The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการนิเทศ ติดตาม วันเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chutikan, 2022-12-27 21:34:10

รายงานการนิเทศ

รายงานการนิเทศ ติดตาม วันเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่

คำนำ

รายงานผลการนิเทศ ตดิ ตาม วนั เปดิ เรียนภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565 ฉบบั นี้ จดั ทำขนึ้ เพอื่ สรุปผลการ
ดำเนินการนิเทศ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นในศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่ จำนวน
11 โรงเรียน ประกอบด้วย ข้อมูลสถานศึกษา การเตรียมความพร้อมด้านการบริหารจัดการ ด้านอาคารสถานท่ี
ด้านครูผู้สอน ด้านการดำเนินงานตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด และข้อค้นพบ ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่าย
สถานศึกษาคลองใหญ่ และนำผลการนิเทศ ปัญหาในการนิเทศ ความต้องการรับการนิเทศและข้อเสนอแนะของครู
ผบู้ ริหารสถานศึกษารวมท้ังศกึ ษานเิ ทศก์ มาใช้เป็นข้อมลู ในการวางแผนการนเิ ทศการศึกษาในปีงบประมาณต่อไป

ขอขอบพระคุณทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องที่ให้ความร่วมมือ และสนับสนุนการนิเทศการศึกษา ผู้รายงานหวังเป็น
อย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานผลการนิเทศนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาตราด และผูส้ นใจหรอื หนว่ ยงานอ่นื ทเี่ ก่ยี วข้อง

นางชตุ ิกาญจน์ มัดถาปะโท
ศกึ ษานิเทศก์

สารบัญ

เรือ่ ง หนา้

คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบญั ตาราง ค
ตอนที่ 1 บทนำ 1
ตอนท่ี 2 หลักการ แนวคิดการนิเทศตดิ ตาม วันเปิดเรียนภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 4
ตอนที่ 3 วธิ ีการดำเนนิ งาน 20
ตอนที่ 4 ผลการดำเนินงาน 21
ตอนท่ี 5 สรุปผล อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ 39
ภาคผนวก 42

ตอนท่ี 1

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญ
การนิเทศ มคี วามสำคญั ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษายา่ งย่ิง เพราะการนเิ ทศการศึกษาเปน็ การรวม

ความคดิ ทางสมองของผู้ให้การนิเทศ ผู้รบั การนิเทศ และผู้สนบั สนนุ การนเิ ทศเขา้ ดว้ ยกัน เพื่อผลสดุ ท้ายที่แท้จริงคือ
การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนและคุณภาพการศึกษาใหบ้ รรลุจุดหมายของหลักสูตร และนกั เรยี นมีคุณภาพตามที่มุ่งหวัง
ไว้ทุกประการ แต่การดำเนินงานใดๆ ก็ตามจำเป็นต้องมีขั้นตอนในการดำเนินงานการนิเทศการศึกษาก็เป็นไปใน
ทำนองเดียวกนั กต็ ้องการความมุ่งหวงั ให้การดำเนินการประสบผลสำเร็จลลุ ว่ งดว้ ยดีและมปี ระสิทธิภาพให้สนองตอบ
กับสภาพปัจจุบันที่โรงเรียนมีความเหลื่อมล้ำและแตกต่างหลากหลายทั้งมาตรฐานและคุณภาพ ในช่วงสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยมุ่งหวังให้เกิดการนิเทศด้วยวิธีการที่หลากหลาย เข้าถึง
สถานศกึ ษาทุกกลมุ่ เป้าหมาย เข้าถึงครูทุกพนื้ ทอี่ ย่างเทา่ เทียมกนั เพ่ือการพฒั นาและสง่ เสรมิ ให้เกิดคุณภาพที่มีความ
เท่าเทียมกันทุกแห่ง ทั้งนี้เพื่อลดช่องว่างทางการเรียนรู้ และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ของผู้เรียนบนฐานของ
ระบบเศรษฐกจิ ฐานความรู้ ให้เปน็ ไปตามนโยบายและเจตนารมณข์ องหนว่ ยงานต้นสงั กดั ตอ่ ไป

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด จึงได้ดำเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา วันเปิดเรียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 การดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
การดำเนินงานตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการดำเนินงานตามนโยบายของ
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตราด โดยการนิเทศรูปแบบลงพ้นื ท่ีเยี่ยมชั้นเรยี น แบ่งเป็นศูนย์เครือข่าย
สถานศึกษา จำนวน 11 ศูนย์เครือข่ายสถานศึกษา เน้นกระบวนการนิเทศที่เป็นระบบและมีความต่อเนื่องสร้างทีม
และเครอื ข่ายการนเิ ทศให้เกิดพลังและพัฒนาศักยภาพผู้นิเทศอยูเ่ สมอ ให้พรอ้ มในการพัฒนางานในทุกสถานการณ์
โดยมุ่งให้ผู้รับการนิเทศรู้จักคิดค้นวิธีการทำงานด้วยตนเอง มีความสามารถในการนำตนเองและสามารถตัดสิน
ปัญหาของตนเองได้ สร้างบรรยากาศทีเ่ ป็นกันเอง กระตุ้น และสร้างความเข้าใจอันดีต่อกันและทำใหผ้ ู้รับการนิเทศ
ค้นพบวิธีการทำงานท่ีดีกว่า เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงคเ์ ป็นการส่งเสริมและสร้างสรรค์ และวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสรมิ
การใช้กระบวนการนิเทศไปขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงศึกษาธิการแล ะสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐานสู่การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21 และการดำเนินงานของโรงเรียนให้สามารถบริหารจัดการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและเพิ่มคุณภาพการจัดการเรียนการสอน และเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรยี น โดย
ใช้กระบวนการนิเทศเป็นกลไกขบั เคล่ือนสง่ เสริมสนบั สนุนและเพิ่มคุณภาพการจดั การเรียนการสอนพัฒนาผู้เรียนให้
มีคณุ ภาพตามมาตรฐานหลกั สตู รและทกั ษะพื้นฐานสำหรบั การดำรงชวี ิตให้อยรู่ อดปลอดภยั ในสงั คมโลก

ศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่ มีจำนวน 11 โรงเรียน เป็นศูนย์เครือข่ายการศึกษาหนึ่งที่ประสบ
ปัญหาในเรื่องการย้ายของข้าราชการครู ทำให้เกิดการขาดแคลนขา้ ราชการครู ขาดผู้บริหารสถานศึกษาเป็นสาเหตุ
ทำให้การจัดกิจกรรมการสอนและการจัดกิจกรรมตามโครงการต่าง ๆ ไม่มีความต่อเนื่องนักเรียนได้รับความรู้ไม่
เต็มที่เท่าที่ควร ทำให้ครูผู้สอนรู้สึกท้อแท้ขาดความตั้งใจในการทำงาน การนิเทศ สร้างขวัญกำลังใจ ให้กับครู
สนบั สนนุ สง่ เสริม ช่วยเหลอื ครู โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมก่อนวันเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2565
เพอ่ื ใหโ้ รงเรยี นสามารถปรับ เตรยี มความเรยี บรอ้ ย ในทกุ ๆ ด้านเพอื่ ความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนในวัน

รายงานการนเิ ทศ วนั เปิดภาคเรียนที่ 2/2565 2

เปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 ไดเ้ ป็นไปตามแนวทางการดำเนินงานตามนโยบายตอ่ ไป

วัตถปุ ระสงคก์ ารรายงาน
1. เพือ่ รายงานผลการนิเทศ ติดตาม วนั เปิดเรียนภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 ของศูนย์เครือข่าย

สถานศึกษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียน สอดคลอ้ งกบั นโยบาย กลยุทธ์ จดุ เน้น ของสำนักงานเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาตราด

2. เพือ่ จดั ทำข้อมลู สารสนเทศ สำหรบั การการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ศูนย์เครือขา่ ยสถานศึกษาคลอง
ใหญ่ สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาศึกษาตราด

ขอบเขตการรายงาน
โรงเรยี นในศนู ยเ์ ครือข่ายสถานศกึ ษาคลองใหญ่ สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตราด

จำนวน 11 โรงเรียน ไดร้ บั การนิเทศ ตดิ ตาม ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร และสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตราด ทุกโรงเรยี น

ประเดน็ การนเิ ทศ
ตอนท่ี 1 ข้อมูลสถานศกึ ษา
ตอนท่ี 2 การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
1. ดา้ นการบรหิ ารจัดการ
2. ดา้ นอาคารสถานท่ี
3. ด้านครผู ้สู อน
ตอนที่ 3 การดำเนนิ งานตามนโยบายของหนว่ ยงานตน้ สงั กัด
1. โรงเรยี นดำเนินการรับมอบนโยบายการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 และกจิ กรรมเยย่ี ม

บ้านนักเรียน ในวันท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2565 เวลา 08.30 นาฬิกา รบั ชมการถ่ายทอดสด
2. การดำเนนิ การตามเง่ือนไขขอ้ กำหนด 6 มาตรการหลัก (DMHT -RC) 6 มาตราการเสรมิ

(SSET - CQ) และแนวทาง 7 มาตรการเขม้ สำหรับสถานศึกษา
3. บคุ ลากรทกุ คนในโรงเรียนรับทราบนโยบาย สพป.ตราด ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มการจัดการศกึ ษา

สคู่ วามสำเร็จ 5 ประการ (5 SUUSCESS) ในมติ ิ “คนสำราญ งานสำเร็จ”
4. การใหบ้ ริการอาหารกลางวัน
5. การจัดสรรนมโรงเรียน
6. ปัญหา/อุปสรรค
7. ข้อเสนอแนะ

รายงานการนิเทศ วันเปิดภาคเรยี นท่ี 2/2565 3

ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
1. สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตราด มีรายงานผลการนิเทศ ตดิ ตาม วนั เปดิ เรยี นภาคเรียนท่ี

2 ปกี ารศึกษา 2565 จำแนกตามศนู ยเ์ ครือข่ายสถานศึกษา เพือ่ นำไปใชใ้ นสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาตามนโยบาย กลยุทธ์ มาตรฐานการศึกษา และจุดเน้นของการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

2. สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตราด มขี ้อมูลสาร สนเทศของการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
และสามารถนำข้อมลู สารสนเทศไปใชใ้ นการวางแผนการนิเทศศึกษา การบริหารจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาคุณภาพ
การศกึ ษาของโรงเรียนสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาตราด จำแนกตามรายศูนยเ์ ครือข่ายสถานศึกษา
ใหม้ ีคณุ ภาพและได้มาตรฐาน ตามเปา้ หมาย จุดเน้นที่ได้กำหนดไว้

3. ศกึ ษานเิ ทศก์ ประจำศนู ยเ์ ครือขา่ ยสถานศึกษา เหน็ ความสำคัญในการรายงานผลการนิเทศการศกึ ษา
เพ่อื นำข้อมลู จากการรายงานผลการนิเทศการศึกษามาใช้ประโยชน์ ในการวางแผนการนิเทศการศึกษา เพ่ือพัฒนา
คุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนในศนู ยเ์ ครือขา่ ย เป็นรายโรงเรียน

4. สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตราด มีข้อมูลสารสนเทศเพื่อใชใ้ นการวางแผนและกำหนด
ทศิ ทางในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาในปีต่อไป

ตอนที่ 2
หลกั การ แนวคดิ การนเิ ทศติดตาม
วันเปิดเรียนภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565

หลกั การนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กระทรวงศกึ ษาธิการมุ่งมนั่ ดำเนินการภารกิจหลักตามแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561

– 2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และแผนย่อยที่ 3
ในประเด็น 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง)
และนโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพของคนไทย
ทกุ ช่วงวยั และนโยบายเร่งด่วน เร่ือง การเตรยี มคนไทยส่ศู ตวรรษท่ี 21 และพหุปญั ญาของมนุษยท์ ห่ี ลากหลาย

นอกจากนี้ ยังสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ร่าง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) โดยเฉพาะหมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคน
สมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคตแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579
รวมทั้งนโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ ทั้งในด้าน
โอกาส ความเทา่ เทยี ม ความเสมอภาค ความปลอดภัย และมสี มรรถนะทส่ี ำคัญจำเป็นในศตวรรษท่ี 21 และมีความ
พรอ้ มร่วมขบั เคลอื่ นการพฒั นาประเทศสู่ความมนั่ คง มั่งคั่งและย่ังยืน

ดังนั้น ในการเร่งรัดการทำงานภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นควา มไว้วางใจ
ให้กับสังคมและผลกั ดันให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและประสทิ ธภิ าพในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กำหนด
หลักการสำคัญในการประกาศนโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไว้ดังน้ี

1. สร้างความเชือ่ มัน่ ไว้วางใจให้กับสังคม โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้เรียนและประชาชน โดยให้ทุกหน่วยงานนำ
รูปแบบการทำงานโดยบูรณาการการทำงานรว่ มกัน และปฏิบัตหิ น้าที่ดว้ ยความโปร่งใส ความรับผิดชอบ ความเปน็
อันหนง่ึ อันเดียวกัน

2. สนบั สนุนใหผ้ ู้ปฏิบตั งิ านทุกคนดำเนินการตามภารกิจด้วยความรับผดิ ชอบ ตอ่ ตนเอง องคก์ ร ประชาชน
และประเทศชาติ โดยให้ความสำคัญกับการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ผ่านกลไกการรับฟังความคิดเห็น
มาประกอบการดำเนนิ งานท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การยกระดบั คุณภาพการศึกษา

3. ดำเนินการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ได้ประกาศและแถลงนโยบายไว้แล้ว เมื่อวันที่ 25
มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 เพ่อื มุ่งเน้นผลให้เกดิ การเปล่ียนแปลงของภาคการศึกษาทจี่ ะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนและ
ประชาชนอย่างมีนยั สำคญั

นโยบายและจุดเนน้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
1. การจัดการศึกษาเพ่ือความปลอดภัย
1.1 เร่งสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาเพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นของสังคม และป้องกันจากภัย

คุกคามในชวี ติ รปู แบบใหม่ และภัยอ่นื ๆ โดยมีการดำเนนิ การตามแผนและมาตรการดา้ นความปลอดภัยใหแ้ ก่
ผู้เรยี น ครู และบุคลากรในรปู แบบตา่ งๆ อยา่ งเขม้ ขน้ รวมทั้งดำเนินการศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผล

รายงานการนเิ ทศ วันเปดิ ภาคเรียนท่ี 2/2565 4

การดำเนินการ และแสวงหาสถานศึกษาที่ดำเนินการได้ดีเยี่ยม (Best Practice) เพื่อปรับปรุง พัฒนาและขยายผล
ตอ่ ไป

1.2 เร่งปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง โดยบูรณาการอยู่ในกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ เพื่อสร้างโอกาสในการเรียนรู้และสร้างภูมิคุ้มกันควบคู่กับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงบวกและ
สร้างสรรค์ พร้อมทั้งหาแนวทางวิธีการปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษา

1.3 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึง
ประสงค์ด้านส่ิงแวดลอ้ ม รวมท้ังการปรับตัวรองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศท่จี ะเกดิ ขึ้นในอนาคต

1.4 เร่งพัฒนาบทบาทและภารกิจของหน่วยงานด้านความปลอดภัยที่มีอยู่ในทุกหน่วยงาน ใน
สงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ ารใหด้ ำเนินการอยา่ งคลอ่ งตวั และมปี ระสิทธิภาพ

2. การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา
2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษานำหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ

เพอื่ สร้างสมรรถนะท่ีสำคัญจำเป็นสำหรบั ศตวรรษที่ 21 ใหก้ ับผู้เรียน
2.2 จัดการเรียนรูใ้ ห้ผู้เรยี นได้ค้นพบพรสวรรค์ ความสนใจ ความถนดั ในอาชีพของตนเอง ด้วยการ

เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในห้องเรียน สถานประกอบการ รวมทั้งการเรียนรู้ ผ่าน
แพลตฟอร์มและหอ้ งดิจทิ ลั ให้คำปรึกษาแนะนำ

