมเด็็จพระยุุพราชเดชอุุดม รพ.สมเด็็จพระยุุพราชเดชอุุดม รพ.ศรีีสะเกษ ลำำดัับ ตำำแหน่่ง สัังกััด


ภาคผนวก 85 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก ลำำดัับ ชื่่�อ-สกุุล ตำำแหน่่ง สัังกััด 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 นางสมฤดีี บุุญเหลืือ นพ.พิิเชษพงศ์์ กััญญาคา นางเดืือนเพ็็ญ สิิงห์์พรหมสาร นพ.เกีียรติิยศ จัันทร์์สมุุด นพ.จัักรกฤษณ เรืืองบุุญ นางสุุมณีีย์์ เดชเสงี่่�ยมศัักดิ์์� นพ.ปิิยะพงษ์์ มากนวล น.ส.กีีรตยา อิินทรัักษา น.ส.พิิสมััย กลางประพัันธ์์ นายนิิกร จัันภิิลม นางธนาวรรณ แสนปััญญา นางสายพิิน พิิมพ์์ชาย นางทััศน์์พล เดชะพีีระพััฒน์์ นางวรััญญาภรณ์์ ธงศรีี นางจัันทิิมา จัันทุุมา พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ รองผู้้�อำำนวยการด้้านยุุทธศาสตร์์ฯ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ อาสาสมััครสาธารณสุุขประจำำหมู่่บ้้าน พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ อาสาสมััครสาธารณสุุขประจำำหมู่่บ้้าน รพ.ศรีีสะเกษ รพ.ยโสธร รพ.ยโสธร รพ.อำำนาจเจริิญ รพ.อำำนาจเจริิญ รพ.อำำนาจเจริิญ รพ.มุุกดาหาร รพ.มุุกดาหาร รพ.มุุกดาหาร วพบ.แพร่่จ.แพร่่ รพ.แพร่่จ.แพร่่ รพ.สต.โนนน้้อย รพ.สต.โนนน้้อย รพ.สต.นาโหนนน้้อย รพ.สต.นาโหนนน้้อย


86 โรคหลอดเลืือดสมอง (Stroke) ภาคผนวก 4.2 รายนามคณะผู้้�พััฒนาองค์์ความรู้้�แนวทาง จััดระบบสุุขภาพเพื่่�อผู้สู้�ูงอายุุ ฉบัับปรัับปรุุง ปีี 2566 ชื่่�อ-สกุุล นางศิิริิทิิพย์์ สงวนวงศ์์วาน นายอาคม อารยาวิิชานนท์์ นพ.อนุุวรรตน์์บุุญส่่ง นพ.พิิศาล ตั้้� งเกษมุุกดา นพ.สิิทธิิพัันธ์์ จัันทร์์พงษ์์ นางสาวภีีพรรณ บุุญเฉลีียว นพ.ปรััชญา วิิเศษปััสสา นางสาวโสภาพรณ์์ศรีีวิิเศษ พญ.กัันยวัันต์์ ทิิวััฑฒานนท์์ พญ.นงนุุช ศรีีแก้้ว นางพััชนีี ฤกษ์์ใหญ่่ นางอััชราพร เถาว์์โท นางสาวเบญจมาภรณ์์ ชุุมแสง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ นายแพทย์์เชี่่�ยวชาญ นายแพทย์์ชำำนาญการพิิเศษ นายแพทย์์ชำำนาญการ นายแพทย์์ชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ นายแพทย์์ชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ นายแพทย์์ชำำนาญการ นายแพทย์์ชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.มุุกดาหาร รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.ศรีีสะเกษ รพ.ศรีีสะเกษ รพ.ยโสธร รพ.ยโสธร รพ.อำำนาจเจริิญ รพ.อำำนาจเจริิญ รพ.มุุกดาหาร รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ ลำำดัับ ตำำแหน่่ง สัังกััด โรคภาวะหััวใจขาดเลืือดเฉีียบพลััน ชนิิด STEMI ชื่่�อ-สกุุล นางสุุเพีียร โภคทิิพย์์ นพ.จิิตติิ โฆษิิตชััยวััฒน์์ พญ.วรรน์์นา พิิมานแพง พญ.อััจฉรา เครื่่�องพาทีี นพ.วีีระยุุทธ์์ ธิิมาภรณ์์ นางสาวปััทมานัันท์์ ภููปา นพ.วีีระชััย ชาติิชััชวาล นายอนุุศร การะเกษ นางนิิพพาภััทร์์ สิินทรััพย์์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ นายแพทย์์เชี่่�ยวชาญ นายแพทย์์ชำำนาญการพิิเศษ นายแพทย์์ชำำนาญการพิิเศษ นายแพทย์์ชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ นายแพทย์์ชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ ข้้าราชการบำำนาญ รพ.ศรีีสะเกษ รพ.ยโสธร รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.อำำนาจเจริิญ รพ.ราษีีไศล รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ ลำำดัับ ตำำแหน่่ง สัังกััด


