The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KMUTT Office of Sustainability, 2021-09-23 02:57:42

MOD ASA (KMUTT Volunteer) 2018

MOD ASA (KMUTT Volunteer) 2018

มดอาสา

บันทกึ บทเรียนการพฒั นานักศึกษา

Created by Jcomp - Freepik.com

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี



มดอาสา บันทึกบทเรยี นการพัฒนานกั ศกึ ษา

เจาของ สำนกั งานกิจการนกั ศกึ ษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบุรี

พิมพค ร้งั ที่ 1 กนั ยายน 2561

จำนวนพมิ พ 2,000 เลม

ISBN

เอกสารเพื่อการเผยแพร

สงวนลิขสทิ ธ์ิ ตาม พ.ร.บ. ลิขสทิ ธิ์ (ฉบบั เพิม่ เติม) พ.ศ. 2558
จัดทำโดย สำนักงานกิจการนักศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบรุ ี
ไมอนญุ าตใหค ัดลอก ทำซ้ำ และดดั แปลง สว นใดสวนหน่ึงของหนงั สอื เลมน้ี
นอกจากไดร ับอนญุ าตเปนลายลักษณอักษรจากเจาของลขิ สทิ ธเ์ิ ทา นัน้

Copyright@2015 BY: King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT)
126 Pracha Uthit Rd., Bang Mod, Thung Khru, Bangkok 10140
Phone: +66 2470 8000 Fax: +66 2470 8412

ออกแบบและสรางสรรคโ ดย
สำนกั งานกจิ การนกั ศึกษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบุรี
126 ถนนประชาอทุ ศิ แขวงบางมด เขตทุง ครุ กรุงเทพฯ 10140
โทรศพั ท 0 2470 8000 โทรสาร 0 2427 8412

บทนำ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

มีปรัชญาในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและคุณธรรม ทำการวิจัย พัฒนา
และใหบริการทางวิชาการเพื่อสงเสริมเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิต โดย
มหาวิทยาลัยตระหนักดีวาคุณภาพและคุณธรรมจะเกิดขึ้นในตัวนักศึกษาได
มหาวิทยาลัยตองจัดใหม ีบริการ และสวัสดิการดา นตา งๆ ตลอดจนสง เสริม
สนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมนกั ศกึ ษาอยา งกวา งขวาง เพอ่ื เปน กระบวนการพฒั นา
นักศึกษาควบคไู ปกับการศึกษาเลาเรยี นในช้นั เรยี น

ที่ผานมา สำนักงานกิจการนักศึกษา ไดสนับสนุน เปนที่ปรึกษา
การทำกจิ กรรมคา ยอาสา และโครงการอาสาของเหลา นกั ศกึ ษาทม่ี เี จตนารมณ
เดียวกัน คือทำประโยชนใหกับสังคมมาอยางตอเนื่อง หลายกิจกรรมเหลา
นกั ศกึ ษาไดน ำความรทู ม่ี ไี ปใชพ ฒั นา ไมว า จะเปน ซอ ม สรา ง ปรบั ปรงุ แกไ ข
ในสิ่งที่ยังขาดแคลนใหกับผูดอยโอกาสที่อยูหางไกล ขณะที่หลายกิจกรรม
เขาไปสงเสริมการศึกษา เยียวยาเด็กๆ ผูยากไร ขณะที่อีกหลายโครงการ
ใชใจอาสา อุทิศเวลาเพื่อชวยเหลือเพื่อน บุคลากรในมหาวิทยาลัย รวมถึง
ประชาชนทอ่ี ยใู นบรเิ วณใกลเ คยี ง

กจิ กรรมทง้ั หมดทเ่ี กดิ ขน้ึ จาก “จติ อาสา” ของกลมุ นกั ศกึ ษาเหลา น้ี
ไมเ พยี งเตมิ เตม็ ลดความเหลอ่ื มลำ้ สรา งความเทา เทยี มใหเ กดิ ขน้ึ กบั สงั คมไทย
แตย งั เปน การปลกู ฝง ใหน กั ศกึ ษาตระหนกั ถงึ คณุ ธรรมพน้ื ฐาน มจี ติ สาธารณะ
รูจักการทำประโยชนแกสวนรวมมากกวานึกถึงประโยชนสวนตน ไดเรียนรู
ศึกษาจากการปฏิบัติจริง เพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง เพื่อสุดทายแลว
พวกเขาจะเติบโตเปนบณั ฑติ ที่มคี วามรูค ูคุณธรรมตอ ไป

รองศาสตราจารย ศกั รินทร ภูมริ ตั น
อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบรุ ี

สารบญั

มดอาสา บันทกึ บทเรียนการพัฒนานักศกึ ษา

6 12 18 22 26

อาสา สถาปตั ยฯ์ สาดศิลป.์ .. นกั กีฬา เพ่ือนรกั
เพ่ือสังคม อาสา แตม้ สี หัวใจอาสา นกั จิตวทิ ยา
‘ชมรมอาสา เติมสุข
พัฒนาชนบท’ ‘ตะวันย้มิ แฉ่ง’ ใหน้ ้อง
แบง่ ปนั