2.3 พัฒนาและบูรณาการกระบวนการจัดการเรียนรู้และการวัดประเมินผลฐานสมรรถนะสู่การ
ปฏิบัติในชั้นเรยี น เพ่อื สรา้ งความฉลาดรู้ดา้ นการอ่าน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สรา้ งตรรกะความคิดแบบเป็นเหตุ
เป็นผลให้นกั เรียนไทยสามารถแขง่ ขันได้กับนานาชาติ

2.4 พฒั นาทักษะดิจิทลั และภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) สำหรบั ผูเ้ รยี นทุกช่วงวยั เพ่ือรองรับการ
เปล่ยี นแปลงสู่สงั คมดจิ ิทลั ในโลกยคุ ใหม่

2.5 พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมืองและศีลธรรมให้มีความ
ทันสมยั นา่ สนใจ เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รยี น ควบคไู่ ปกบั การเรียนรปู้ ระวัติศาสตร์ของท้องถนิ่ และการเสริมสร้างวิถี
ชวี ติ ของความเป็นพลเมืองทเ่ี ข้มแข็ง

2.6 จัดการเรียนรู้ตามความสนใจรายบุคคลของผู้เรียนผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มที่หลากหลายและ
แพลตฟอร์มการเรียนรู้อัจฉริยะทีร่ วบรวมข้อมูลเกีย่ วกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อการสอนคุณภาพสูงรวมท้งั มี
การประเมินและพฒั นาผเู้ รยี น

2.7 สง่ เสริมการใหค้ วามรแู้ ละทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผเู้ รียน
โดยบูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)
ธนาคารกรุงศรอี ยุธยา ธนาคารออมสิน สหกรณ์ ฯลฯ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ โครงการและกิจกรรมต่างๆ

รายงานการนิเทศ วนั เปิดภาคเรยี นที่ 2/2565 5

และการเผยแพร่สื่อแอนิเมชันรอบรู้เรื่องเงิน รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดการลงทุนเชิงพาณิชย์เพื่อให้เกิดผลตอบแทนท่ี
สงู ขึน้

2.8 ปรับโฉมศูนย์วิทยาศาสตร์และศูนย์การเรียนรู้ ให้มีรูปลักษณ์ที่ทันสมัย สวยงาม ร่มรื่น จูงใจ
ให้เข้าไปใช้บริการ โดยมีมุมค้นหาความรู้ด้วยเทคโนโลยีทันสมัย มุมจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ของ
ผู้เรียน หรือกลุ่มผู้เรียน และการร่วมกิจกรรมกับครอบครัว หรือจัดเป็นฐานการเรียนรู้ด้านต่างๆ ที่ผู้เรียนและ
ประชาชนสามารถมาลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม และได้รับเอกสารรับรองการเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อนำไปใช้
ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้องหรือสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ได้ รวมทั้งมีบริเวณพักผ่อนที่มีบริการ
ลกั ษณะบา้ นสวนกาแฟเพ่ือการเรียนรู้ เปน็ ต้น

2.9 สง่ เสรมิ สนับสนนุ สถานศึกษาให้มีการนำผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติไปใช้ในการวาง
แผนการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน

2.10 พฒั นาระบบการประเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษาท่เี นน้ สมรรถนะและผลลัพธท์ ต่ี วั ผูเ้ รยี น
3. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษาทุกช่วงวัย

3.1 พฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศของนักเรยี นเป็นรายบุคคล เพื่อใชเ้ ป็นฐานข้อมลู ในการส่งต่อไป
ยงั สถานศึกษาในระดบั ที่สงู ขึ้น โดยเฉพาะระดับการศึกษาภาคบังคับ เพอ่ื ปอ้ งกันเด็กตกหลน่ และเดก็ ออกกลางคนั

3.2 ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไปทุกคน เข้าสู่ระบบการศึกษา เพื่อรับ
การพัฒนาอยา่ งรอบดา้ น มคี ุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและต่อเนอ่ื งอยา่ งเป็นระบบ โดยบูรณาการร่วมงานกับทุก
หนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ ง

3.3 พัฒนาข้อมูลและทางเลือกทีห่ ลากหลายให้กับผู้เรยี นกลุม่ เป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง
รวมทงั้ กลมุ่ NEETs ในการเขา้ ถงึ การศกึ ษา การเรยี นรู้ และการฝกึ อาชีพ อยา่ งเท่าเทยี ม

3.4 พัฒนาระบบสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว (Home School) และการ
เรียนรทู้ ี่บ้านเปน็ หลัก (Home–based Learning)

4. การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะอาชีพและเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขนั
4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น แบบโมดูล (Modular System) มี

การบูรณาการวิชาสามัญและวิชาชีพในชุดวิชาชีพเดียวกัน เชื่อมโยงการจัดการอาชีวศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ
และระบบทวิภาคี รวมทั้งการจัดการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง (Block Course) เพื่อสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit
Bank) ร่วมมือกบั สถานประกอบการในการจดั การอาชีวศกึ ษาอยา่ งเข้มขน้ เพ่ือการมีงานทำ

4.2 ขับเคลื่อนการผลิตและพัฒนากำลังคนตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ และยกระดับสมรรถนะ
กำลังคนตามกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน และมาตรฐานสากล รวมทั้งขับเคลื่อนความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา
(Excellent Center) โดยความร่วมมือกับภาคเอกชนและสถานประกอบการในการผลิตกำลังคนที่ตอบโจทย์การ
พัฒนาประเทศ

รายงานการนเิ ทศ วันเปดิ ภาคเรียนท่ี 2/2565 6

4.3 พัฒนาสมรรถนะอาชีพที่สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ โดยการ Re-skill Up-skill และ
New skill เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สงู ขึ้น พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบหลากหลาย
ใหค้ รอบคลมุ ผ้เู รยี นทกุ กล่มุ เปา้ หมาย รวมทั้งผู้สงู อายุ โดยมีการบรู ณาการความรว่ มมือระหวา่ งหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง

4.4 ส่งเสริมการพัฒนาแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตาม
สมรรถนะที่จำเป็นในการเข้าสู่อาชีพ และการนำผลการทดสอบไปใช้คัดเลือกเข้าทำงาน ศึกษาต่อ ขอรับ
ประกาศนียบัตรมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) การขอรับวุฒิบัตรสมรรถนะภาษาอังกฤษ
(English Competency)

4.5 จัดตงั้ ศูนย์ใหค้ ำปรึกษาการจัดตัง้ ธุรกิจ (ศูนย์ Start up) ภายใต้ศูนยพ์ ฒั นาอาชีพและการเป็น
ผู้ประกอบการ และพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการส่งเสริม และพัฒนาผู้ประกอบการด้าน
อาชีพทั้งผู้เรียนอาชีวศึกษาและประชาชนทั่วไป โดยเชื่อมโยงกับ กศน. และสถานประกอบการ ทั้งภาครัฐและ
เอกชนทีส่ อดคล้องกบั การประกอบอาชพี ในวิถชี วี ิตรปู แบบใหม่

4.6 เพิ่มบทบาทการอาชีวศึกษาในการสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการและกำลังแรงงานในภาค
เกษตร โดยเฉพาะกลมุ่ เกษตรกรอัจฉรยิ ะ (Smart Farmer) และกลุม่ ยวุ เกษตรกรอจั ฉริยะ (Young Smart Farmer)
ทส่ี ามารถรองรับการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสมัยใหมไ่ ด้

4.7 ส่งเสริม และสนับสนุนการผลติ และพัฒนากำลังคนทุกช่วงวยั เพื่อการมีงานทำ โดยบูรณาการ
ความร่วมมือในการจดั การศึกษาร่วมกบั หนว่ ยงาน องค์กรท้งั ภาครฐั เอกชน ชมุ ชน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และ
สถาบันสังคมอ่ืน

4.8 พัฒนาหลกั สตู รอาชีพสำหรบั กลุ่มเป้าหมายผู้อยูน่ อกระบบโรงเรยี นและประชาชนที่สอดคล้อง
มาตรฐานอาชีพ เพื่อการเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิวิชาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รวมทั้ง
สามารถนำผลการเรียนรู้และมวลประสบการณเ์ ทยี บโอนเขา้ ส่กู ารสะสมหนว่ ยการเรียนรู้ (Credit Bank) ได้

5. การส่งเสริมสนับสนุนวชิ าชพี ครู บุคลากรทางการศึกษา และบคุ ลากรสังกัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
5.1 ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่

Performance Appraisal (PA) โดยใช้ระบบการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA)

5.2 ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการ พัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตามกรอบระดับ
สมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
ระดบั อาชีวศกึ ษา

5.3 พัฒนาครูให้มีความพร้อมด้านวิชาการและทักษะการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ รวมทั้งให้เป็นผู้วางแผนเส้นทางการเรียนรู้ การประกอบอาชีพ และการ
ดำเนนิ ชีวิตของผู้เรียนได้ตามความสนใจและความถนดั ของแต่ละบุคคล

รายงานการนเิ ทศ วนั เปิดภาคเรียนท่ี 2/2565 7

5.4 พฒั นาขีดความสามารถของข้าราชการพลเรือนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ให้มีสมรรถนะท่ี
สอดคล้องและเหมาะสมกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและการเปลีย่ นแปลงของโลกอนาคต

5.5 เร่งรัดการดำเนินการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ควบคู่กับการ
ใหค้ วามรู้ด้านการวางแผนและการสรา้ งวินยั ดา้ นการเงินและการออม

6. การพัฒนาระบบราชการ และการบริการภาครฐั ยคุ ดิจิทัล
6.1 ขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการ 4.0 ด้วยนวัตกรรม และการนำเทคโนโลยีดิจิทัล มาเป็น

กลไกหลัก ในการดำเนินงาน (Digitalize Process) การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data) การส่งเสริม
ความรว่ มมือ บรู ณาการกับภาคสว่ นต่าง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอก

6.2 ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศให้สามารถใช้งานเครือข่ายส่ื อสาร
ข้อมูลเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับระบบราชการ 4.0 สามารถตอบสนองความ
ตอ้ งการของประชาชนได้ในทกุ เวลา ทุกสถานที่ ทกุ อุปกรณ์และทกุ ชอ่ งทาง

6.3 ปรับปรงุ ระบบการจัดสรรงบประมาณและทรพั ยากรทางการศึกษา โดยยึดหลักความจำเป็น
และใชพ้ นื้ ที่เป็นฐาน ทีม่ งุ่ เน้นการพฒั นาคุณภาพผ้เู รียนเป็นสำคญั

6.4 นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในระบบการคัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน
ตำแหนง่ และสายงานต่าง ๆ

6.5 สง่ เสริมสนับสนุนการดำเนินงานของสว่ นราชการให้เป็นไปตามกลไกการประเมนิ คุณธรรมและ
ความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั

7. การขบั เคล่ือนกฎหมายการศึกษาและแผนการศึกษาแห่งชาติ
เร่งรัดการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองและแผนการศึกษาแห่งชาติเพื่อรองรับ

พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติควบคกู่ บั การสร้างการรบั รใู้ หก้ ับประชาชนไดร้ ับทราบอยา่ งท่วั ถงึ

แนวทางการขับเคลือ่ นนโยบายสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
1. ให้สว่ นราชการ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศกึ ษาธิการ นำนโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้างต้น เป็นกรอบแนวทางในการจัดการศึกษา โดยดำเนินการจัดทำแผนและ
งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566

2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ สู่การปฏิบัติระดับพื้นที่ ทำหน้าที่ตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และ
จัดทำรายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและปร ะเมินผล
การจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ทราบตามลำดบั
กรณมี ีปัญหาในเชิงพ้นื ท่ีหรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน

รายงานการนเิ ทศ วนั เปดิ ภาคเรียนที่ 2/2565 8

3. ใหศ้ กึ ษา วเิ คราะห์ข้อมลู และดำเนินการแก้ไขปัญหาในระดับพนื้ ที่ก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไข
ข้อขัดข้อง พร้อมทั้งรายงานต่อคณะกรรมการติดตามฯ ตามข้อ 2 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ ตามลำดบั

4. สำหรับภารกิจของส่วนราชการหลกั และหน่วยงานที่ปฏิบัติในลกั ษณะงานในเชิงหน้าที่ (Function) งาน
ในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพื้นที่ (Area) ซึ่งได้ดำเนินการอยู่ก่อนแล้ว หากมีความสอดคล้องกับ
หลักการนโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ขา้ งต้น ใหถ้ อื เปน็ หน้าทข่ี อง
ส่วนราชการหลักและหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องต้องเร่งรัด กำกบั ตดิ ตาม ตรวจสอบใหก้ ารดำเนินการเกิดผลสำเร็จ และ
มปี ระสิทธภิ าพอยา่ งเปน็ รูปธรรม

นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยสอดคล้องตาม

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติและแผนปฏิรูปประเทศ ด้าน
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570)
โดยเฉพาะหมุดหมายที่ 12 รวมทั้งนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมี
ความมุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาอย่างต่อเนื่อง จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 ที่กำหนดแนวทางการ
พัฒนา “การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านโอกาส ด้านคุณภาพ
และด้านประสิทธิภาพ และเพื่อเป็นการต่อยอดพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็น “วิถีอนาคต วิถีคุณภาพ” จึง
กำหนดนโยบายและจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดงั นี้

1. ดา้ นความปลอดภยั
1.1 พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยของผู้เรียนทุกคน พร้อมเสริมสร้างระบบกลไกในการ

ดูแลความปลอดภัยอยา่ งเข้มแข็งทุกรปู แบบ
1.2 สง่ เสริมการจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี อือ้ ต่อการมีสุขภาวะที่ดีและเป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม
1.3 สร้างภูมิคุ้มกัน การรู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ในการดำเนวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) และ

วถิ ปี กติต่อไป (Next Nomal)
2. ด้านโอกาสและการลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา
2.1 ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุ 3 – 6 ปี ทุกคน เข้าสู่ระบบการศึกษาสร้าง

สภาพแวดลอ้ มท่ีเออื้ ต่อการเรียนรู้และดแู ลปกป้อง เพอื่ ใหม้ ีพฒั นาการครบทกุ ด้าน โดยการมีส่วนรว่ มของหน่วยงาน
ที่เก่ียวขอ้ ง

2.2 จัดการศึกษาให้ผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้เข้าถึงโอกาส ความเสมอภาค และ
ได้รับการพัฒนาใหม้ สี มรรถนะสำหรับการศกึ ษาต่อ และการประกอบอาชีพในอนาคตให้สอดคล้องกบั ความต้องการ
ของตลาดงานและการพฒั นาประเทศ