ภาคผนวก 87 ส่วนที่่� 1่ส่วนที่่� 2่ส่วนที่่� 3่ส่วนที่่� 4่ส่วนที่่� 5่ภาคผนวก กระดููกสะโพกหััก ชื่่�อ-สกุุล นางกุุลธิิดา กุุลประฑีีปััญญา นพ.ภาณุุพล ระจิินดา นพ.ถนอมชััย โครตวงษา นพ.วิิชััย เติิมสมบััติิบวร นพ.พิิพััฒน์์ คงวชิิรไพฑููรย์์ นพ.สมภพ ทองประเสริิฐ นางสุุรีีรััตน์์เสนาเทพ นางปิิยดา เคีียง นางสาวศิิริิเอมอร วิิชาชาติิ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 อาจารย์ วิิทย ์าลััยพยาบาลบรมราชชนนีี นายแพทย์์เชี่ยว่�ชาญ ประธาน Service Plan Orthopedics ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิดิิกส์์ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิดิิกส์์ ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิดิิกส์์ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ สำำนัักงานเขตสุุขภาพที่่� 10 รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.วาริินชำำราบ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ ลำำดัับ ตำำแหน่่ง สัังกััด การแพทย์์ฉุุกเฉิิน ชื่่�อ-สกุุล นพ.ชััยพร บุุญศรีี นพ.บพิิตร สััสสีี นางจารุุณีี สุุธีีร์์ นางเพ็็ญศรีี สุุวรรณกููฏ 1 2 3 4 แพทย์์เวชศาสตร์ฉุ์ุกเฉิิน แพทย์์เวชศาสตร์ฉุ์ุกเฉิิน ผู้้�กำำกัับฯ ศููนย์รั์บัแจ้้งเหตุุและสั่่งกา�รฯ ผู้้�กำำกัับฯ ศููนย์รั์บัแจ้้งเหตุุและสั่่งกา�รฯ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.ยโสธร รพ.ยโสธร อบจ.อุุบลราชธานีี ลำำดัับ ตำำแหน่่ง สัังกััด ชุุมชนจััดการตนเองเพื่่�อผู้้�สููงอายุุ ชื่่�อ-สกุุล ดร.นริิศรา อารีีรัักษ์์ ดร.ถนอม นามวงศ์์ นางสุุเพีียร โภคทิิพย์์ นางกุุลธิิดา กุุลประฑีีปััญญา นางศิิริิทิิพย์์ สงวนวงศ์์วาน นายธีีระ ศิิริิสมุุด นายสุุรเดช ดวงทิิพย์์สิิริิกุุล 1 2 3 4 5 6 7 นัักวิิชาการสาธารณสุขชำุำนาญการ นัักวิิชาการสาธารณสุขชำุำนาญการพิิเศษ พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ อาจารย์ วิิทย ์าลัยพยัาบาลบรมราชชนนีี พยาบาลวิิชาชีีพชำำนาญการพิิเศษ ผู้้�จััดการศููนย์วิิจั์ ัยและนวััตกรรม ผู้้�ชำำนาญการพิิเศษงานวิิจััย สำนัำ ักงานสาธารณสุขจัุังหวััดยโสธร สำนัำ ักงานสาธารณสุขจัุังหวััดยโสธร รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ รพ.สรรพสิิทธิิประสงค์์ สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ลำำดัับ ตำำแหน่่ง สัังกััด


88 ทีีมอำำนวยการ ชื่่�อ-สกุุล นายชััยนิิตย์์ อิินทร์์งาม นายกิิตติิพศ ดำำบรรพ์์ นายสิิทธิิวิิชญ์์ ประโพธิ์์� สััง นายธััชนนท์์ ศรไชย นางสาวธนิิกานต์์ สัังฆโสภณ 1 2 3 4 5 นัักวิิชาการสาธารณสุุขชำำนาญการ นัักวิิเคราะห์์นโยบายและแผนชำำนาญการพิิเศษ ผู้้�ประสานงาน การเงิินและบััญชีี นัักวิิชาการสาธารณสุุขปฏิิบััติิการ นัักวิิชาการสาธารณสุุขชำำนาญการ สำำนัักงานเขตสุุขภาพที่่� 10 สำำนัักงานเขตสุุขภาพที่่� 10 โครงการวิิจััย สำำนัักงานเขตสุุขภาพที่่� 10 สัังกััดกองกลาง สำนัำ ักงานปลััดกระทรวง สาธารณสุขุ ลำำดัับ ตำำแหน่่ง สัังกััด


89


90 “ผู้สูงอายุรู้เท่าทัน ไม่เจ็บไม่ไข้ เป็นแล้วเข้าถึงไว ปลอดภัยไร้แทรกซ้อน” สํานักงานเขตสุขภาพที่ 10 ถ.แจ�งสนิท บ�านท�าบ�อ ต.แจระแม อ.เมืองอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี 34000


Click to View FlipBook Version