เพ่ือชมุ ชน

Respect and Care Integrity

Do SomethingImCpornotvienumoeunts

30 34 37 40 45

อาสากภู้ ยั ... จกั รกรชิ พะองเหลก็ การกลับมา KMUTT
KMUTT ฝ้ ันสาย ปนี ตาล ของ student
EMS ผลงาน Code of
‘do เคมเอนอาสา
Volunteer something สรา้ งสรรค์ ‘ส่งรักส่งยิม้ ’ Honor
สานต่อ
ไม่ดดู าย’
ภูมิปญั ญา

01 อาสาเพ่ือสังคม
‘ชมรมอาสาพั ฒนาชนบท’
“เม่อื กอ่ นผมไมร่ จู้ กั วา่ อาสาคอื อะไร จนเม่อื ไดม้ าเขา้ ชมรมอาสาพั ฒนาชนบท ทาํ ให้
ผมรวู้ า่ อยา่ งนอ้ ยตวั เรายงั สามารถทาํ อะไรเพ่ือคนอน่ื ได้ ชมรมฯ นสี้ อนใหเ้ รามองคนอน่ื ๆ บา้ ง
มีชีวิตเพ่ื อคนอ่ืนบ้าง ไม่ใช่แค่คิดถึงแต่ตัวเอง ซึ่งเป็นส่ิงที่สังคมไทยส่วนใหญ่ยังขาด
พวกเราก็เหมือนเทียนเล่มหนึ่งที่ไปช่วยส่องไฟให้กับเขา ไปส่องให้เขาเห็นว่าอย่างน้อย
ยังมีพวกเราอยู่ และจะคอยต่อเติมเทียนเล่มใหม่
คนรุ่นใหม่ให้ทําอาสาเพ่ื อสังคมไปเร่ือยๆ เพ่ื อลด
ความเหลอ่ื มลาํ้ ดงั ทเี่ ราพูดกนั เสมอวา่ อยากใหส้ ังคม
ไทยเท่าเทียมกัน”... ความรู้สึกของ นายเฉลิมชัย
กลุ ประวณี ์ สมาชกิ ชมรมอาสาพัฒนาชนบท กจิ กรรม
อาสาทสี่ ่งไมต้ อ่ จากรนุ่ สู่รนุ่ มาแลว้ เกอื บครง่ึ ศตวรรษ
ค่ายแรกๆ ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้
ธนบุรีที่ได้วางรากฐาน ปลูกฝัง ‘หัวใจอาสา’
ให้แก่นักศึกษา เพ่ือช่วยกันสรรค์สร้างสังคมและ
ส่ิงดๆี ใหก้ บั ผูด้ ้อยโอกาส

06 มดอาสา บนั ทึกบทเรียนการพฒั นาการศึกษา

ฟง แพน ออฟ
แม็ค ฟร้อน ปัน ปลั๊ก สโตน
กัน

ชมรมอาสาพัฒนาชนบท กอตั้งขึ้นจาก หรือปริมณฑล ทั้งนี้แนวทางในการจัดทำคายในแตละป
กลมุ นกั ศกึ ษาทม่ี เี จตนารมณร ว มกนั ในการทำกจิ กรรมเพอ่ื จะแตกตา งกนั ไป
ชวยเหลือสังคม โดยชมรมฯ มีแนวทางและอุดมการณที่
จะพัฒนาชุมชนที่หางไกลรวมถึงผูดอยโอกาสใหมีชีวิต นายปญ ญากร ดอกกะฐนิ หรอื ปญ นกั ศกึ ษา
ความเปน อยทู ด่ี ขี น้ึ เพม่ิ โอกาสการเขา ถงึ การศกึ ษาใหแ กเ ดก็ ชน้ั ปท ่ี 4 ภาควชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตร
และนักเรียนในชุมชนมากขึ้น โดยในชวงแรกเริ่มจะมีการ ประธานชมรมอาสาพัฒนาชนบท รุนที่ 47 กลาววา
จัดคายอาสา เปนคายใหญ 2 คาย คือ คายกลางป ชมรมอาสาพัฒนาชนบทไมไดจัดกิจกรรมเหมือนกันทุกป
การศึกษา และ คายปลายปการศึกษา ตอมาไดมีการ ขึ้นอยูก ับวาคณะกรรมการของชมรมในแตละปน ั้นมีความ
ปรบั เปลย่ี นโดยเพม่ิ คา ยเลก็ อกี 2 คา ย คอื คา ยนอ งใหม สามารถทางดานไหนหรือใหความสนใจในเรื่องอะไร ซึ่ง
กบั คา ยสานฝน ปน รอยยม้ิ ซง่ึ เนน จดั ในพน้ื ทใ่ี กลก รงุ เทพฯ ปท ผ่ี า นมา (2559) พๆ่ี จะเนน เรอ่ื งของการสรา งเพอ่ื เดก็
แตในคายปนี้เรามุงเนน ‘อาสาพัฒนาชนบท’
ตรงตามชื่อของชมรมฯ เพราะทุกคนเห็นพองกันวา
ทกุ อยา งไมวาจะเปนเรื่องของเดก็ สภาพแวดลอม ปญหา
หรอื การพฒั นาตา งๆ ลว นขน้ึ อยกู บั ตวั ชมุ ชน ปน จ้ี งึ เจาะลกึ
ไปที่ชุมชนวาชุมชนตองการอะไร แลวก็คิดกิจกรรมที่
แตกแขนงออกมาวาเราสามารถทำอะไรเพื่อชุมชนไดบาง
ขณะที่โรงเรียนก็ยังเปนจุดหนึ่งที่ตองใหความสำคัญ
เพราะความจรงิ แลว โรงเรยี นกเ็ ปน ศนู ยก ลางทส่ี ำคญั ของชมุ ชน