รายงานการนเิ ทศ วนั เปดิ ภาคเรยี นที่ 2/2565 9

2.3 จัดการศกึ ษาให้ผู้เรยี นทม่ี ีความสามารถพเิ ศษ ไดร้ บั โอกาสในการพฒั นาเตม็ ศักยภาพ
2.4 ส่งเสริมเด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพและจัดหา
ทางเลือกในการเขา้ ถึงการเรยี นรู้ การฝกึ อาชีพ เพือ่ ให้มที กั ษะในการดำเนินชีวิต สามารถพงึ่ ตนเองได้มี
2.5 พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นรายบุคคล เพื่อใช้
เป็นฐานข้อมูลในการบริหารการจัดการศึกษา โดยเฉพาะการดูแลและป้องกันไม่ให้นักเรียนหลุดออกจากระบบ
การศกึ ษา และช่วยเหลอื เดก็ ตกหลน่ เด็กออกกลางคันให้กลบั เข้าสรู่ ะบบ
3. ดา้ นคุณภาพ
3.1 ส่งเสริม สนับสนุน สถานศึกษาที่มีความพร้อม ให้นำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่เน้นสมรรถนะไปใช้ตามศักยภาพของสถานศึกษาให้สามารถออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับความต้องการและ
บริบท
3.2 พัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่เหมาะสมตามช่วงวยั สามารถจัดการตนเอง มีการคิดขั้นสงู มี
ความสามารถในการสื่อสาร สามารถจัดระบบและกระบวนการทำงานของตนเองและร่วมกับผู้อื่น โดยใช้การรวม
พลังทำงานเป็นทีม เป็นพลเมืองที่ดี มีศีลธรรม และอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืน รวมทั้งมีความ
จงรักภักดตี ่อสถาบนั หลักของชาติ ยดึ มั่นการปกครองในระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
3.3 จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 นำไปสู่การมีอาชีพ มีงานทำ และ
สง่ เสริมความเป็นเลิศของผ้เู รียนให้เต็มศกั ยภาพ เพื่อเพ่มิ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั
3.4 ส่งเสริม และพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ให้ควบคู่การเรียนรู้นำไปสู่
การพัฒนาการเรียนรูแ้ ละสมรรถนะของผูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล รวมทั้งส่งเสริมการนำระบบธนาคารหน่วยกิตมาใชใ้ น
การเทียบโอนผลการเรยี นรแู้ ละประสบการณ์ตา่ งๆ ของผูเ้ รยี นในสถานศกึ ษา
3.5 พัฒนา ส่งเสริม ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึ กษา
รวมทั้งบุคลากรสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานตำแหน่งและ
มาตรฐานวิชาชีพ
4. ด้านประสทิ ธภิ าพ
4.1 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอำนาจและใช้พื้นที่เป็นฐานที่
มุ่งเนน้ การพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นเป็นสำคัญ ตามหลักธรรมาภิบาล
4.2 นำเทคโนโลยีดิจิทัลและการจัดการฐานข้อมูล มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัด
การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน และการเรียนรู้ของผ้เู รยี น
4.3 ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาโรงเรียนคุณภาพใช้พื้นที่เปน็ ฐาน ใช้นวัตกรรมในการขับเคล่อื น
บริหารจัดการโดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน และแสวงหาการมีส่วนร่วมของหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องทุกระดับเพือ่ ให้ประสบ
ผลสำเรจ็ อยา่ งเป็นรปู ธรรม

รายงานการนิเทศ วันเปดิ ภาคเรียนที่ 2/2565 10

4.4 สง่ เสริม สนับสนนุ การจดั การศกึ ษที่มคี ณุ ภาพในโรงเรยี นทม่ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ และโรงเรียน
ทต่ี ้งั ในพน้ื ทล่ี กั ษณะพเิ ศษ และโรงเรียนในพน้ื ท่นี วัตกรรมการศึกษา

4.5 เพิ่มประสิทธิภาพการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และปรับกระบวนการนิเทศ
ติดตามและประเมินผลการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้สอดรับกับวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) และวิถีปกติต่อไป (Next
Nomal)

จุดเนน้ ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
จดุ เนน้ ท่ี 1 เรง่ แกป้ ญั หากลุม่ ผู้เรียนท่ไี ด้รับผลกระทบจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 โดย

เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss Recovery) ให้กับผู้เรียนทุก
ระดบั รวมทง้ั ลดความเครยี ดและสุขภาพจิตของผู้เรยี น

จุดเน้นที่ 2 เสริมสร้างระบบและกลไกในการดูแล ความปลอดภัยนักเรียน ด้วยระบบมาตรฐานความ
ปลอดภัยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (MOE Safety Platform)

จุดเน้นที่ 3 ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุ 3 - 6 ปี และผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เข้าถึงโอกาส
ทางการศึกษา และปอ้ งกันการหลุดออกจากระบบ รวมท้ังช่วยเหลือเด็กตกหล่น เด็กออกกลางคัน และเดก็ พิการ ท่ี
คน้ พบจากการปกั หมุดบา้ นเด็กพกิ าร ใหก้ ลบั เข้าสู่ระบบการศกึ ษา

จุดเน้นที่ 4 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะ และการจัดทำกรอบหลักสูตร รวมทั้งจัด
กระบวนการเรยี นรทู้ างประวัตศิ าสตร์ หนา้ ท่ีพลเมืองและศลี ธรรม ให้เหมาะสมตามวยั ของผเู้ รียน

จุดเน้นที่ 5 จัดการอบรมครูโดยใช้พื้นที่เป็นฐานควบคู่กับการให้ความรู้ด้านการวางแผนและการสร้างวินยั
ดา้ นการเงินและการออม เพอ่ื แก้ไขปัญหาหนีส้ นิ ครู

จุดเน้นที่ 6 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และมี
ปฏสิ ัมพนั ธ์ กบั กิจกรรมการเรียนรผู้ า่ นการปฏิบัติ ที่หลากหลายรปู แบบ (Active Learning) มกี ารวดั และประเมนิ ผล
เพือ่ พัฒนาการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน (Assessment for learning) เพอ่ื ให้เกิดสมรรถนะกับผ้เู รยี นทุกระดบั

จุดเน้นที่ 7 ยกระดับคุณภาพของนักเรียนประจำพักนอน สำหรับโรงเรียนทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีส่ งู ห่างไกล และถ่ิน
ทรุ กันดาร

จุดเนน้ ที่ 8 มงุ่ เนน้ การใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพอื่ การเรียนร้ทู ุกระดบั
จดุ เน้นท่ี 9 เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การศกึ ษา โดยการกระจายอำนาจและใชพ้ นื้ ทเ่ี ป็นฐานเพ่ือสร้าง
ความเขม้ แข็ง โดยการจัดสรรกรอบวงเงินงบประมาณ (Block Grant) ตามหลกั ธรรมาภบิ าล ใหก้ ับสำนกั งานเขต
พน้ื ทีก่ ารศกึ ษา และสถานศึกษา

รายงานการนเิ ทศ วนั เปิดภาคเรียนที่ 2/2565 11

นโยบายสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตราด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
1. นำนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ สูก่ ารปฏบิ ตั ิ 7 ด้าน ดงั นี้
1.1 การจดั การศึกษาเพื่อความปลอดภยั
1.2 การยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา
1.3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย
1.4 การศึกษาเพอื่ พฒั นาทักษะอาชีพและเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน
1.5 การส่งเสริม สนบั สนุนวชิ าชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
1.6 การพฒั นาระบบราชการและการบริการภาครัฐยคุ ดจิ ิทัล
1.7 การขับเคล่ือกฎหมายการศึกษาและแผนการศึกษาแห่งชาติ
2. นำนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน สกู่ ารปฏบิ ัติ 10 นโยบาย
2.1 การนำพระบรมราโชบาย ของในหลวงรัชการท่ี 10 สู่การปฏิบัติ
2.2 การดำเนินการ ด้านประวตั ศิ าสตร์ หนา้ ท่พี ลเมือง คุณธรรม จริยธรรม
2.3 การดำเนนิ การ เรื่อง การศึกษาการพัฒนาประชาธปิ ไตยโดยเน้นการดำเนินงานรว่ มกับสภา

นกั เรยี น
2.4 การจัดการศึกษาปฐมวยั
2.5 การพฒั นาการเรียนการสอน ACTIVE LEARNING
2.6 การดำเนินการ พาน้องกลับมาเรยี น
2.7 การดำเนนิ การ โรงเรียนคุณภาพ
2.8 การดำเนิการ LEARNING LOSS
2.9 การประกันคณุ ภาพ RT NT และ O – NET
2.10 การดำเนนิ การด้านความปลอดภยั ในโรงเรียน

3. สง่ เสริมการมสี ่วนร่วมการจดั การศกึ ษาสูค่ วามสำเร็จ 5 ประการ ( 5 SUSCESS ) ในมิติ “คนสำราญ
งานสำเร็จ”

รายงานการนเิ ทศ วันเปิดภาคเรยี นที่ 2/2565 12

ภาพที่ 1 การขับเคล่ือนนโยบายผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตราด

การนิเทศการศึกษา ( Supervision) หมายถึง การให้คำปรึกษา แนะนำ ส่งเสริม สนับสนุนเพื่อปรับปรุงพัฒนา

คณุ ภาพการศึกษา โดยความร่วมมือระหว่างสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตราด คณะกรรมการติดตาม

ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด และโรงเรียนใน

ศนู ยเ์ ครือขา่ ยสถานศึกษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียน ผู้รับผิดชอบประกอบดว้ ย

1. นางมญิ ชม์ นัส วรรณมหนิ ทร์ สลางสิงห์ รองผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตราด

2. นางสุเพ็ญพฒั น์ ศรดี ี ผอู้ ำนวยการหนว่ ยตรวจสอบภายใน

3. นางชตุ กิ าญจน์ มดั ถาปะโท ศึกษานเิ ทศก์

รูปแบบการนเิ ทศ
รูปแบบการนิเทศของกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา มีกระบวนการนิเทศตามกรอบ

งาน/ภารกจิ และนโยบาย จงึ ไดก้ ำหนดรูปแบบการนิเทศ ไว้ 3 ลักษณะ คือ
1. นิเทศตามภาระงาน (Function-based Supervision) ใช้รูปแบบการนิเทศโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน

(School - based Supervision) มุ่งเน้นการนิเทศด้านการบริหารจัดการศึกษาตามกรอบโครงสร้างสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

2. นิเทศตามเขตพื้นที่ (Area- based Supervision) ใช้รูปแบบการนิเทศโดยใชศ้ ูนย์เครือข่ายที่รับผิดชอบ
เป็นฐาน (Network- based Supervision) มุ่งเน้นการนิเทศบนพื้นฐานความร่วมมือของสถานศึกษาเพื่อแก้ปัญหา
และพัฒนาตามความต้องการของสถานศึกษาในเครือข่ายโดยยึดหลักการกระจายอำนาจและความเสมอภาคของ
สถานศกึ ษาในเครอื ข่าย

รายงานการนเิ ทศ วันเปดิ ภาคเรียนท่ี 2/2565 13

3. นิเทศตามนโยบายหน่วยงานต้นสังกัด (Agenda - based Supervision) ใช้รูปแบบการนิเทศโดยใช้
ปัญหาเป็นฐาน (Problem- based Supervision) มุ่งเน้นการนิเทศตามความต้องการของหน่วยงานต้นสังกัด โดย
ยึดหลักการกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษาที่เป็นกลุ่มเป้าหมายเป็นหลัก เพื่อนำไปสู่
ความสำเรจ็ ตามนโยบายท่กี ำหนดได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

บทบาทหน้าที่ในการปฏบิ ัติการนเิ ทศของศกึ ษานิเทศก์ ศูนย์เครอื ขา่ ยสถานศึกษาคลองใหญ่ ดงั นี้
1. ประสานการปฏิบัติงาน พัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการนำนโยบายสู่การปฏิบัติระหว่างสำนักงานเขต

พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด กับโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียน และ
ส่งเสริมเผยแพร่รูปแบบการสร้างและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดระบบการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
การจัดการศกึ ษา การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา

2. นิเทศ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
ของในศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียน และรายงานตามสภาพที่เป็นจริงตามรูปแบบการ
นเิ ทศ (Functional – Agenda - Area Based)

3. ชี้แนะ ช่วยเหลือครู ผู้บริหารสถานศึกษา ในศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียน
ในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามพระราชบญั ญัติ การศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2552

กระบวนการและขนั้ ตอนการนเิ ทศ
สำนักงานเขตพื้นการศึกษาประถมศึกษาตราด นำแนวทางกระบวนการนิเทศแบบ PLC (Professional

Learning Community) มาใช้ในการนิเทศ โดยใช้วงจรคณุ ภาพ (PDCA) ในการติดตามตรวจสอบ ดงั น้ี
1. ขั้นเตรียม (Plan)
1.1 ประชุมปฏบิ ัตกิ ารเพื่อวางแผนปฏบิ ัติการนเิ ทศในระดบั เขตพืน้ ที่
1.2 จัดทำคำสง่ั แต่งตัง้ คณะทำงานจัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศ ปงี บประมาณ 2566
1.3 ประชมุ คณะทำงานจัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารนิเทศการศึกษาและเสนอความเหน็ ชอบต่อ

คณะกรรมการนเิ ทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา (ก.ต.ป.น.)
1.4 ศกึ ษาเอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ งตามขอบเขตเนื้อหาและประเดน็ ทจ่ี ะดำเนนิ การนเิ ทศ
1.5 สร้างเครอ่ื งมอื นิเทศให้สอดคลอ้ ง ครอบคลมุ เนื้อหาตามประเดน็ ทจี่ ะนเิ ทศ
1.6 ประชุมคณะกรรมการนิเทศตามคำสั่งเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินการนิเทศก่อนเปิดภาค

เรียน
2. ขน้ั ปฏิบตั กิ ารนเิ ทศ (Do) คณะผู้นเิ ทศปฏิบัตกิ ารนเิ ทศรายสถานศึกษาตามลำดับ ดังนี้
2.1 ผู้นิเทศทุกคณะพบผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้รักษาราชการแทน เพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ ชี้แจง

ข้ันตอนการนเิ ทศ และเครอ่ื งมือนิเทศ

รายงานการนเิ ทศ วันเปิดภาคเรียนที่ 2/2565 14

2.2 ดำเนนิ การนิเทศติดตามขอบเขตเนือ้ หาการนิเทศ และเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยใชเ้ ครื่องมือนิเทศ
ท่ีกำหนด

2.3 ประชุมสะท้อนผลการนิเทศ แก่ผู้บริหารสถานศึกษาและครู หลังจากดำเนินการ ตามขั้นตอน
ครบทุกรายการแลว้ โดยมีการสรปุ ผลดว้ ยวาจา แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ใหข้ อ้ เสนอแนะเพอื่ นำไปวางแผนพฒั นาต่อไป

3. ข้นั ตรวจสอบข้อมูลและสรปุ การนเิ ทศ (Check)
3.1 รวบรวมข้อมูลที่ได้จากเครื่องมือการนิเทศ สรุปผลการนิเทศระดับเครือข่าย และนำส่งกลุ่ม

งานนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาและเครือขา่ ยสถานศึกษาทุกแห่ง
3.2 ประชุมปฏบิ ัตกิ ารคณะกรรมการเพือ่ การวเิ คราะห์ ประมวลผลและสรปุ ผลการนิเทศรว่ มกัน
3.3 สรุป และจดั ทำเอกสารรายงานผลการนเิ ทศระดบั เขตพื้นที่การศึกษา

4. ข้ันทบทวนและปรบั ปรุงการปฏิบัติงาน (Act)
4.1 นำเสนอรายงานผลการนเิ ทศต่อผู้บังคบั บัญชาระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษาศึกษานิเทศก์ ก.ต.ป.น.

สถานศึกษาและผู้มีส่วนเกย่ี วขอ้ งทกุ ระดบั
4.2 ใชผ้ ลการนิเทศ เพือ่ กำหนดแนวทาง วางแผน เตรียมการนเิ ทศคร้ังตอ่ ไป

เทคนิคการนิเทศ
1. การนิเทศโดยใช้เทคนคิ การโค้ช (Coaching)
เปน็ การดึงศกั ยภาพของผรู้ ับการโค้ช เพอื่ ขบั เคลอ่ื นกระบวนการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรม

ส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วยการทำให้ผู้รับการโค้ชตระหนักในความสามารถของตนเอง และมีการสร้างแรงจูงใจให้เกิด
แรงบันดาลใจ(Inspiration) สามารถกำหนดวิธีปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายด้วยวิธีของตนเอง หรือสามารถสร้าง
ทางเลอื กในการปฏิบัติงานที่เกิดจากกระบวนการโค้ชไดอ้ ย่างเหมาะสม ผทู้ ่ีทำหน้าทโี่ คช้ สามารถพัฒนาการคิดอย่าง
เป็นระบบดว้ ยการใช้คำถาม เสนอแนะทางเลือก กำกบั ใหไ้ ปสู่เป้าหมายดว้ ยการกระทำทีเ่ ปน็ ระบบ พร้อมทั้งบันทึก
ข้อมูลการสะท้อนการคิดเพื่อใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลการพัฒนาและเรียนรูร้ ่วมกัน โค้ชจึงต้องมีการเปลีย่ นแปลงตนเองกอ่ นไป
เปลี่ยนแปลงคนอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องขอบข่ายของงานและภารกิจที่รับผิดชอบ มีการสร้างการเรียนรู้โดย
การนำตนเอง (Self directed learner) เพือ่ พฒั นาตนเอง เพ่ือนร่วมงาน และผู้เกย่ี วข้องในองค์กรในชว่ งเวลาสำคัญ
แห่งการเปลีย่ นแปลงเพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพของงานดังกล่าว สมาชิกในองคก์ รหรือผู้รับการโค้ชจะตอ้ งการสนับสนนุ
จากโค้ช ในลักษณะการโค้ช (coaching) โดยใช้เทคนิคการชี้แนะ สะท้อนการคิด (reflective coaching) ในการ
โคช้ โคช้ ตอ้ งสรา้ งความพรอ้ มใหก้ ับตนเองมากยิง่ ขึน้ เก่ียวกับเทคนิคการโคช้ เพอื่ สง่ เสรมิ การการเปลี่ยนแปลงตนเอง
ตนเองและผ้รู ับการโคช้ ในการขับเคล่ือนอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เทคนิคการโคช้ แบง่ เป็น 2 แบบ คือ

1.1 การโค้ชแบบรายบุคคล (face to face coaching) 2) การโค้ชแบบกลุ่ม (Group Coaching)
โดยมีข้ันตอนสำคญั 5 ขัน้ หรือเรยี กวา่ บนั ได 5 ขั้น คอื

รายงานการนเิ ทศ วันเปิดภาคเรยี นที่ 2/2565 15

1) การสร้างความค้นุ เคยและข้อตกลงร่วมกัน (Appreciate Rapport) สรา้ งความคนุ้ เคย
ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและสร้างสรรค์อย่างกัลยาณมิตร และสร้างข้อตกลงระหว่างผ้รู ับการโค้ชให้ทราบถึงบทบาท
ของการโคช้ และผ้รู บั การโคช้ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานรว่ มกัน

2) การสรา้ งความตระหนกั รแู้ ละประเมนิ ตนเองระหว่างโค้ชและผรู้ บั การโค้ชกำหนด
เป้าหมายผลลัพธ์ และแผนดำเนินการ การร่วมกันสร้างความตระหนักรู้โดยการใช้คำถามสะท้อนคิด( Reflective
Thinking) เพื่อประเมินบริบทและความพร้อมของโค้ชและผู้รับการโค้ชให้เกิดการยอมรับในด้านที่เป็นจุดแข็งและ
จุดที่ร่วมกันพัฒนา แล้วกำหนดเป้าหมาย ผลลัพธ์ และแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ที่จะเดินไปสู่กระบวนการ
สร้างการเปล่ยี นแปลงและขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งานใหเ้ กิดประสิทธภิ าพสงู สดุ

3) ดำเนนิ การโค้ช (Coaching) การดำเนนิ การโคช้ ตามแผนทีร่ ่วมกันกำหนดแนวทาง
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ในขั้นตอนนี้โค้ชจะต้องให้หลักการ ทฤษฎีต่างๆ องค์ความรู้ แนวความคิดและ
ประสบการณ์ตรงของตัวเองที่ได้สะสมมาในขณะที่เริ่มต้นการโค้ชโดยเริ่มจากการรับฟัง (Listening) สิ่งที่ผู้รับการ
โค้ชได้ดำเนินการผ่านมาแล้วระยะหนึ่ง และร่วมกันกำหนดเป้าหมายโดยการตั้งคำถาม สะท้อนการคิด
(Questioning & reflective thinking) ของผู้รับการโค้ช และต่อยอดการคิดโดยให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feed back )
ตลอดจนการกระตนุ้ สรา้ งแรงจูงใจ (Motivation) และสรา้ งแรงบันดาลใจ (Inspiration) ให้ผู้รับการโค้ชดำเนินการ
ตามแผนปฏิบตั ิการของตนเองทีก่ ำหนดไว้ และตรวจสอบความก้าวหน้า พร้อมทั้งปรับปรุงแผนตามความเหมาะสม
ซึง่ อาจจำเปน็ ต้องใชก้ ารโค้ชหลายคร้งั เพ่อื ให้บรรลุเปา้ หมายและผลลัพธ์ ท่ตี ัง้ ไว้

4) การประเมิน ทบทวนและสรา้ งความเชอื่ ม่ันระหว่างผโู้ คช้ และผู้รบั การโคช้ จากบทบาท
ที่โค้ชเป็นเพื่อนผู้สะท้อนความคิด (Reflective Thinking) จะมีการประเมินผลเพื่อทบทวนกระบวนการดำเนินการ
ตามแผนและการประเมินตนเองรวมถึงบรบิ ททีเ่ กีย่ วข้องกับการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ระหว่างโค้ชและผู้รบั การ
โค้ช จนสามารถปรับปรุงแผนปฏิบัติการ (Action Plan) และสร้างแนวทางใหม่ รวมถึงขั้นตอนและกิจกรรมต่าง ๆ
แนวทางการประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของเปา้ หมายและผลลพั ธ์ท่ีต้องการวา่ เป็นไปตามแผนท่ีกำหนดไว้หรอื ไม่

5) การสอ่ื สารทางบวก ชืน่ ชมและเหน็ คุณค่าของความสำเรจ็ ในระหว่างการโค้ช จะมกี าร
สือ่ สารทางบวก ชน่ื ชมและเห็นคุณค่าของความสำเร็จเมอ่ื กิจกรรมเปน็ ไปตามแผนและถึงเป้าหมาย ระหว่างการโค้ช
มีการให้ข้อเสนอแนะเท่าที่จำเป็น ตั้งแต่ 2 ทางเลือกขึ้นไปเพื่อเป็นแนวทางที่จะช่วยในการปูพื้นฐานต่าง ๆ ในการ
โค้ชทำให้เห็นว่าสิ่งใดที่เหมาะสม เป็นที่ต้องการหรือจำเป็นเพื่อให้ผู้รับการโค้ชสามารถต่อยอดความคิดให้ถึง
เป้าหมายได้ ซึ่งการสอบถามจะเป็นไปเพื่อค้นหาโอกาสที่จะมุ่งไปสู้การกระทำเชิงรุกมากกวา่ การตั้งรับ โดยโค้ชจะ
ทำการกระตุ้นสร้างแรงบนั ดาลใจ ทา้ ทายความคดิ และการกระทำของผู้รบั การโคช้ ใหก้ ล้าคิด กลา้ ทำ กลา้ แสดงออก
เพื่อการเปลี่ยนแปลงหรอื พฒั นาตนเองใหก้ ้าวหน้ายิ่งข้ึน

รายงานการนเิ ทศ วันเปิดภาคเรยี นที่ 2/2565 16

2. การนิเทศแบบรว่ มพฒั นา
การนิเทศแบบร่วมพัฒนา คือ ปฏิสัมพันธ์ทางการนิเทศระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาศึกษานิเทศก์

และครู ในกระบวนการนเิ ทศการศกึ ษาทมี่ ุ่งแก้ปญั หาและพัฒนาการเรยี นการสอนอย่างเปน็ ระบบ โดยใช้เทคนิคการ
นิเทศการสอนเป็นปัจจัยหลัก บนพื้นฐานของสัมพันธ์ภาพแห่งการร่วมคิด ร่วมทำ พึงพา ช่วยเหลือ ยอมรับซึ่งกัน
และกัน ให้เกียรติและจริงใจตอ่ กันระหว่างผู้นิเทศ ผู้สอนและคูส่ ญั ญา เพื่อร่วมกันพัฒนาทักษะวิชาชีพ อันจะส่งผล
โยตรงต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ลักษณะสำคัญของการนิเทศแบบร่วมพัฒนา เป็นปฏิสัมพันธ์ทางการนิเทศ
จากใจถึงใจบนพื้นฐานของความรัก ความเข้าใจและความจริงใจต่อกันในการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ซึ่งมีลักษณะ
สำคัญ ดงั นี้

2.1 เป็นการนิเทศที่พัฒนามาจากการผสมผสานกันระหว่างการนิเทศจากบุคลากรภายนอก และ
การนิเทศภายในโรงเรียน โยมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่เป็นระบบ
และมีขนั้ ตอนการดำเนินงานทชี่ ัดเจน

2.2 ในกระบวนการปฏสิ มั พนั ธ์ทางการนิเทศแบบร่วมพัฒนา จะมศี ูนยก์ ลางอยทู่ ่ตี วั ครูในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้และโรงเรียน ซึงมีบทบาทหน้าที่แตกต่างกัน เช่น หัวหน้ากุล่มสาระการเรียนรู้มีหน้าที่เป็นผู้นิเทศหรือ
คสู่ ญั ญา (ถา้ ผูร้ บั นเิ ทศตอ้ งการ) เพอื่ นครทู สี่ นิทสนมไวว้ างใจกนั และพร้อมที่จะรว่ มมือกันในการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ
มบี ทบาทหน้าที่เปน็ คู้สัญญา และครทู ่มี คี วามสนใจต้องการมสี ่วนรว่ มแต่ยังขาดความพร้อม สามารถมีส่วนร่วมได้ใน
บทบาทของเพื่อนร่วมอุดมการณ์ และมีเครือขา่ ยท่ีเป็นบุคลากรจากภายนอก เชน่ ศกึ ษานเิ ทศก์ หรือครูผู้ร่วมนิเทศ
ซึ่งก็จะมีบทบาทเป็นผูน้ ิเทศหรือทป่ี รกึ ษา

2.3 เป็นรปู แบบการนิเทศที่ให้ความสำคญั ท้ังกระบวนการนิเทศทว่ั ไป และกระบวนการนิเทศ การ
สอน โดยทั้งสองกระบวนการจะเอ้ือประโยชน์ซ่ึงกนั และกัน และสง่ ผลให้คุณภาพการจัดการเรยี นการสอนดขี ึน้ และ
สำหรับการนิเทศการสอนในรูปแบบของการนิเทศแบบร่วมพัฒนานี้ได้พัฒนามาจากแนวคิดในการนิเทศการสอน
แบบคลินิกและการนเิ ทศเชิงเนน้ วตั ถุประสงค์

2.4 เป็นการวมกลุ่มกัน เพื่อพัฒนาวิชาชีพของครูที่มีความรับผิดชอบต่อวิชาชีพสูงและมีความ
กระตอื รือร้นท่ีจะพฒั นาความเจรญิ งอกงามทางวิชาชีพ โดยกำหนดเป็นโครงการนเิ ทศ มรี ะยะเวลาในการดำเนินงาน
สามารถติดตามผลการปฏิบัติงานได้ ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาและผู้นิเทศจะต้องรับรู้มีส่วนร่วมในการติดตามผลให้
ความสนับสนนุ และอำนวยความสะดวก

2.5 การสังเกตการสอนในกระบวนการนิเทศแบบร่วมพัฒนา ผู้นิเทศต้องไม่สร้างภาพลักษณ์ ใน
การวัดผลหรือประเมินผลการสอน แต่จะเป็นการบันทึกและอธิบายภาพที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ว่าผู้สอนมพี ฤติกรรม
อยา่ งไร มากนอ้ ยเทา่ ใด ไม่ใชด่ หี รอื ไมด่ ีอยา่ งไรเพราะไมต่ ้องการให้ครูเกดิ ความรหู้ ว่ันกลวั การประเมินและวิตกกังวล
ตอ่ ปฏิสัมพันธท์ างการนิเทศ

2.6 การวิเคราะห์พฤติกรรมการสอนของครู จะต้องขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ได้จากการสังเกตการสอน
ไม่ใชจ่ ากความคิดเห็นส่วนตัว คา่ นิยม หรอื ประสบการณ์ของผนู้ ิเทศเอง

รายงานการนิเทศ วันเปดิ ภาคเรยี นที่ 2/2565 17

2.7 การใช้ข้อมูลป้อนกลับหลังจากการสังเกตการสอน และการวิเคราะห์พฤติกรรมการสอน
ผ้นู ิเทศจะใช้เทคนิคนิเทศทางออ้ ม เพอ่ื พัฒนาให้ครสู ามารถวางแผนการสอนไดเ้ อง วิเคราะห์การสอน
ของตนเองได้ ประเมนิ ผลการสอนของตนเองได้ และสามารถนิเทศตนเองไดใ้ นท่ีสดุ

2.8 การปฏิบัติการนิเทศ ยึดหลักการนิเทศแบบมีส่วนร่วม คือ ทั้งผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศจะ
ทำงานร่วมกันทัง่ กระบวนการ ตง้ั แตก่ ารหาความต้องการจำเปน็ ในการนเิ ทศ การกำหนดวัตถปุ ระสงค์ ในการนิเทศ
การวางแผนการนิเทศ การดำเนินการนเิ ทศและการประเมินผลการนิเทศด้วยความเสมอภาคกัน ยอมรบั ยกย่อง ให้
เกยี รตซิ ่งึ กันและกนั ในฐานะผู้รว่ มวิชาชพี

3. การนิเทศแบบบูรณาการโดยใช้พืน้ ท่เี ป็นฐาน
การนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพกำรศึกษา การพัฒนาคุณภาพ

การศึกษา จะสำเร็จได้ตามเป้าหมาย จำเป็นต้องมีองค์ประกอบสำคัญ ในการพัฒนา คือกระบวนการบริหาร
กระบวนการจดั การเรยี นรู้ และกระบวนการนเิ ทศ ทีต่ ้องร่วมกัน สนบั สนนุ ส่งเสริมไปด้วยกนั ในลกั ษณะของ “เกลยี ว
เชือก” กระบวนการนิเทศการศึกษา เป็นกระบวนการ ที่ทำให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุง กระบวนการเรียนการ
สอนของครู โดยมุ่งให้เกิดการจัดการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลถึงคุณภาพของผู้เรียน กระบวนการนิเทศ
การศกึ ษาช่วยทำใหเ้ กิดการพัฒนาคน พฒั นางาน สร้างการประสานสัมพนั ธ์ และ ขวัญกำลงั ใจ ซึง่ ตอ้ งดำเนินงานให้
ประสานสัมพันธ์กับกระบวนการ อื่นในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุตามเป้าหมาย ทำให้เกิดการพัฒนาที่
ย่ังยืนถาวร การนเิ ทศ 5 ขน้ั ตอน ดังน้ี

ข้ันท่ี 1 การศกึ ษาสภาพปจั จบุ นั ปัญหาและความต้องการ เป็นการกำหนดปญั หาและความต้องการ
ในแกป้ ญั หาหรือพฒั นา ดงั นี้

1) การจัดทำข้อมูลสารสนเทศพื้นฐาน เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาวางแผนการ
ดำเนินงาน

2) การแลกเปลี่ยนระดมความคิด วิเคราะห์เพื่อหาสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นและความ
ตอ้ งการในการพฒั นาตามบรบิ ทของหนว่ ยงาน

3) การจัดลำดับปัญหาและเลือกปัญหาที่เป็นความจำเป็นหรือต้องการในลำดับเร่งด่วน
หรอื ลำดบั ทีเ่ หน็ ว่าสำคญั ทีส่ ุด

4) การสร้างการรับรู้ระหว่างผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การประชุม
การสมั มนา ฯลฯ เพื่อสร้างวสิ ยั ทศั น์หรอื สรา้ งเป้าหมายรว่ มกันในการดำเนินงาน

ข้ันที่ 2 การวางแผนการนิเทศ เป็นการนำปญั หาและความต้องการ กำหนดรายละเอียดของ
กิจกรรมในการจดั ทำแผนนิเทศ ดงั นี้

1) กำหนดแนวทาง/วธิ กี ารการพัฒนาท่หี ลากหลายตามปัญหาที่เกิดขึน้ ตามความ
ต้องการและจำเปน็ มกี ารใชก้ ระบวนการชุมชนการเรียนร้วู ิชาทางวชิ าชพี (Professional Learning
Community : PLC) และการศกึ ษาชัน้ เรยี น (Lesson Study) เป็นเครอื่ งมอื สำคัญในการพฒั นาวิชาชีพครแู ละ