มดอาสา บนั ทกึ บทเรียนการพฒั นาการศึกษา 07

‘ค่ายเล็ก’ ป้ ันเด็กอาสา สวน คายสานฝนปนรอยยิ้ม จัดชวงกลางปการศึกษา
เมอ่ื เปด ปก ารศกึ ษาใหม ชมรมอาสาพฒั นาชนบท เดมิ ทเี ปน คา ยทจ่ี ดั ขนึ้ ในกจิ กรรมวนั เดก็ แหง ชาติ (วนั เสาร
ที่ 2 ของเดือนมกราคม) แตดวยปจจุบันมหาวิทยาลัย
จะประเดิมคายแรก ดวย คายเล็ก อยาง คายนองใหม มีการเปล่ียนชวงเวลาการเปด-ปดภาคเรียน ทําใหวันเด็ก
จัดขึ้นในพ้ืนที่ขาดแคลนที่ไมไกลจากกรุงเทพฯ มากนัก ไมตรงกับชวงเวลาเปดเทอม ชมรมอาสาพัฒนาชนบทจึง
ซ่ึงวัตถุประสงคหลักคือเปดโอกาสใหนองใหมในชมรมฯ เล่ือนการจัดกิจกรรรมเปนเดือนมีนาคมแทน แตยังคง
ไดสัมผัส และเขาใจความหมายของคําวา “อาสา” ใน คอนเซป็ ตป น รอยยม้ิ ใหเ ดก็ ๆ ซงึ่ ในป 2560 จดั กจิ กรรมท่ี
รูปแบบของคายมากขึ้น โรงเรยี นวดั หว ยมว ง ตาํ บลหว ยมว ง อาํ เภอกาํ แพงแสน
จงั หวัดนครปฐม
ปญญากร เลาวา คายนองใหม คือการพานอง
ในมหาวิทยาลัยออกไปสัมผัสคายอาสาแบบยอๆ โดยเปน นายเฉลิมชัย กุลประวีณ หรือ ฟง นักศึกษา
คา ย 3 วนั 2 คนื ใหพ วกเขารจู กั วา อาสาคอื อะไร ซง่ึ ลา สดุ ชั้นปที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะ
ไปจดั คา ยที่ โรงเรยี นบา นหนองพงั พวย ตาํ บลหวั หวาย วิศวกรรมศาสตร ประธานคายสานฝนปนรอยยิ้ม
อําเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค กิจกรรมแบงออกเปน ป 2560 เลา วา คา ยสานฝน ปน รอยยม้ิ มกี จิ กรรมหลกั
4 กลุม คือ โครงสราง สวัสดิการ พ่ีสอนนองและ 2 โครงงาน คือ ‘พี่สอนนอง’ กับ ‘สัมพันธชาวบาน’
สัมพนั ธช าวบาน โดยโครงงานพี่สอนนองจะจัดกิจกรรมทั้งวันลักษณะ
กิจกรรมจะเนนสอดแทรกความรูตามสภาพปญหาของ
“ดว ยเปน คา ยระยะเวลาสน้ั โครงสรา งจะทาํ อะไร โรงเรียนหรือชุมชน
ไมไดมาก เนนซอมแซมอาคาร ทาสี ทําสนามเด็กเลน
สวนพ่ีสอนนองเปนกิจกรรมที่ไปทํากับเด็กๆ ในโรงเรียน
สัมพันธชาวบานจะพานองไปเรียนรูวิถีชาวบานในชุมชน
ละแวกนนั้ มพี าไปดโู รงงานทาํ กระเทยี ม การสานทจี่ บั ปลา
สําหรับสวัสดิการมีความสําคัญมากจะเปนทีมที่ดูแลเรื่อง
อาหาร ความสะดวกสบายใหทกุ คนในคา ย”

08 มดอาสา บันทึกบทเรยี นการพฒั นาการศึกษา

“ตอนทไ่ี ปเซอรเ วยโ รงเรยี น คณุ ครบู อกวา นอ งๆ
เขาไมค อ ยรจู กั อาชพี ตา งๆ เทา ไหร แลว กจ็ ะมปี ญ หาอยบู า ง
ตรงที่เวลามีหนวยงานภายนอกเขามาจัดกิจกรรม ก็จะ
อยากได อยากมีของมากกวาอยางอ่ืน พวกเราเลยจัด
กิจกรรมที่เนนการคิดเชิงบวกใหกับนองๆ ในวันแรกจะมี
กจิ กรรมสอดแทรกเรอื่ งสามคั คบี า ง การแบง ปน บา ง เชน
กจิ กรรมวดั หว ยมว งในอนาคต จะใหน อ งๆ วาดแบบชมุ ชน
ของตวั เอง ซง่ึ จะแบง สใี หแ ตล ะกลมุ แตจ ะใหส ไี มเ หมอื นกนั
จํานวนมากบาง นอยบาง เพื่อใหเขาเรียนรูเร่ืองการ
แบงปนกัน ตอนบายจะเปนเรื่องการแนะนําอาชีพ เชน
อาชีพเกษตรกรรม แพทย วิศวกร ทหาร ตํารวจ อยาง
อาชีพวิศวกรก็จะบอกวามีหลายสาขานะ สาขาอะไรบาง
ทําอะไรบาง เปนตน สวนวันที่สอง คือกิจกรรมสานฝน
ปนรอยยิ้มเลยครับ เปนกิจกรรมที่เสริมสรางแรงบันดาล
ใจใหกับนองๆ มีเลนเกม แจกของรางวัลท่ีไดจาก
สปอนเซอรมา สําหรับโครงงานสัมพันธชาวบานก็ไดไปดู
วิถชี วี ติ ชมุ ชน เรือ่ งของการทาํ เศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนว
พระราชดําริ ดูการทํากุงแหงซ่ึงเปนของข้ึนช่ือของตําบล
และยังไดรวมกิจกรรมเรียนรูการปลูกผักออรแกนิกและ
การดํานากับชาวบา นดว ย”

‘ค่ายใหญ่’ ใจเกินร้อย
สถานีตอไป ‘สถานีรถไฟลําพูน’ สถานีปลายทาง แตยัง
ไมใ ชจ ดุ หมายปลายทางของคา ยปลายป 60 เพราะพวกเขาตอ งตอ
รถ 6 ลอ ไปยังโรงเรียนบานแมหลุย หลังจากน้ันตอรถโฟรวีล
ขนึ้ เขาไปอกี 10 กโิ ลเมตร กอ นจะถงึ จดุ ทร่ี ถไมส ามารถไปตอ ได
พวกเขาตองเดินเทาตออีก 5 กิโลเมตร จึงจะถึงที่หมาย น่ันคือ
โรงเรยี นบา นแมห ลยุ หอ งเรยี นสาขา จอลอื กลาง ตาํ บลแมส วด
อาํ เภอสบเมย จงั หวดั แมฮ อ งสอน โรงเรยี นและชมุ ชนทอี่ ยบู นพน้ื ที่
หางไกล ขนาดที่คนในพ้ืนท่ียังเช่ือวา ‘จอลือ’ นามนี้คือ ‘จงลืม’