รายงานการนเิ ทศ วนั เปดิ ภาคเรียนที่ 2/2565 18

การพฒั นาผ้เู รียนอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนือ่ ง
2) เลอื กแนวทาง/วธิ ีการในการพัฒนาโดยการมีส่วนรว่ มของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
3) วางแผนการดำเนินงานพัฒนา
- การประชุมเตรียมการนิเทศ เพือ่ สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจร่วมกัน
- สร้างคณะนิเทศ เป็นทีมงานในการนเิ ทศร่วมกัน
- กำหนดประเดน็ การนิเทศ เป็นการกำหนดเนอื้ หาท่จี ะนิเทศ
- กำหนดระยะเวลาในการนิเทศ โดยกำหนดระยะเวลาในการนิเทศท่ีเหมาะสม

กับการแกป้ ัญหาและการพฒั นา
- กำหนดวธิ กี ารนเิ ทศและกจิ กรรมการนเิ ทศทเ่ี หมาะสมตามสภาพปัญหาและ

ความต้องการ เช่น การประชุมสัมมนา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสังเกตชั้นเรียน การสาธิต การบันทึกวิดีโอและ
การถ่ายภาพ การสัมภาษณ์ การ Coaching & Mentoring ฯลฯ โดยเน้นการใช้ ICT ในรูปแบบต่าง ๆ เช่นการใช้
Line Application, Clip Video, Conference, Video Line YouTube, Facebook Live เปน็ ตน้

4) จัดทำแผนนิเทศ ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนการ
ดำเนนิ การ กิจกรรมสำคญั ปฏิทินการปฏบิ ตั ิงาน ทรัพยากรทต่ี อ้ งการ เคร่อื งมือนเิ ทศ ผลทคี่ าดวา่ จะได้รับ

ขั้นที่ 3 การสร้างสื่อและเครื่องมือนิเทศ สื่อและเครื่องมือนิเทศเป็นสิ่งที่จะช่วยให้การนิเทศมี
ประสิทธภิ าพบรรลุวตั ถุประสงค์ และเปน็ สิ่งที่จะชว่ ยเก็บรายละเอยี ดท่ีผูร้ บั การนิเทศไมส่ ามารถแสดงออกมาได้และ
สามารถเก็บข้อมูลนำมาเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและสิ่งที่ทำให้มีความเข้าใจตรงกัน
ระหว่างผู้นเิ ทศและผู้รับการนเิ ทศ

1) สร้างสื่อการนิเทศที่ทำให้การนิเทศบรรลุวัตถุประสงค์ เช่น วิธีการนิเทศ ทักษะการ
นิเทศเทคนิคการนิเทศ โดยเป็นสื่อที่สอดคล้องคล้องในยุคศตวรรษท่ี ๒๑ เน้นการใช้ ICT ในรูปแบบต่างๆ เช่น การ
ใช้Line Application, Clip Video, Conference, Video Line YouTube, Facebook Live เป็นต้น

2) สร้างเครื่องมือการนิเทศเพื่อเก็บข้อมูลเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาและพัฒนา
ตรวจสอบติดตามความกา้ วหน้าของการดำเนินงาน และการประเมินผลการดำเนินงาน ซ่งึ เปน็ เครอื่ งมือที่มีคุณภาพ
ใชง้ ่าย สามารถเกบ็ ขอ้ มูลที่ตอบประเด็นปัญหาความต้องการ และเป็นประโยชนใ์ นการแกป้ ญั หาปรบั ปรุงและพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษา

ขัน้ ท่ี 4 การปฏบิ ัติการนิเทศ ดำเนินการนิเทศตามวิธกี ารการนเิ ทศและกิจกรรมการนิเทศทีก่ ำหนด
1) ประชุมเตรียมการก่อนการนเิ ทศ เพื่อสร้างความเขา้ ใจของผูน้ ิเทศ ให้การนิเทศเปน็ ไป

อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
2) นิเทศตามข้นั ตอน ระยะเวลา และใชเ้ คร่ืองมือตามท่กี ำหนด
3) การสะท้อนผลการนเิ ทศ

รายงานการนิเทศ วนั เปิดภาคเรียนที่ 2/2565 19

4) ปรบั ปรงุ และพัฒนาการดำเนินงาน
ข้นั ที่ 5 การประเมนิ ผล และรายงานผล

1) ประเมินความก้าวหนา้ ของการดำเนนิ งาน เชน่ การดำเนนิ งานของผรู้ บั การนเิ ทศ
เพื่อนำผลไปปรบั ปรงุ แนวทางการดำเนนิ งาน

2) ประเมนิ ผลการนิเทศเมือ่ เสร็จสนิ้ การปฏบิ ัตกิ ารนิเทศตามระยะเวลาท่ตี ้องการ
ในการนำผลไปใช้ในการพัฒนา หรือในแตล่ ะปีการศึกษา

3) รายงานผลการนเิ ทศต่อผูเ้ ก่ียวขอ้ ง
4) นำผลการนิเทศทเ่ี ปน็ ปญั หา อปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะไปพฒั นาการนิเทศในครง้ั
ต่อไป หรือในปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป
4. การนิเทศรปู แบบออนไลน์
การนเิ ทศออนไลน์เกดิ ขน้ึ หลังจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกอย่างรวดเรว็ ระบบการสื่อสารไร้
พรมแดน สังคมเปล่ียนเปน็ สังคมยคุ ดิจิทัลปัจจยั เหล่านี้ส่งผลตอ่ รูปแบบการใช้ชวี ิตของบุคคลและวิธีการทำงานของ
บุคคล เพื่อมุ่งตอบสนองความต้องการที่ รวดเร็ว ทันเวลา เพื่อขจัดปัญหาและอุปสรรคในเรื่องเวลา และระยะทาง
อนั จะส่งผลต่อความสำเร็จของงาน จดุ เดน่ ของการติดต่อส่ือสารผ่านระบบดจิ ิทลั ทีส่ ามารถทำไดเ้ พียงเสี้ยววนิ าที ทำ
ให้เกดิ รูปแบบการทำงานแบบใหม่ๆของคนรนุ่ ใหม่ และเกิดข้ึนในหลากหลายสาขาวชิ า อาทเิ ชน่ ดา้ นการแพทย์เริ่ม
มีการนำระบบดิจิทัลมาใช้ในการรักษาพยาบาลคนไข้ที่อยู่สถานที่ที่ห่างไกลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางและใช้ในการ
ตดิ ตอ่ ส่อื สารระหว่างกนั ในการทำงานเปน็ ทมี ทีต่ ้องใชส้ หวิทยาการ และบคุ คลเหลา่ นั้นทอี่ ยู่คนละพน้ื ที่ เช่น มีระบบ
การผ่าตัดด้วยระบบกลไกหุ่นยนต์ ที่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่หลากหลายสาขาในการทำงาน ทางด้าน
การศึกษาก็มเี คร่อื งมอื การนิเทศออนไลน์ ได้แก่
1. Google Hangouts Meet
ความสามารถของโปรแกรมนี้เหมาะสำหรับการประชุมทรพั ยากรอินเทอรเ์ น็ตน้อย มีเมนู
น้อยทำให้ผใู้ ชง้ านไมส่ ับสน บันทึกการประชมุ ได้ สามารถ Call ได้ มากถึง 250 คน เม่อื สิน้ สุดการประชมุ ระบบจะ
สง่ Video ทบ่ี ันทกึ ไปยัง Email ใชใ้ นเคร่อื ง PC หรอื โหลด App บนมอื ถือได้
2. Zoom Cloud Meetings
ความสามารถของโปรแกรมนี้เหมาะสำหรับการประชุมสามารถ VDO Call แชร์หน้าจอ
กันได้ ใชใ้ นเครื่อง PC หรือ โหลด App บนมอื ถือได้
3. Line
ความสามารถของโปรแกรมน้ีเหมาะสำหรับ Video Call ได้ คยุ งาน แชท สง่ งานกันได้ใน
กลมุ่ ใช้งานง่าย ใชใ้ นเครื่อง PC หรอื โหลด App บนมือถอื ได้

ตอนท่ี 3

วิธีการดำเนินงาน

การนิเทศการ ติดตาม วนั เปดิ เรียนภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 ศูนยเ์ ครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตราด มวี ธิ กี ารดำเนนิ งาน ดงั น้ี

1. แจง้ แนวทางการเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรียนภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 และศึกษาเอกสารท่ี
เกย่ี วขอ้ ง โรงเรยี นในศูนยเ์ ครือข่ายสถานศกึ ษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียนทราบและถือเป็นแนวทางปฏิบัติ

ตอนท่ี 1 ข้อมลู สถานศกึ ษา
ตอนท่ี 2 การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2565

1. ดา้ นการบริหารจัดการ
2. ด้านอาคารสถานท่ี
3. ดา้ นครผู ูส้ อน
ตอนที่ 3 การดำเนนิ งานตามนโยบายของหนว่ ยงานต้นสงั กัด
1. โรงเรียนดำเนนิ การรับมอบนโยบายการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2565 และ
กิจกรรมเยย่ี มบา้ นนกั เรยี น ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 นาฬิกา รับชมการถ่ายทอดสด
2. การดำเนนิ การตามเง่ือนไขข้อกำหนด 6 มาตรการหลกั (DMHT -RC) 6 มาตราการ
เสรมิ (SSET - CQ) และแนวทาง 7 มาตรการเขม้ สำหรับสถานศกึ ษา
3. บุคลากรทุกคนในโรงเรยี นรบั ทราบนโยบาย สพป.ตราด ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มการจัด
การศกึ ษาสู่ความสำเร็จ 5 ประการ (5 SUUSCESS) ในมิติ “คนสำราญ งานสำเรจ็ ”
4. การใหบ้ ริการอาหารกลางวนั
5. การจัดสรรนมโรงเรียน
6. ปัญหา/อปุ สรรค
7. ขอ้ เสนอแนะ
2. ประชุมคณะรว่ มนเิ ทศ ซงึ่ ประกอบด้วย รองผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาตราด
ผูอ้ ำนวยการหนว่ ยตรวจสอบภายใน และศึกษานิเทศก์ประจำศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่ เพ่ือร่วมวางแผน
ในการลงพื้นทีน่ ิเทศ โดยศึกษา ทำความเข้าใจในประเดน็ การนิเทศ จากเครื่องมือจัดทำเครื่องมือการนิเทศ ติดตาม
วันเปดิ เรยี นภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
3. กำหนด ปฏบิ ตั ิการลงนิเทศ ประสานโรงเรยี นเพอื่ ลงพ้นื ทีน่ เิ ทศ
4.ศึกษานิเทศก์ ลงพื้นที่ นิเทศติดตาม วันเปิดเรียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่าย
สถานศึกษาคลองใหญ่ จำนวน 11โรงเรียน โดยใช้เทคนิคการนิเทศร่วมพัฒนาเพื่อรับทราบข้อมูลของแต่ละโรงเรียนรับทราบปัญหา
รว่ มวางแผนหาแนวทางในการแก้ปญั หาและการขบั เคลอื่ นคุณภาพการศกึ ษาในคร้ังตอ่ ไปตดิ ตามรายงานผลเป็นรายโรงเรียนโดยการใช้
เทคนิคการนิเทสรปู แบบออนไลน์ ผ่านกลุ่มไลน์ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยสถานศกึ ษาไลนส์ ่วนตวั ตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มูล
5. การวเิ คราะห์ ทำการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ด้วยสถติ โดยใช้ หาค่ารอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี ของข้อมูล
6. สรปุ อภปิ รายผล รายงานผล

ตอนท่ี 4

ผลการดำเนินงาน

การนเิ ทศ ตดิ ตาม วันเปดิ เรียน ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 ของศนู ยเ์ ครือขา่ ยสถานศกึ ษาคลองใหญ่
สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตราด

ตารางที่ 1 ข้อมูลสถานศกึ ษา
โรงเรยี นในศูนยเ์ ครอื ข่ายสถานศกึ ษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียน

ท่ี ชอื่ โรงเรยี น ช่ือผบู้ ริหาร เบอร์โทรศพั ท์ E-mail
1 บา้ นคลองมะนาว นางมาตกิ า สิงหป์ ัน้ 0971314158 [email protected]
[email protected]
รกั ษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน [email protected]

2. บา้ นไม้รดู (วิสิทธ์ปิ ระชาสรรค)์ นางสาวเดน่ นภา หงษ์วเิ ศษ [email protected]

3 บ้านหนองม่วง นายนรินทร์ หทู อง 0949915396

รกั ษาการในตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น

4 วดั ห้วงโสม นายย่ิงยศ คำหา 0982256997

รักษาการในตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียน

5 บา้ นตาหนึก นายศรายธุ มณีเรือง

รักษาการในตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน

6 บ้านเนนิ ตาล นายวิเชียร ยิ่งยง 0896397713

7 อนบุ าลวัดคลองใหญ่ นางสาวกญั ชพร ปานเพ็ชร 0958599514

8 บา้ นคลองจาก นางสาวชนุตพร กะไชยวงษ์ 0822326287

รักษาการในตำแหน่งผอู้ ำนวยการโรงเรียน

9 บ้านคลองมะขาม วา่ ที่เรือตรธี นพงศ์ บญุ วาที 0892458655

10 บา้ นโขดทราย ว่าท่ีเรอื ตรีธนพงศ์ บุญวาที 0892458655

11 บ้านหาดเล็ก รักษาการในตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น

นายประศาสน์ เกตุบรรเทิง 0824604360

จากตารางพบว่า โรงเรียนในศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียน มีผู้บริหาร
สถานศึกษา จำนวน 5 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 45.45 และมีรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 6
โรงเรียน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 54.45

รายงานการนเิ ทศ วันเปดิ ภาคเรียนท่ี 2/2565 22

ตารางท่ี 2 แสดงร้อยละ จำนวนบุคลากร จำแนกรายโรงเรยี น (ข้อมูล ณ วันที่ 2 พ.ย.2565)

ที่ ชอ่ื โรงเรียน ทัง้ หมด จำนวนบคุ ลากรในโรงเรยี นวนั เปดิ เรียน
11 มาปฏิบัตงิ าน ไม่มาปฏบิ ตั ิงาน หมายเหตุ
1 บา้ นคลองมะนาว 13
2 บ้านไมร้ ูด (วิสิทธป์ิ ระชาสรรค์) 6 11 0
3 บา้ นหนองมว่ ง 8
4 วัดหว้ งโสม 5 13 0
5 บ้านตาหนึก 21 60
6 บา้ นเนินตาล 35 80
7 อนบุ าลวัดคลองใหญ่ 13 50
8 บ้านคลองจาก 26 21 0
9 บ้านคลองมะขาม 6 35 0
10 บ้านโขดทราย 12 13 0
11 บา้ นหาดเลก็ 25 1 ลาคลอด
156
จำนวนท้ังหมด 100.00 60
รอ้ ยละ 12 0

155 1
99.36 0.64

จากตารางพบว่า โรงเรียนในศนู ยเ์ ครอื ข่ายสถานศกึ ษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรยี น มบี คุ ลากรทั้งหมด
คน 156 คน มาปฏบิ ัติงานในวนั เปิดภาคเรยี น จำนวน 155 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 99.36

รายงานการนเิ ทศ วันเปดิ ภาคเรียนที่ 2/2565 23

ตารางที่ 3 แสดงจำนวนนักเรยี นทงั้ โรงเรยี นภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 2 พ.ย.2565)

ลำดบั ชอ่ื โรงเรยี น ระดบั ช้นั
ท่ี
อ.1 อ.2 อ.3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม
1 บ้านคลองมะนาว 0 6 13 10 20 12 22 16 23 0 0 0 122

2 บา้ นไมร้ ดู (วิสทิ ธิ์ประชาสรรค์) 17 28 20 22 30 29 21 25 30 27 26 22 297

3 บ้านหนองมว่ ง 0 12 14 14 11 8 12 12 10 0 0 0 93

4 วัดห้วงโสม 8 16 11 6 6 12 6 9 5 0 0 0 79

5 บ้านตาหนกึ 0 7 7 10 9 8 16 16 10 0 0 0 83

6 บ้านเนินตาล 0 18 28 42 21 42 55 64 62 0 0 0 332

7 อนบุ าลวดั คลองใหญ่ 0 77 82 87 110 79 98 104 75 0 0 0 712

8 บ้านคลองจาก 0 24 27 24 30 29 23 27 33 31 40 29 317

9 บา้ นคลองมะขาม 0 40 63 51 73 58 49 54 57 0 0 0 445

10 บา้ นโขดทราย 0 3 6 9 6 6 9 0 9 0 0 0 48

11 บ้านหาดเลก็ 10 15 12 20 30 11 18 10 4 0 0 0 130

รวมท้งั หมด 35 246 283 295 346 294 329 337 318 58 66 51 2,658

จากตารางพบว่า โรงเรียนศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่จำนวน 11 โรงเรียน มีนักเรียนทั้งหมด
2,658 คนข้อมลู ณ วันท่ี 2 พฤศจิกายน 2565 โดยเปดิ สอนในระดบั ช้ัน ดงั นี้

เปิดสอนช้นั อนุบาล 1 ถึง ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 มจี ำนวน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนวดั หว้ งโสม และโรงเรยี น
บา้ นหาดเลก็

เปิดสอนระดับช้นั อนุบาล 2 ถึงชนั้ ประมศึกษาปีท่ี 6 มจี ำนวน 7 โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรียนบ้านคลองมะนาว
โรงเรียนบ้านหนองม่วง โรงเรียนบ้านตาหนึก โรงเรียนบ้านเนินตาล โรงเรียนอนุบาลวัดคลองใหญ่ โรงเรียนบ้าน
คลองมะขาม และโรงเรียนบา้ นโขดทราย

เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีจำนวน 1 โรงเรียน คือ โรงเรียนบ้านไม้รูด
(วิสทิ ธิ์ประชาสรรค์)

เปดิ สอนระดับชนั้ อนุบาล 2 ถงึ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 มีจำนวน 1 โรงเรยี น คือ โรงเรยี นบา้ นคลองจาก

รายงานการนเิ ทศ วันเปิดภาคเรียนท่ี 2/2565 24

ตารางที่ 4 จำนวนนักเรียนทีม่ าเรยี นในวัดเปิดเรยี นภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 2 พ.ย.
2565) นักเรียนท้ังหมด จำนวน 2,658 คน

ลำดบั ช่ือโรงเรยี น ระดบั ชนั้
ท่ี
อ.1 อ.2 อ.3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม
1 บา้ นคลองมะนาว 0 5 9 9 14 8 21 14 23 0 0 0 103

2 บา้ นไม้รดู (วิสทิ ธป์ิ ระชาสรรค)์ 17 28 20 22 30 29 21 25 30 27 26 22 297

3 บา้ นหนองมว่ ง 0 9 10 9 9 7 12 11 10 0 0 0 68

4 วัดหว้ งโสม 6 10 7 5 5 9 5 8 3 0 0 0 46

5 บ้านตาหนกึ 0 7 7 10 9 8 16 16 10 0 0 0 83

6 บ้านเนินตาล 0 17 21 33 19 42 44 59 57 0 0 0 292

7 อนบุ าลวดั คลองใหญ่ 0 78 82 84 104 80 98 102 74 0 0 0 702

8 บ้านคลองจาก 0 19 23 15 28 25 23 24 33 29 38 27 284

9 บา้ นคลองมะขาม 0 34 44 46 67 55 46 50 52 0 0 0 394

10 บ้านโขดทราย 0 3 6 9 6 6 9 0 9 0 0 0 48

11 บ้านหาดเล็ก 10 15 12 20 30 11 18 10 4 0 0 0 130

รวมทั้งหมด 33 225 241 262 321 277 313 319 302 56 64 49 2,447

จากตารางพบว่า โรงเรียนในศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียน มีจำนวนนักเรียน
ทมี่ าโรงเรียน จำนวน 2,447 คน คิดเปน็ ร้อยละ 92.06 ของนกั เรียนทั้งหมด

รายงานการนิเทศ วันเปิดภาคเรยี นที่ 2/2565 25

ตารางท่ี 5 จำนวนนักเรยี นไม่มาเรยี นในวดั เปิดเรยี นภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 (ข้อมูล ณ วันท่ี 2 พ.ย.
2565) นักเรียนทั้งหมด จำนวน 2,658 คน

ลำดับ ชอื่ โรงเรียน ระดับช้ัน
ที่
อ.1 อ.2 อ.3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม
1 บ้านคลองมะนาว 0 1 4 1 6 4 1 2 0 0 0 0 17

2 บา้ นไม้รดู (วิสทิ ธป์ิ ระชาสรรค์) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

3 บา้ นหนองม่วง 0 3 4 5 2 1 0 1 0 0 0 0 16

4 วดั หว้ งโสม 2 6 4 1 1 3 1 1 2 0 0 0 22

5 บ้านตาหนกึ 000000000000 0

6 บ้านเนินตาล 0 1 7 9 2 0 11 5 5 0 0 0 40

7 อนุบาลวัดคลองใหญ่ 0 0 0 3 6 0 0 2 1 0 0 0 12

8 บ้านคลองจาก 0 5 4 9 2 4 0 3 0 2 2 2 33

9 บ้านคลองมะขาม 0 6 19 5 6 3 3 4 4 0 0 0 50

10 บา้ นโขดทราย 000000000000 0

11 บ้านหาดเลก็ 000000000000 0

รวมท้งั หมด 2 21 42 33 25 15 16 18 12 2 2 2 190

จากตารางพบวา่ โรงเรียนในศูนย์เครอื ขา่ ยสถานศกึ ษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรยี น มจี ำนวนนักเรยี น
ทไี่ ม่มาโรงเรยี น จำนวน 190 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.94 ของนักเรยี นท้ังหมด

รายงานการนเิ ทศ วนั เปดิ ภาคเรียนที่ 2/2565 26

ตารางที่ 6 แสดงเหตุผลทน่ี ักเรียนไม่มาเรยี นในวันเปิดเรียนภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565

ลำดบั ที่ ช่อื โรงเรียน เหตุผล
1. บา้ นคลองมะนาว ไม่สบาย,อยฝู่ ่งั กมั พูชา, ตดิ ตามผู้ปกครองไปตา่ งจังหวัด
2. บา้ นไมร้ ดู (วิสิทธิป์ ระชาสรรค)์ ไมม่ ีนักเรยี นไม่มาเรียน
3. บา้ นหนองมว่ ง ไมส่ บาย, อยู่ฝงั่ กมั พชู า , ติดตามผปู้ กครองไปต่างจังหวดั
4. วัดหว้ งโสม ไม่สบาย, อยูฝ่ งั่ กมั พูชา
5 บ้านตาหนึก ไม่มนี ักเรยี นไม่มาเรยี น
6 บา้ นเนินตาล ไมส่ บาย,อยฝู่ ัง่ กัมพูชา, ตดิ ตามผปู้ กครองไปทำงานนอกพนื้ ท่ี
7 อนบุ าลวดั คลองใหญ่ ไม่สบาย,อยฝู่ ง่ั กัมพชู า
8 บา้ นคลองจาก ไมส่ บาย,อยฝู่ ่งั กัมพชู า, ติดตามผปู้ กครองไปทำงานนอกพ้ืนที่
9 บา้ นคลองมะขาม ไมส่ บาย,อยฝู่ ั่งกมั พชู า
10 บ้านโขดทราย ไม่มีนกั เรียนไม่มาเรียน
11 บ้านหาดเลก็ ไมม่ ีนักเรียนไม่มาเรยี น

จากตารางพบว่า มีนกั เรยี นไม่มาเรยี นในวนั เปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 7 โรงเรียน จาก
การสอบถามครูประจำชัน้ พบว่า นกั เรยี นไม่สบาย อยู่ฝัง่ กัมพชู า และติดตามผู้ปกครองไปต่างจังหวัด/ทำงานนอก
พื้นท่ี จำนวน 4 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรยี นบ้านคลองมะนาว โรงเรยี นบ้านหนองม่วง โรงเรยี นบ้านเนนิ ตาล โรงเรียน
บ้านคลองจาก และนักเรียนไม่สบาย อยฝู่ ่ังกัมพูชา จำนวน 3 โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรียนวดั ห้วงโสม โรงเรียนอนุบาล
วัด โรงเรยี นบ้านคลองมะขาม

รายงานการนเิ ทศ วันเปิดภาคเรยี นท่ี 2/2565 27

ตอนที่ 2 การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
ดา้ นการบรหิ ารจดั การ จำนวน 5 ประเดน็ ดังนี้
1. มีการจดั ประชุมครู /บุคลากร /ผ้ปู กครอง และนักเรียนก่อนเปิดภาคเรยี น

2. มีคำสง่ั การจดั ช้นั เรยี น และมอบหมายงานใหค้ รูรับผดิ ชอบทีช่ ัดเจน

3. มีการวางแผน/โครงการ/มอบหมายงานใหบ้ คุ ลากรตามแนวทางการ พฒั นาคุณภาพการศึกษา

4. มกี ารดำเนนิ งานธรุ การและสารสนเทศของโรงเรยี นเป็นปัจจุบนั

5. หอ้ งเรียน/ห้องปฏิบตั ิการทุกหอ้ งมคี วามเรียบรอ้ ยสะอาดปลอดภยั และเออื้ ต่อการจดั การเรยี นการสอน

ตารางที่ 7 แสดงการดำเนนิ การเตรียมความพร้อมการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 ด้านการบริหารจัดการ

จำนวน 5 ประเด็น

ที่ ช่ือโรงเรียน ดา้ นการบรหิ ารจดั การ ร้อยละ
ประเด็นท่ี 2 ประเดน็ ท่ี 3 ประเด็นที่ 4
1 บ้านคลองมะนาว ประเด็นท่ี 1 ประเด็นท่ี 5 ปฏบิ ัติ ไม่ปฏบิ ัติ
2 บ้านไมร้ ูด (วิสิทธปิ์ ระชาสรรค์) ปฏบิ ตั ิ ไม่ ปฏบิ ัติ ไม่ ปฏิบัติ ไม่
3 บา้ นหนองม่วง ปฏิบัติ ไม่ ปฏบิ ตั ิ ปฏิบัติ ปฏบิ ัติ ปฏบิ ตั ิ ไม่ 80.00 20.00
4 วัดหว้ งโสม ปฏิบัติ ปฏบิ ัติ 100.00 0.00
5 บา้ นตาหนกึ  100.00 0.00
6 บา้ นเนนิ ตาล    80.00 20.00
7 อนบุ าลวัดคลองใหญ่    100.00 0.00
8 บา้ นคลองจาก    100.00 0.00
9 บ้านคลองมะขาม   100.00 0.00
10 บ้านโขดทราย    80.00 20.00
11 บ้านหาดเลก็   100.00 0.00
   100.00 0.00
รวม    100.00 0.00
รอ้ ยละ  
   94.54 5.46
  
 11 11 11 11
 100 0.00 100 0.00 100 0.00 100 0.00
83
77.73 22.27

จากตารางพบว่า การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ด้านการบริหารจัดการ
จำนวน 5 ประเด็น ได้แก่ มีการจัดประชุมครู /บุคลากร /ผู้ปกครอง และนักเรียนก่อนเปิดภาคเรียน มีคำสั่งการจดั
ชั้นเรียน และมอบหมายงานให้ครูรับผิดชอบที่ชัดเจน มีการวางแผน/โครงการ/มอบหมายงานให้บุคลากรตามแนว
ทางการ พัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการดำเนินงานธุรการและสารสนเทศของโรงเรียนเป็นปัจจุบัน และห้องเรียน/
หอ้ งปฏบิ ัติการทุกห้องมีความเรยี บร้อย สะอาด ปลอดภยั และเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน โรงเรยี นที่ดำเนินการ
ครบทั้ง 5ประเด็น คิดเป็นร้อยละ 94.54จำแนกรายโรงเรียน มีจำนวน 8โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 72.73และโรงเรียนที่ดำเนินการ 4
ประเด็นมีจำนวน3โรงเรยี นคดิ เปน็ รอ้ ยละ27.27โดยในประเดน็ ที่ยงั ไมไ่ ดด้ ำเนนิ การเนือ่ งจากมกี ำหนดการหลงั จากวันเปดิ ภาคเรียน

รายงานการนเิ ทศ วนั เปิดภาคเรียนท่ี 2/2565 28

ดา้ นอาคารสถานท่ี
1. มกี ารจดั บรเิ วณ/บริบทโรงเรยี น/อาคารเรยี นทป่ี ลอดภยั

2. มกี ารดูแลรกั ษา/ตรวจสภาพระบบไฟฟา้ ท่ีปลอดภัย

3. มกี ารจดั หอ้ งเรยี น โต๊ะ,เกา้ อ้ีเรยี น,ห้องธุรการ

4. มกี ารดแู ลรกั ษาความสะอาดหอ้ งน้ำห้องส้วม/ระบบนำ้ ประปาทเ่ี หมาะสม

5. มีการดูแลรักษาความสะอาดหอ้ งสมดุ โรงเรยี น/หอ้ งปฏิบัติการต่าง ๆ เป็นระเบียบสะอาด

เรียบรอ้ ย

ตารางที่ 8 แสดงการดำเนนิ การเตรียมความพรอ้ มการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 ด้านอาคารสถานท่ี

จำนวน 5 ประเดน็

ที่ ชอื่ โรงเรยี น ประเดน็ ท่ี 1 ดา้ นการบริหารจัดการ ประเด็นท่ี 5 ร้อยละ
ปฏบิ ัติ ไม่ ประเด็นท่ี 2 ประเดน็ ท่ี 3 ประเด็นที่ 4 ปฏบิ ัติ ไม่
1 บ้านคลองมะนาว ปฏบิ ตั ิ ไม่ ปฏบิ ตั ิ ไม่ ปฏบิ ตั ิ ไม่ ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ
2 บ้านไม้รูด (วสิ ิทธป์ิ ระชาสรรค์) ปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิ
3 บ้านหนองม่วง ปฏบิ ตั ิ ปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิ 100.00
4 วดั ห้วงโสม   100.00
5 บา้ นตาหนกึ     100.00
6 บ้านเนนิ ตาล     100.00
7 อนุบาลวัดคลองใหญ่     100.00
8 บา้ นคลองจาก     100.00
9 บา้ นคลองมะขาม     100.00
10 บ้านโขดทราย     100.00
11 บ้านหาดเลก็     100.00
    100.00
รวม     100.00
รอ้ ยละ    
  100.00 0.00
11
11 11 100 0.00
100 0.00 100 0.00 100 0.00

จากตารางพบว่า การเตรียมความพรอ้ มการเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 ด้านอาคารสถานท่ี
จำนวน 5 ประเดน็ ไดแ้ ก่ มกี ารจัดบรเิ วณ/บริบทโรงเรยี น/อาคารเรยี นทปี่ ลอดภยั มีการดูแลรกั ษา/ตรวจสภา
พระบบไฟฟ้าที่ปลอดภยั มกี ารจดั หอ้ งเรยี น โตะ๊ ,เก้าอเี้ รยี น,หอ้ งธุรการ มีการดูแลรักษาความสะอาดห้องนำ้ ห้อง
ส้วม/ระบบน้ำประปาท่ีเหมาะสมและมีการดูแลรักษาความสะอาดห้องสมดุ โรงเรยี น/ห้องปฏิบตั ิการต่าง ๆ เปน็
ระเบยี บสะอาด เรยี บรอ้ ย มีโรงเรยี นทีด่ ำเนินการครบท้งั 5 ประเดน็ คดิ เป็นร้อยละ 100 จำแนกรายโรงเรียน มี
จำนวน 11 โรงเรยี น คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

รายงานการนเิ ทศ วนั เปดิ ภาคเรียนที่ 2/2565 29

ด้านครผู ูส้ อน
1. มกี ารดำเนินงานธรุ การประจำชัน้ เรียนท่ีสมบรู ณ/์ เรยี บร้อย
2. มีการเตรียมความพร้อมด้านแผนการสอนอย่างน้อย 1 สาระการเรียนรหู้ ลัก/ ครู 1 คน
3. มกี ารจัดทำตารางสอน,ตารางการจัดกจิ กรรมประจำภาคเรียนท่ี 2/2565
4. มกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามตารางการเรยี นรูท้ ่เี ป็นปัจจุบัน