มดอาสา บันทึกบทเรียนการพฒั นาการศึกษา 09

นายนิทัศน ศรีผองงาม หรือ ปลั๊ก นักศึกษา ชาวคา ยทงั้ 70 คน เปน 4 กลมุ หมนุ เวยี นทาํ กจิ กรรม
ชน้ั ปท ่ี 4 ภาควชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร กันท้ัง 4 โครงงาน ซึ่งในสวนของโครงสรางจะชวยกัน
ประธานคา ยปลายปก ารศกึ ษา 2560 กลา ววา คา ยใหญ สรางอาคารเรียน พี่สอนนองจะทํากิจกรรมกับเด็กๆ
ของชมรมอาสาพฒั นาชนบทจะเลอื กจัดในพ้นื ทที่ ุรกนั ดาร ในพน้ื ที่ ซงึ่ เดก็ ๆ สว นใหญพ ดู ภาษาไทยไดน อ ยมาก กจ็ ะ
หรอื พน้ื ทท่ี ย่ี งั ไมค อ ยมใี ครเขา ถงึ ซง่ึ กอ นหนา นค้ี า ยกลางป สอนรอ งเพลง สอนภาษาไทย เลน เกม วาดรปู สว นสมั พนั ธ
จัดขึ้นที่ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา ‘แมฟาหลวง’ ชาวบานไดแกปญหาซอมแซมหองนํ้าใหกับชุมชน และ
บา นสเรเดคี ตำบลสบโขง อำเภออมกอ ย จงั หวดั เชยี งใหม สุดทายคือสวัสดิการ คอยทําอาหาร ดูแลที่พักและความ
สว นคา ยปลายป ทเ่ี ลอื ก โรงเรยี นบา นแมห ลยุ หอ งเรยี น เรียบรอยตางๆ ของคาย ซึ่งท่ีน่ีไมมีไฟฟา นองๆ ก็ตอง
สาขา จอลอื กลาง เพราะในชว งสำรวจสถานทไ่ี ดม โี อกาส ฝกหุงขาวแบบชาวบานเลย ขุดดิน ใชฐานไม เปนการ
พดู คยุ กบั ผอู ำนวยการโรงเรยี นบา นแมห ลยุ (โรงเรยี นสาขา หงุ ขา วแบบเชด็ นา้ํ ซงึ่ หลายคนไมเ คยทาํ มากอ น กเ็ รยี กวา
ใหญอยูพื้นที่ดานลาง) ทานไดแนะนำหองเรียนสาขา แลว แตโ ชค บางวนั กจ็ ะมขี า วสกุ บา ง ไมส กุ บา ง (หวั เราะ)”
จอลอื กลาง (โรงเรยี นสาขายอ ยบนดอย) ซง่ึ ยงั ขาดแคลน นทิ ัศน กลาว
อยูมาก แทบไมมีใครเขาไปเลย เพราะวารถเขาไมถึง
คนสว นใหญจ ะเปลย่ี นไปชว ยทอ่ี น่ื เปน เสมอื นพน้ื ทท่ี ถ่ี กู ลมื เพียงระยะเวลา 16 วัน อาคารไมสีสมอิฐ ดาน
หนาติดปาย ‘ฮ่องของหนู’ ก็แลวเสร็จโดยสมบูรณ
แมการเดินทางจะยากลําบาก แตก็ไมไดทําให เชน เดยี วกบั หอ งนำ้ ทซ่ี อ มแซมพรอ มใชง าน เปด ใหบ รกิ าร
พวกเขายอทอ เพราะภาพแรกที่เห็นหลังจากการข้ึนไป สำหรบั ชาวบา นทกุ คน ความสำเรจ็ ในครง้ั นพ้ี วกเขาบอกวา
สํารวจครั้งแรก คือโรงเรียนและชุมชนยังตองการความ ไมใชเพียงความรวมแรงใจที่เกินรอยของอาสาทุกคน
ชวยเหลืออยูมาก โรงเรียนมีอาคารเรียนตั้งอยู แตกลับ แตย งั เปน พลงั ใจของชาวบา นทเ่ี ปน แรงขบั เคลอ่ื นใหพ วกเขา
ทรดุ จนใชง านไมไ ด เดก็ ทง้ั หมดตอ งยา ยมาเรยี นนอกอาคาร มุงมัน่ แมยากลำบาก
ยกเวนวาเวลาฝนตกหนักมากๆ จะเขาไปใชหลบฝนขาง
ในอาคาร สว นหอ งนา้ํ ทม่ี หี นว ยงานมาสรา งไวใ หช มุ ชนใช นายภรู สิ ญิ ภสู าระ หรอื สโตน นกั ศกึ ษาชน้ั ปท ่ี 4
จํานวน 2 หลัง ก็ใชงานจริงไดเพียงหลังเดียวซ่ึงตองใช ภาควชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตร สมาชกิ
รวมกันทั้งหมูบาน ส่ิงที่โรงเรียนและชุมชนตองการ คือ ชมรมอาสาพฒั นาชนบท กลา ววา “สง่ิ ทผ่ี มเหน็ ไดช ดั เจน
อาคารเรยี น หรอื อาคารอเนกประสงค 1 หลงั เปา หมาย คือน้ำใจของชาวบาน ชาวบานพรอมใหเราเต็มรอยมาก
ทนี่ าํ พานกั ศกึ ษา 70 ชวี ติ มงุ หนา ขนึ้ ดอยเพอ่ื เพมิ่ โอกาส อยา งชว งทเ่ี ราตอ งเดนิ มเี นนิ ทช่ี นั มากระยะทาง 500 เมตร
เขา ถึงการศึกษาใหเดก็ ๆ และรว มกนั พัฒนาชมุ ชน แคผ มลากสงั ขารกนั ขน้ึ ไปกเ็ หนอ่ื ยมากแลว แตช าวบา นเขา
มาชวยแบกอิฐ แบกปูน ขนเสาขึ้นมา แลวเวลาทำงาน
“ในคายก็จะมี 4 โครงงาน คือ โครงสราง ชาวบานอยากมาชวยเราตลอดเลย ถึงเขาจะพูดสื่อสาร
สวสั ดกิ าร พส่ี อนนอ ง และสมั พนั ธช าวบา น จะมกี ารแบง กบั พวกเราไมไ ด แตเ ขาเดนิ มา ทำทา ทาง ซง่ึ เราสมั ผสั ได”

10 มดอาสา บันทึกบทเรียนการพัฒนาการศึกษา

เชน เดยี วกบั นายพศั เลศิ อาภานนท หรอื แพน “งานอาสาทําใหผมไดคําตอบใหตัวเองครับ
นักศึกษาชั้นปที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะ พน้ื ฐานผมมาจากภาคใต ไมไ ดอ ยดู กี นิ ดี กค็ อ นขา งลาํ บาก
วศิ วกรรมศาสตร สมาชกิ ชมรมอาสาพฒั นาชนบท เลา วา เคยถามพอ วา ...ทาํ ไมเราตอ งลาํ บากขนาดนี้ พอ บอกวา เรา
“สิ่งที่ไดรับคือใจของชาวบาน เราบอกจะไปสรางอาคาร ไมไดลําบากเลย ยังมีคนที่ลําบากกวาเราอีกมาก ซ่ึงมัน
แตไ ปวนั แรกไมม อี ะไรเลย พน้ื ดนิ เปลา ๆ เขายงั ไมร เู ลยวา เปน คาํ ตอบทวี่ นในหวั ผม จนผมไดม าเรยี นทนี่ ี่ ไดเ ขา ชมรม
อาคารจะเปนยังไง แตชาวบานก็พรอมใจชวยกันยกหิน อาสาพฒั นาชนบท ทาํ ใหผ มเหน็ ไดส มั ผสั และรแู ลว วา ...ใช
ปูน ทราย มาใหเราดวยสีหนาที่ยิ้มแยม จนใกลๆ วัน มีคนที่ลําบากมากกวาเรา ดังนั้นสิ่งที่ผมทําไดคือ ผมรู
สุดทายที่อาคารจะเสร็จ สัมผัสไดเลยวาเขารูสึกดีใจมาก อยูแลววาความลําบากมันเปนยังไง ก็อยากชวยใหเขา
หรือแมแตเด็กๆ วันแรกเขินไมกลาคุย แตพอสนิทกัน ลาํ บากนอ ยลง มคี วามสุขมากข้ึน ทํายงั ไงกไ็ ด ไมจาํ เปน
วันสุดทาย เด็กๆ เดินมาบอกวา “พี่ไมไปไดมั้ย” โอโห ตอ งมาทาํ คา ย มาทาํ อาสาอยา งเดยี ว ยงั มวี ธิ อี กี ตง้ั หลาย
ฟง แลว รสู กึ ใจหายเลย เปน ความผกู พนั และความประทบั ใจ แบบทชี่ ว ยได แตส าํ หรบั ผมทมี่ าทาํ ชมรมฯ ตอนนี้ เพราะ
จรงิ ๆ ครบั ” ผมยังมีเวลา มีโอกาส มีเพ่ือนที่คอยสนับสนุน ก็ใชเวลา
ที่มีไปทําส่ิงที่เปนประโยชนกับชุมชนจริงๆ ดีกวา อยางท่ี
ผลลพั ธท เี่ กดิ ขนึ้ จากคา ยอาสาครงั้ นี้ ไมเ พยี งชว ย มเี พลงในชมรมฯ ทเ่ี ขารอ งกนั ผมชอบประโยคทวี่ า “ทาํ ไม
เปลย่ี นแปลงชวี ติ ของเดก็ และชมุ ชนจอลอื กลางเทา นนั้ แต ไทยกับไทยยังแตกตางกัน” เราแคอยากจะชวย เรามี
บรรดาเหลา อาสาเองกไ็ ดร บั ทง้ั ความสขุ ทกั ษะ ความรใู หมๆ ความสุขท่ีไดชวย เขามีความสุขที่เราเขาไปชวย ตางคน
หรือแมแตคําตอบของชวี ติ ท่ีคนหามานาน ตางมคี วามสขุ แคน้พี อแลวครับ” ปญญากร กลาว

“ศรทั ธา เชอื่ มน่ั สรา้ งสรรคส์ งั คมไทย” คอื คาํ ขวญั ของชมรมอาสาพฒั นาชนบท
ทส่ี ะทอ้ นถงึ ตวั ตน อดุ มการณ์ ความมงุ่ มนั่ ของเหลา่ เมลด็ พันธอุ์ าสากลมุ่ นไี้ ดอ้ ยา่ งดี
และไมว่ า่ หลายสงิ่ จะเปลย่ี นไปเชน่ ไร เชอื่ วา่ พวกเขาจะยงั คงมงุ่ มน่ั ทาํ งานอาสาเพื่อ
ชมุ ชน เพื่อลดความเหลอื่ มลาํ้ สรา้ งความเทา่ เทยี มใหเ้ กดิ ขนึ้ ในสงั คมตอ่ ไป

มดอาสา บันทกึ บทเรียนการพัฒนาการศกึ ษา 11

02 สถาปัตย์ฯ อาสา
‘ตะวนั ย้มิ แฉ่ง’
แบ่งปันเพื่อชมุ ชน

อาคารไมช้ นั้ เดยี วตง้ั อยบู่ นพ้ืนทสี่ งู ลาดชนั มผี นงั โปรง่ แสงสขี าวขนุ่ มองเหน็
โครงครา่ วไมด้ า้ นในทถ่ี กู ออกแบบใหเ้ ปน็ ทงั้ โครงตดิ ตงั้ วสั ดผุ นงั เปน็ ชนั้ วาง
หนังสือ และที่น่ังอ่านหนังสือในคราวเดียวกัน ส่วนด้านหน้าอาคารมีชาน
ระเบยี งไมย้ น่ื ออกไปบนทางลาด เปน็ พื้นทสี่ าํ หรบั อา่ นหนงั สอื หรอื ทาํ กจิ กรรม
สบายๆ ท่ามกลางธรรมชาติสีเขียวท่ีอยู่รายล้อม พร้อมชมวิวภูเขาที่อยู่
เบ้ืองหน้า ใต้ชานมีชิงช้าเล็กๆ ท่ีเด็กๆ กําลังแกว่งไกวอย่างสนุกสนาน