5. มกี จิ กรรมการเรียนรูเ้ พ่ือการสอน สอนเพื่อการเรยี นรู้

ตารางที่ 9 แสดงการดำเนินการเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565 ด้านครูผสู้ อน
จำนวน 5 ประเด็น

ที่ ช่ือโรงเรยี น ด้านการบริหารจดั การ รอ้ ยละ
1 บ้านคลองมะนาว ประเด็นท่ี 2 ประเด็นที่ 3 ประเด็นท่ี 4
ประเดน็ ท่ี 1 ประเด็นท่ี 5 ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ
ปฏิบัติ ไม่ ปฏบิ ตั ิ ไม่ ปฏบิ ัติ ไม่
ปฏิบัติ ไม่ ปฏบิ ัติ ปฏิบัติ ปฏิบตั ิ ปฏิบัติ ไม่ 100.00
ปฏิบตั ิ ปฏบิ ัติ 100.00
 100.00
  100.00
100.00
2 บา้ นไมร้ ูด (วสิ ิทธิป์ ระชาสรรค์)      100.00
100.00
3 บา้ นหนองมว่ ง  100.00
100.00
4 วดั หว้ งโสม  100.00
100.00
5 บ้านตาหนกึ  1100
100.00
6 บา้ นเนินตาล 

7 อนุบาลวัดคลองใหญ่ 

8 บา้ นคลองจาก 

9 บ้านคลองมะขาม 

10 บ้านโขดทราย 

11 บ้านหาดเล็ก 

รวม 11 11 11 11 11 0.00
รอ้ ยละ 100 0.00 100 0.00 100 0.00 100 0.00 100 0.00

จากตารางพบว่า การเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ด้านอาคาร
สถานท่ีจำนวน 5 ประเด็น ได้แก่ มีการดำเนินงานธุรการประจำชั้นเรียนที่สมบูรณ์/เรียบร้อย มีการเตรียมความ
พร้อมด้านแผนการสอนอย่างน้อย 1 สาระการเรียนรู้หลัก/ ครู 1 คน มีการจัดทำตารางสอน,ตารางการจัดกิจกรรม
ประจำภาคเรียนที่ 2/2565 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามตารางการเรียนรู้ที่เป็นปัจจุบัน และมีกิจกรรมการ
เรียนรู้เพื่อการสอน สอนเพื่อการเรียนรู้ มีโรงเรียนที่ดำเนินการครบทั้ง 5 ประเด็น คิดเป็นร้อยละ 100 จำแนกราย
โรงเรยี น มจี ำนวน 11 โรงเรยี นปฏบิ ัติ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

รายงานการนเิ ทศ วนั เปิดภาคเรียนที่ 2/2565 30

ตารางท่ี 10 แสดงคา่ เฉล่ียการดำเนินการเตรยี มความพร้อมการเปิดภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565 รายดา้ น

ที่ ชอ่ื โรงเรียน รอ้ ยละการดำเนินการเตรยี มความพรอ้ มการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2565

1 บา้ นคลองมะนาว ด้านการบรหิ ารจดั การ ด้านอาคารสถานท่ี ดา้ นครผู สู้ อน
2 บ้านไม้รูด (วิสิทธิป์ ระชาสรรค์)
3 บ้านหนองม่วง ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏิบัติ ปฏบิ ัติ ไม่ปฏิบัติ ปฏิบตั ิ ไม่ปฏิบัติ
4 วดั ห้วงโสม
5 บา้ นตาหนกึ 80.00 20.00. 100.00 0.00 100.00 0.00 93.33 6.67
6 บ้านเนินตาล
7 อนุบาลวัดคลองใหญ่ 100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00
8 บ้านคลองจาก
9 บ้านคลองมะขาม 100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00
10 บ้านโขดทราย
11 บ้านหาดเล็ก 80.00 20.00 100.00 0.00 100.00 0.00 93.33 6.67

รวม 100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00
คา่ เฉลี่ย
100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00

100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00

100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00

100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00

100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00

100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00 100.00 0.00

1,060 40 1,100.00 0.00 1,100.00 0.00 1,086.66 13.34

96.36 3.64 100.00 0.00 100.00 0.00 98.78 1.22

จากตาราง พบว่า คา่ เฉลีย่ การดำเนินการเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
ทั้ง 3 ด้าน ของโรงเรียนทั้ง 11 โรงเรียน มีค่าเฉลี่ยรวมของการปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 98.78 จำแนกเป็นรายด้าน
ด้านอาคารสถานที่ คิดเป็นร้อยละ 100 ด้านครูผู้สอน คิดเป็นร้อยละ 100 และ ด้านการบริหารจัดการคิดเป็นร้อย
ละ 96.36 ตามลำดับ

รายงานการนเิ ทศ วันเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2/2565 31

ประเด็นรายละเอียดทค่ี ้นพบจากการปฏบิ ตั ิและไม่ปฏบิ ตั ิงานเตรียมความพรอ้ มการเปดิ ภาคเรียนที่ 2
ปกี ารศึกษา 2565

โรงเรียนบ้านคลองมะนาว สามารถดำเนินการตามแนวทางการเตรียมความพร้อมวันเปิดภาคเรียน
สามารถจัดการเรียนการสอนได้ ในส่วยของอาคารสถานที่ควรมีการพัฒนาห้องเรียนในบางห้องเรียนให้เอื้อต่อการ
เรยี นรู้ ครูบคุ ลากรเปน็ ครูบรรจใุ หม่ ขาดผอู้ ำนวยการโรงเรียน ขับเคลอื่ นโดยรักษาในตำแหนง่

โรงเรียนบ้านไม้รูด (วิสิทธิ์ประชาสรรค์) สามารถดำเนินการตามแนวทางการเตรียมความพร้อม ครู
สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ อาคารสถานที่มีความพร้อม โรงเรียนเน้นการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะอาชีพ ต่อยอดกจิ กรรมบูรณาการในช่วงภาคบา่ ย จากภาคเรียนที่ 1

โรงเรียนบ้านหนองม่วง สามารถดำเนินการตามแนวทางการเตรียมความพร้อม ครูสามารถจัดการเรียน
การสอนได้ตามปกติ จัดการเรยี นการสอนโดยใช้ DLTV มีครูครบชั้น ขาดผอู้ ำนวยการโรงเรียน

โรงเรียนวัดห้วงโสม สามารถดำเนินการตามแนวทางการเตรียมความพร้อม ครูสามารถจัดการเรียนการ
สอนไดต้ ามปกติ จัดการเรยี นการสอนโดยใช้ DLTV ขาดผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น

โรงเรียนบ้านตาหนึก สามารถดำเนินการตามแนวทางการเตรียมความพร้อม ครูสามารถจัดการเรียนการ
สอนได้ตามปกติ จัดการเรียนการสอนโดยใช้ DLTV ขาดผู้อำนวยการโรงเรียน ครูย้ายครูไม่ครบชั้น ดำเนินการ
จัดการเรียนการสอนควบชัน้ เรียน

โรงเรียนบ้านเนินตาล มีความพร้อม สามารถดำเนินตามการตามแนวทางการเตรียมความพร้อม ครู
สามารถจดั การเรยี นการสอนไดต้ ามปกติ

โรงเรียนอนุบาลวัดคลองใหญ่ มีความพร้อม สามารถดำเนินตามการตามแนวทางการเตรียมความพร้อม
ครูสามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ อาคารสถานที่มีการปรับปรุงพัฒนา ห้องเรียนเอื้อต่อการเรียนรู้ ครูจัก
กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยยึดกระบวนการ Active Learning ครูออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามความถนัดของ
ผูเ้ รยี น สอดคลอ้ งตามวัตถปุ ระสงคข์ องการเรียนรู้ มีการแลกเปลย่ี นโดยใช้กระบวนการ PLC ในการขบั เคลอ่ื น

โรงเรยี นบ้านคลองจาก มีความพร้อม สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ ในด้านอาคารสถานที่มีการ
ปรับปรุงเพื่อความปลอดภัย และเอื้อต่อการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้เนน้ ทักษะชวี ิต ผ่านกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้
ลงมือกระทำ

โรงเรียนบา้ นคลองมะขาม มีความพร้อม สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ ในด้านอาคารสถานท่ีมี
การปรบั ปรงุ เพอ่ื ความปลอดภัย และเอื้อต่อการเรยี นรู้

โรงเรียนบ้านโขดทราย รักษาการโดยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านคลองมะขาม จัดการเรียนรู้โดยใช้ชุด
กจิ กรรม DLTV ครสู ่วนใหญบ่ รรจุใหม่ อย่บู ้านพักครู สามารถพฒั นาด้านอาคารสถานท่ี ห้องเรยี นห้องปฏิบัติการให้
เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้

รายงานการนเิ ทศ วนั เปดิ ภาคเรียนที่ 2/2565 32

โรงเรียนบ้านหาดเล็ก มีความพร้อม สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ ในด้านอาคารสถานที่มีการ

ปรับปรุงเพื่อความปลอดภัย และเอื้อต่อการเรียนรู้ ด้วยความหลากหลายด้านภาษาและมีครูสอนภาษาเขมร

สามารถดำเนินการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ได้สอดคล้องกับสภาพของผู้เรยี นเป็นรายบุคคล เน้นทักษะชีวติ และทักษะ

อาชีพ

ตอนที่ 3 การดำเนนิ งานตามนโยบายของหนว่ ยงานต้นสังกัด
1. โรงเรียนดำเนนิ การรบั มอบนโยบายการเปิดภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 และกจิ กรรมเยยี่ มบา้ นนกั เรียน

ในวนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2565 เวลา 08.30 นาฬิกา รับชมการถา่ ยทอดสด

สามารถรบั ชมไดผ้ า่ นwww.obectv.tv,www.youtube.com/obectvonline, www.facebook.com/obectvonline

ตารางท่ี 11 แสดงการเข้ารับชมรับมอบนโยบายเรยี นเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565

ที่ ชื่อโรงเรยี น ดำเนินการ หมายเหตุ
1 บา้ นคลองมะนาว รบั ชมได้ รับชมไม่ได้

 www.youtube.com/obectvonline

2 บา้ นไม้รดู (วสิ ิทธ์ิประชาสรรค์)  www.youtube.com/obectvonline

3 บา้ นหนองม่วง  www.youtube.com/obectvonline

4 วัดหว้ งโสม  www.youtube.com/obectvonline

5 บา้ นตาหนกึ  www.facebook.com/obectvonline

6 บา้ นเนินตาล  www.youtube.com/obectvonline

7 อนุบาลวัดคลองใหญ่  www.youtube.com/obectvonline

8 บา้ นคลองจาก  www.facebook.com/obectvonline

9 บา้ นคลองมะขาม  www.youtube.com/obectvonline

10 บา้ นโขดทราย  www.youtube.com/obectvonline

11 บา้ นหาดเล็ก  www.facebook.com/obectvonline

รวม 11

ร้อยละ 100.00

จากตาราง พบว่า โรงเรียนดำเนินการรับมอบนโยบายการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 และ
กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียนในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 นาฬิกา รับชมการถ่ายทอดสด ครบทั้ง 11
โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100 และช่องทางในการรับชมได้แก่ www.youtube.com/obectvonline จำนวน
7 โรงเรียน และ รับชมผา่ น www.facebook.com/obectvonline จำนวน 4 โรงเรยี น

รายงานการนเิ ทศ วนั เปดิ ภาคเรยี นที่ 2/2565 33

2. การดำเนนิ การตามเงื่อนไขข้อกำหนด 6 มาตรการหลกั (DMHT -RC) 6 มาตราการเสรมิ (SSET - CQ)

และแนวทาง 7 มาตรการเขม้ สำหรับสถานศึกษา

สามารถดำเนนิ การตามแผนที่กำหนดไว้

ไมส่ ามารถดำเนนิ การตามแผนทก่ี ำหนดไว้ เน่ืองจาก..............

ตารางที่ 11 การดำเนนิ การตามเง่ือนไขขอ้ กำหนด 6 มาตรการหลัก (DMHT -RC) 6 มาตราการเสรมิ (SSET - CQ)

และแนวทาง 7 มาตรการเข้มสำหรับสถานศกึ ษา

ท่ี ชอ่ื โรงเรียน ดำเนินการ หมายเหตุ
1 บ้านคลองมะนาว
ได้ ไม่ได้


2 บา้ นไมร้ ดู (วสิ ิทธิป์ ระชาสรรค์) 

3 บ้านหนองมว่ ง 

4 วัดห้วงโสม 

5 บา้ นตาหนึก 

6 บ้านเนนิ ตาล 

7 อนุบาลวัดคลองใหญ่ 

8 บ้านคลองจาก 

9 บ้านคลองมะขาม 

10 บ้านโขดทราย 

11 บา้ นหาดเลก็ 

รวม 11

รอ้ ยละ 100.00

จากตาราง พบว่า โรงเรียนการดำเนินการตามเงื่อนไขข้อกำหนด 6 มาตรการหลัก (DMHT -RC) 6
มาตราการเสริม (SSET - CQ) และแนวทาง 7 มาตรการเข้มสำหรับสถานศึกษา สามารถดำเนินการตามแผนท่ี
กำหนดไวค้ รบท้งั 11 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100

รายงานการนเิ ทศ วันเปดิ ภาคเรยี นที่ 2/2565 34

3. บุคลากรทุกคนในโรงเรียนรับทราบนโยบาย สพป.ตราด สง่ เสริมการมสี ่วนร่วมการจดั การศึกษาสู่ความสำเรจ็

5 ประการ (5 SUUSCESS) ในมิติ “คนสำราญ งานสำเร็จ”

ดำเนินการแจ้งใหบ้ คุ ลากรรบั ทราบดว้ ยวธิ .ี .......

ไม่สามารถดำเนินการได้ เน่ืองจาก............

ตารางที่ 12 แสดงขอ้ มลู บุคลากรทุกคนในโรงเรยี นรบั ทราบนโยบาย สพป.ตราด ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มการจดั

การศกึ ษาส่คู วามสำเร็จ 5 ประการ (5 SUUSCESS) ในมิติ “คนสำราญ งานสำเรจ็ ”

ที่ ช่ือโรงเรียน ดำเนนิ การ หมายเหตุ
1 บา้ นคลองมะนาว แจ้ง ไม่แจ้ง

 ประชมุ ครู สอื่ สารทางกลมุ่ ไลน์

2 บา้ นไมร้ ูด (วิสิทธป์ิ ระชาสรรค์)  ประชุมครู สือ่ สารทางกลุ่มไลน์

3 บา้ นหนองม่วง  ประชมุ ครู ส่อื สารทางกลมุ่ ไลน์

4 วดั หว้ งโสม  ส่ือสารทางกลุ่มไลน์

5 บา้ นตาหนกึ  ประชุมครู สื่อสารทางกลุ่มไลน์

6 บ้านเนินตาล  ประชุมครู สอื่ สารทางกลมุ่ ไลน์

7 อนุบาลวดั คลองใหญ่  ประชมุ ครู ส่ือสารทางกลุ่มไลน์

8 บ้านคลองจาก  สอ่ื สารทางกลุ่มไลน์

9 บา้ นคลองมะขาม  ประชุมครู ส่อื สารทางกลุ่มไลน์

10 บ้านโขดทราย  สือ่ สารทางกลุ่มไลน์

11 บา้ นหาดเลก็  ส่ือสารทางกลุ่มไลน์

รวม 11

รอ้ ยละ 100.00

จากตาราง พบวา่ ครบู คุ ลากรทุกคนในโรงเรียนรับทราบนโยบาย สพป.ตราด ส่งเสริมการมีส่วนร่วมการจัด
การศึกษาสู่ความสำเร็จ 5 ประการ (5 SUUSCESS) ในมิติ “คนสำราญ งานสำเร็จ” ครบ 11 โรงเรียน คิดเป็นร้อย
ละ 100 โดยดำเนินการแจ้งให้บุคลากรรับทราบด้วยวิธีการประชุมและสื่อสารทางกลุ่มไลน์ จำนวน 7 โรงเรียน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 63.63 และใช้วธิ ี สอื่ สารผา่ นทางกลุม่ ไลน์ จำนวน 4 โรงเรียน คดิ เป็นร้อยละ 36.37

รายงานการนิเทศ วันเปิดภาคเรยี นที่ 2/2565 35

4. การให้บริการอาหารกลางวัน

สามารถดำเนนิ การได้

ไมส่ ามารถดำเนนิ การได้ เน่ืองจาก.........