นี่ไมใชหองสมุดแนวใหม สไตลเซน ที่ทันสมัย เรียบงาย แตคือ ‘ห้องสมุดแห่งแรก’ ของเด็กๆ
ณ ศนู ยก ารเรยี นชมุ ชนบนพน้ื ทส่ี งู บา นแมต อ คี ตำบลแมต า น อำเภอทา สองยาง จงั หวดั ตาก ผลงานความสำเรจ็ ของ
คา่ ยอาสาพั ฒนาชนบท กลมุ่ ตะวนั ย้มิ แฉง่ ครงั้ ที่ 19 ซงึ่ เกดิ จากความรว มมอื รว มใจของนกั ศกึ ษาคณะ
สถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ที่นำเอาความรูดานการออกแบบ
มาประยกุ ตใ ชส รา งอาคารทเ่ี ปน ดง่ั ศนู ยร วมชมุ ชนทง้ั ดา นจติ ใจและการศกึ ษา เพอ่ื ตอ เตมิ ชวี ติ และความสขุ ใหก บั ชมุ ชนทข่ี าดแคลน

12 มดอาสา บันทึกบทเรยี นการพฒั นาการศึกษา

ในการออกแบบแปลน ‘หอ้ งสมดุ ในฝนั ’ ทส่ี อดคลอ ง
กบั วถิ ชี วี ติ และสภาพพน้ื ทม่ี ากทส่ี ดุ ซง่ึ งานนถ้ี อื วา ยากและ
ทา ทา ยตอเหลา วา ทส่ี ถาปนิกอยางมาก

“การออกแบบงานนค้ี อ นขา งทา ทายมาก พน้ื ทง่ี าน
ตั้งอยูบนพื้นที่ลาดชัน และคุณครูบอกวาอยากไดอาคาร
ทใ่ี ชพ น้ื ทค่ี มุ ทส่ี ดุ มพี น้ื ทล่ี อยๆ อยบู นทางลาด เดก็ ๆ จะได
มีพื้นที่วิ่งเลนขางนอกดวย พวกเราเลยมีแนวคิดออกแบบ
ตัวอาคารที่มีชานยื่นออกมา เพื่อที่จะใชพื้นที่ทั้งดานลาง
และดานบน อีกโจทยสำคัญคือเรื่องของการประหยัดไฟ
และพลงั งาน เพราะวา ทน่ี น่ั ตอ งปน ไฟใชเ อง เราเลยมาคดิ
กนั วา จะทำยงั ไง กเ็ ลยชว ยกนั ศกึ ษาคน ควา จนเจอวสั ดชุ น้ิ หนง่ึ
คอื โพลคี ารบ อเนต (Polycarbonate) เปน แผน ขนุ ๆ ลอนๆ
ซง่ึ กนั แดด กนั ฝน และแสงสามารถสอ งผา นได เลยนำมา
ใชท ำผนงั ชว ยใหแ สงจากธรรมชาตสิ อ งเขา มาในอาคารได
โดยทไี่ มต องใชไฟเลยในตอนกลางวัน

นายณพงศ วริ ยิ ะอคั รเดชา หรอื ปน นกั ศกึ ษา
ชน้ั ปท ่ี 4 สาขาสถาปต ยกรรม คณะสถาปต ยกรรมศาสตร
และการออกแบบ ประธานคา ยอาสาพฒั นาชนบท กลมุ
ตะวนั ยม้ิ แฉง ครง้ั ท่ี 19 เลา วา คา ยอาสาพฒั นาชนบท
กลมุ ตะวนั ยม้ิ แฉง รเิ รม่ิ โดยรนุ พก่ี ลมุ เลก็ ๆ ทม่ี งุ หวงั นำความรู
ความสามารถดา นสถาปต ยกรรมและการออกแบบทเ่ี รยี นมา
ไปชวยเหลือพัฒนาชุมชนในพื้นที่ตางๆ เชน การสราง
โรงเรอื น โรงอาหาร ตามความตองการของชุมชน ซึ่ง
ตอนนี้ทำสงตอกันมาจากรุนสูรุนจนเขาสูปที่ 19 แลว

“สำหรับปนี้ จากการเซอรเ วย พวกเราเลอื กชว ย
เหลอื ทศ่ี นู ยก ารเรยี นชมุ ชนบนพน้ื ทส่ี งู บา นแมต อ คี เพราะ
เปน โรงเรยี นทอ่ี ยลู กึ จากในเมอื ง มกี ารเดนิ ทางทค่ี อ นขา ง
ลำบาก และยงั ขาดแคลนอาคารเรยี นอกี จำนวนมาก สว น
การสรา งหอ งสมดุ กเ็ ปน ความตอ งการของชมุ ชน ทต่ี อ งการ
อาคารทเ่ี ปน ศนู ยก ลางใหค นในชมุ ชนทกุ ชมุ ชนใชง านรว มกนั
เนอ่ื งจากพน้ื ทโ่ี รงเรยี นแหง น้ี มชี มุ ชนรายลอ มอยปู ระมาณ
3 ชุมชน คนที่นั่นเวลารวมตัวกันเขาจะมาที่โรงเรียน
ดังนั้นการสรางหองสมุด จะเปนจุดที่ใหเด็กไดมาเรียนรู
อา นหนงั สอื เปน หอ งเรยี น แลว กเ็ ปน ทใ่ี ชป ระโยชนร ว มกนั
ของชมุ ชนดว ย”