ตารางที่ 12 แสดงการดำเนนิ การใหบ้ ริการอาหารกลางวนั

ท่ี ชอื่ โรงเรยี น ดำเนินการ หมายเหตุ
1 บ้านคลองมะนาว
ได้ ไม่ได้ งบประมาณของโรงเรียน
 งบประมาณของโรงเรียน
งบประมาณของโรงเรยี น
2 บา้ นไม้รูด (วสิ ิทธิป์ ระชาสรรค)์  งบประมาณของโรงเรยี น
งบประมาณของโรงเรียน
3 บา้ นหนองม่วง  งบประมาณของโรงเรยี น
งบประมาณของโรงเรยี น
4 วัดห้วงโสม  งบประมาณของโรงเรยี น
งบประมาณของโรงเรียน
5 บ้านตาหนึก  งบประมาณของโรงเรยี น
งบประมาณของโรงเรียน
6 บ้านเนนิ ตาล 

7 อนบุ าลวัดคลองใหญ่ 

8 บา้ นคลองจาก 

9 บา้ นคลองมะขาม 

10 บ้านโขดทราย 

11 บา้ นหาดเล็ก 

รวม 11

รอ้ ยละ 100.00

จากตาราง พบวา่ โรงเรียนสามารถดำเนนิ การใหบ้ รกิ ารอาหารกลางวัน โดยได้รบั งบประมาณจัดสรรจาก
อบต. ไม่ทนั ในวันเปิดภาคเรยี น จำนวน 11 โรงเรยี น แต่โรงเรียนสามารถดำเนนิ การโดยใชง้ บประมาณของโรงเรยี น
ในการบริหารจัดการใหน้ กั เรยี นได้รบั อาหารกลางวันครบทุกคน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100

รายงานการนเิ ทศ วันเปดิ ภาคเรียนที่ 2/2565 36

5. การจดั สรรนมโรงเรยี น

สามารถดำเนินการได้

ไมส่ ามารถดำเนินการได้ เน่ืองจาก.........

ตารางที่ 13 แสดงการดำเนนิ การจัดสรรนมโรงเรยี น

ท่ี ชือ่ โรงเรียน ดำเนินการ หมายเหตุ
1 บา้ นคลองมะนาว
ได้ ไม่ได้ งบประมาณของโรงเรยี น
 งบประมาณของโรงเรียน
งบประมาณของโรงเรยี น
2 บ้านไม้รดู (วสิ ทิ ธ์ปิ ระชาสรรค์)  งบประมาณของโรงเรยี น
งบประมาณของโรงเรยี น
3 บา้ นหนองมว่ ง  งบประมาณของโรงเรยี น
งบประมาณของโรงเรียน
4 วดั ห้วงโสม  งบประมาณของโรงเรียน
งบประมาณของโรงเรยี น
5 บ้านตาหนึก  งบประมาณของโรงเรียน
งบประมาณของโรงเรียน
6 บา้ นเนนิ ตาล 

7 อนบุ าลวัดคลองใหญ่ 

8 บา้ นคลองจาก 

9 บา้ นคลองมะขาม 

10 บา้ นโขดทราย 

11 บา้ นหาดเลก็ 

จากตาราง พบว่า โรงเรียนสามารถดำเนนิ การจัดสรรนมโรงเรยี น โดยไดร้ ับงบประมาณจัดสรรจาก อบต.
ไมท่ นั ในวนั เปดิ ภาคเรียน จำนวน 11 โรงเรยี น แต่โรงเรียนสามารถดำเนินการโดยใชง้ บประมาณของโรงเรยี นในการ
บริหารจดั การให้นักเรยี นได้ด่ืมนมครบทุกคน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

รายงานการนิเทศ วนั เปดิ ภาคเรยี นท่ี 2/2565 37

6. ปญั หา/อปุ สรรค ปญั หา/อุปสรรค
ตารางท่ี 13 แสดงปัญหา/อุปสรรค การส่อื สารสรา้ งความเข้าใจในทิศทางการพัฒนางาน
แสงแดด ของห้องเรยี น การติดต้งั จอทวี ที ี่อย่สู งู เกนิ มาตรฐานกำหนด
ท่ี ชอ่ื โรงเรยี น ไม่มี
1 บา้ นคลองมะนาว ไม่มี
2 บา้ นไม้รูด (วสิ ิทธป์ิ ระชาสรรค์) ครไู ม่ครบชนั้ เรยี นการปรบั เปลยี่ นครูในการสอน
3 บา้ นหนองมว่ ง ไมม่ ี
4 วัดห้วงโสม ไม่มี
5 บา้ นตาหนึก อาคารสถานทบ่ี างจุดตอ้ งปรับปรุงและพัฒนาใหส้ ามารถใช้ประโยชน์
6 บา้ นเนินตาล ไม่มี
7 อนบุ าลวัดคลองใหญ่ แสงสวา่ งของห้องเรียน ส่งผลตอ่ สายตาเด็ก
8 บา้ นคลองจาก การสอ่ื สารระหว่างนักเรียนกับครู
9 บา้ นคลองมะขาม
10 บ้านโขดทราย
11 บ้านหาดเลก็

จากตารางพบวา่ มจี ำนวน 5 โรงเรียน สามารถดำเนินการได้ไม่พบข้อปญั หาหรืออปุ สรรค ในการจัดการ
เรียนการสอนหรืออน่ื ๆ คิดเป็นรอ้ ยละ 45.45 และยงั มโี รงโรงเรยี นทมี่ ีปญั หาในด้านอาคารสถานที่ แสงสว่าง
ตลอดจนดา้ นการสื่อสาร จำนวน 6 โรงเรยี น คิดเป็นรอ้ ยละ 54.55

รายงานการนิเทศ วันเปิดภาคเรียนท่ี 2/2565 38

7. ขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะ
ตารางท่ี 14 แสดงข้อเสนอแนะ ไม่มี
ไม่มี
ท่ี ชื่อโรงเรยี น ไมม่ ี
1 บ้านคลองมะนาว ไม่มี
2 บา้ นไม้รูด (วสิ ิทธปิ์ ระชาสรรค)์ ด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอน ตอ้ งการศกึ ษานิเทศกล์ งพื้นที่
3 บา้ นหนองม่วง เย่ียมชน้ั เรยี น หรือสังเกตช้ันเรียนอยา่ งต่อเนอ่ื งเพื่อเปน็ การกระต้นุ
4 วัดหว้ งโสม ครผู สู้ อน
5 บา้ นตาหนึก สำนักงานเขตควรกำหนดนโยบายเชงิ บูรณาการเพ่ือการขับเคล่ือน
ของโรงเรียนมีความชดั เจนมากขึ้น
6 บ้านเนนิ ตาล ไมม่ ี
ด้านงบประมาณสนับสนนุ อย่างทั่วถงึ
7 อนุบาลวัดคลองใหญ่ ไม่มี
8 บา้ นคลองจาก ศกึ ษานเิ ทศก์ลงพน้ื ทส่ี งั เกตชั้นเรยี น แนะนำครูอยา่ งต่อเน่ือง
9 บ้านคลองมะขาม ดา้ นงบประมาณในการขบั เคลอ่ื นของโรงเรียน
10 บ้านโขดทราย
11 บา้ นหาดเลก็

จากตาราง พบว่า โรงเรียนจำนวน 6 โรงเรียน ที่ไม่มีปัญหาหรืออุปสรรคในการดำเนินการ คิดเป็นร้อยละ
54.55 และมีโรงเรียนจำนวน 5 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 45.45 ที่พบปัญหาในการดำเนินการ ด้านกระบวนการ
จัดการเรียนการสอน ต้องการศึกษานิเทศก์ลงพื้นที่เยี่ยมชั้นเรียน หรือสังเกตชั้นเรียนอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการ
กระตุ้นครูผู้สอน การกำหนดนโยบายเชิงบูรณาการเพื่อการขับเคลื่อนของโรงเรียนมีความชัดเจนมากขึ้น ด้าน
งบประมาณสนบั สนนุ อย่างทั่วถึง ศึกษานเิ ทศก์ลงพื้นทส่ี งั เกตช้นั เรียน แนะนำครอู ยา่ งต่อเนื่อง

ตอนที่ 5
สรุปผล อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม วนั เปดิ เรียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565 มีวัตถุประสงค์การรายงาน
เพอื่ รายงานผลการนิเทศ ตดิ ตาม วันเปิดเรียนภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ของศูนย์เครอื ข่ายสถานศึกษาคลอง
ใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียน สอดคล้องกับนโยบาย กลยุทธ์ จุดเน้น ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ตราด และเพื่อจัดทำข้อมูล สารสนเทศ สำหรับการการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลอง
ใหญ่ สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาศึกษาตราด
สรปุ ผล

1. รายงานผลการนิเทศ ติดตาม วันเปิดเรียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ของศูนย์เครือข่าย
สถานศึกษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียน สามารถดำเนนิ การสอดคล้องกบั นโยบาย กลยุทธ์ จดุ เน้น ของสำนกั งาน
เขตพื้นที่ แบ่งเปน็ 3 ตอน ดงั นี้

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลพื้นฐาน
โรงเรียนในศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียน มีผู้บริหารสถานศึกษา

จำนวน 5 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 45.45 และมีรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 6 โรงเรียน คิด
เป็นร้อยละ 54.45 มีบุคลากรทั้งหมด คน 156 คน มาปฏิบัติงานในวันเปิดภาคเรียน จำนวน 155 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 99.36 เปิดสอนชน้ั อนุบาล 1 ถงึ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีจำนวน 2 โรงเรยี น คอื โรงเรยี นวดั ห้วงโสม และ
โรงเรยี นบ้านหาดเลก็ เปดิ สอนระดบั ชน้ั อนุบาล 2 ถงึ ชัน้ ประมศึกษาปีที่ 6 มจี ำนวน 7 โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรียนบ้าน
คลองมะนาว โรงเรียนบ้านหนองม่วง โรงเรียนบ้านตาหนึก โรงเรียนบ้านเนินตาล โรงเรียนอนุบาล วัดคลองใหญ่
โรงเรียนบา้ นคลองมะขาม และโรงเรียนบ้านโขดทราย เปิดสอนระดบั ชน้ั อนุบาล 1 ถงึ ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 มี
จำนวน 1 โรงเรยี น คือ โรงเรียนบ้านไมร้ ูด (วิสทิ ธ์ิประชาสรรค์) เปดิ สอนระดับชั้นอนบุ าล 2 ถึงระดับชน้ั มัธยมศกึ ษา
ปีที่ 3 มีจำนวน 1 โรงเรียน คือ โรงเรียนบ้านคลองจาก มีจำนวนนักเรียน ท่ีมาโรงเรียน จำนวน 2,447 คน คิดเป็น
ร้อยละ 92.06 ของนักเรียนทั้งหมด นักเรียนไม่มาเรียนในวันเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 7
โรงเรยี น จากการสอบถามครปู ระจำช้ัน พบวา่ นักเรยี นไม่สบาย อยู่ฝ่งั กมั พชู า และติดตามผูป้ กครองไปต่างจังหวัด/
ทำงานนอกพืน้ ท่ี จำนวน 4 โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรียนบา้ นคลองมะนาว โรงเรียนบ้านหนองม่วง โรงเรยี นบ้านเนนิ ตาล
โรงเรยี นบา้ นคลองจาก และนกั เรียนไม่สบาย อยฝู่ ั่งกัมพูชา จำนวน 3 โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรยี นวดั ห้วงโสม โรงเรียน
อนบุ าลวดั โรงเรียนบา้ นคลองมะขาม

ตอนท่ี 2 การเตรยี มความพรอ้ มการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
การดำเนนิ การเตรียมความพร้อมการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 ท้งั 3 ดา้ น ของโรงเรยี น

ทัง้ 11 โรงเรียน มคี า่ เฉลย่ี รวมของการปฏิบตั ิ คดิ เป็นร้อยละ 98.78 จำแนกเปน็ รายดา้ น ดา้ นอาคารสถานท่ี คิดเป็น
รอ้ ยละ 100 ดา้ นครูผู้สอน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 และ ด้านการบรหิ ารจัดการคดิ เป็นรอ้ ยละ 96.36 ตามลำดับ

ตอนท่ี 3 การดำเนนิ งานตามนโยบายของหน่วยงานต้นสงั กัด
โรงเรียนในศูนย์เครือขา่ ยสถานศึกษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรียน ดำเนินการตามนโยบายของ

หนว่ ยงานตน้ สงั กัด โดยการรับมอบนโยบายการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2565 และกิจกรรมเยย่ี มบ้าน

รายงานการนเิ ทศ วันเปิดภาคเรยี นท่ี 2/2565 41

นักเรียน ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 นาฬิกา รับชมการถ่ายทอดสด การดำเนินการตามเงื่อนไข
ข้อกำหนด 6 มาตรการหลัก (DMHT -RC) 6 มาตราการเสริม (SSET - CQ) และแนวทาง 7 มาตรการเข้มสำหรับ
สถานศึกษา บุคลากรทุกคนในโรงเรียนรับทราบนโยบาย สพป.ตราด ส่งเสริมการมีส่วนร่วมการจัดการศึกษาสู่
ความสำเร็จ 5 ประการ (5 SUUSCESS) ในมิติ “คนสำราญ งานสำเร็จ” การให้บริการอาหารกลางวัน การจัดสรร
นมโรงเรยี น ครบทกุ โรงเรียน คดิ เปน็ ร้อยละ 100

2. ศึกษานิเทศก์ประจำศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาจัดทำข้อมูล สารสนเทศ สำหรับการการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา ศนู ยเ์ ครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่ เพอ่ื นำไปใช้ในการสรปุ เป็นภาพรวมในการขบั เคลื่อนพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษาของสำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาศกึ ษาตราด

อภปิ รายผล
การนิเทศ ติดตาม วันเปิดเรียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่าย

สถานศกึ ษาคลองใหญ่ จำนวน 11 โรงเรยี น ประกอบด้วย ขอ้ มลู สถานศึกษา การเตรียมความพร้อมด้านการบริหาร
จัดการ ด้านอาคารสถานที่ ด้านครูผู้สอน ด้านการดำเนินงานตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด และข้อค้นพบ
ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่ พบว่าโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาคลองใหญ่ได้
ดำเนนิ การตามแนวทางนโยบายของหนว่ ยงานต้นสังกัด ซงึ่ ในบางประเดน็ มีการดำเนินการล่าช้าไม่ทันในวันเปิดภาค
เรียน เช่นการประชุมผู้ปกครอง แต่ โรงเรียนได้วางแผนดำเนินการหลังเปิดภาคเรียนในสัปดาห์แรก ซึ่งการบริหาร
จัดการศึกษา ตลอดการจัดการเรียนการสอนมีความสอดคล้องตามความพร้อมและบริบทของแต่ละโรงเรียน อีกทั้ง
ขอ้ มูลในการนิเทศครงั้ น้ีเปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษของศูนยเ์ ครือข่าย

ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพัฒนา
1. เคร่อื งมือในการนเิ ทศควรพฒั นาให้ครอบคลุมทกุ ด้าน เช่น ดา้ นผเู้ รียน
2. การสื่อสารทำความเข้าใจ ควรมกี ารประชุมช้แี จงให้กรรมการทุกท่านไดร้ ับทราบและเข้าใจไปใน

ทิศทางเดยี วกัน

ภาคผนวก

รายงานการนเิ ทศ วันเปิดภาคเรียนท่ี 2/2565 43

คำส่ัง

รายงานการนเิ ทศ วนั เปิดภาคเรยี นที่ 2/2565 43

รายงานการนเิ ทศ วนั เปิดภาคเรยี นที่ 2/2565 44

รายงานการนเิ ทศ วนั เปิดภาคเรยี นที่ 2/2565 45

รายงานการนเิ ทศ วนั เปิดภาคเรยี นที่ 2/2565 46


Click to View FlipBook Version