เมื่อไดพื้นที่และโจทยชุมชน นำมาสูการลอมวง
ระดมความคดิ ของรนุ พร่ี นุ นอ งใชค วามรดู า นสถาปต ยกรรม

มดอาสา บนั ทึกบทเรยี นการพฒั นาการศกึ ษา 13

นอกจากนม้ี เี รอ่ื งของทศิ ทางลม ซง่ึ ตอ งมกี ารคำนวณ ‘ป้ นั ’
กโ็ ชคดวี า บรเิ วณนน้ั เปน หบุ เขา และลมเขา มาทางดา นหนา
พอดี บริเวณชานที่ยืน่ ออกมารบั ลมไดท้ังตอนเชาและเย็น นายณพงศ์ วริ ยิ ะอคั รเดชา
สว นพน้ื ทใ่ี ตช านตดิ ตง้ั ชงิ ชา ทำทางลาดทเ่ี ดนิ ลงมาได ซง่ึ ทง้ั
การออกแบบและการเลอื กวสั ดุ ตอ งมกี ารศกึ ษาวา เคยมกี าร สาขาสถาปัตยกรรม
นำไปใชส รา งอาคารมาแลว ใชง านไดจ รงิ แลว กป็ รกึ ษารนุ พ่ี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
ทีเ่ ปนวิศวกรดว ย เขาจะแนะนำเร่อื งโครงสราง น้ำหนัก”
ณพงศเ ลา และการออกแบบ

ไมเ พยี งตวั โครงสรา งอาคารทถ่ี กู ออกแบบและเลอื ก
สรรวัสดุที่ตอบโจทยการใชงานของเด็กและคนในพื้นที่
ไดอ ยา งดี ไฮไลทส ำคญั คอื พวกเขายงั มแี นวคดิ การออกแบบ
อาคารและการใชง านใหเ ปน หอ งสมดุ ภายในตวั เอง ทส่ี ำคญั
ยังมีการนำเทคนิคการกอสรางรูปแบบใหมมาประยุกตใช
เพื่อชวยลดระยะเวลาการกอสราง และขอจำกัดในการ
ขนสงวสั ดุ อุปกรณตา งๆ ดว ย

‘มนี ’ นายสทิ ธิชัย เหลา ทวีทรัพย หรอื อู นกั ศึกษา
ชน้ั ปท ่ี 4 สาขาสถาปต ยกรรม คณะสถาปต ยกรรมศาสตร
นายวรี นนั ท์ ดวงแข และการออกแบบ กรรมการคา ยอาสาพฒั นาชนบทกลมุ
ตะวันยิ้มแฉง กลาววา เพื่อใหหองสมุดที่สรางขึ้นมีพื้นที่
สาขาสถาปัตยกรรม สว นกลางในการเรยี นรไู ดม ากทส่ี ดุ จงึ มกี ารนำตวั โครงสรา ง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มาใชเ ปน ฟง กช น่ั ภายในอาคารควบคกู นั เชน ตวั โครงครา ว
จะมีความหนาและมีขนาดยื่นยาวออกมามากกวาปกติ
และการออกแบบ เพอ่ื ทำเปน ชน้ั วางหนงั สอื และเดก็ ๆ สามารถนง่ั อา นหนงั สอื
ตรงนไ้ี ดเ ลย เนอ่ื งจากมคี วามแขง็ แรงและยงั เปน ผนงั อกี ดว ย

“ความสูงของระแนง หนาตาง ชั้นวางหนังสือ
ออกแบบโดยอิงจากสัดสวนของเด็กนักเรียน และมีการ
ออกแบบเฟอรนิเจอรบางสว น เชน เกา อ้ี ช้นั วางรองเทา
สำหรับเด็กๆ นอกจากนี้ดวยขอจำกัดเรื่องการขนสง
พวกเราไดวางแผนการกอสรางแบบ Prefabrication
คือเตรียมไมใหมีลักษณะเหมือนจิ๊กซอวไวกอน แลวไปตอ
ประกอบทห่ี นา งาน เชน ในสว นของโครงหลงั คา โครงครา ว
เปนตน ”

14 มดอาสา บนั ทึกบทเรยี นการพัฒนาการศึกษา

‘อ’ู๋

นายสทิ ธชิ ยั เหลา่ ทวที รพั ย์

สาขาสถาปัตยกรรม
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

และการออกแบบ

ทุกวันนี้การสรางบาน สรางอาคาร อาจดูไมใช อาคาร สิทธิชัย เลาเสริมวา “ดวยความที่ตรงชานที่ยื่น
เรอ่ื งยาก เพราะมเี ทคโนโลยแี ละเครอ่ื งมอื ทนั สมยั มากมาย ออกมาคอนขางสูงมากครับ ประมาณ 6-7 เมตร เสา
แตก ารตอ งสรา งอาคารโดยกลมุ นกั ศกึ ษา แถมยงั มขี อ จำกดั สองตน ดา นหนา ตอ งมขี นาดใหญแ ละสงู มาก ตอนหนา งาน
ทง้ั ในเรอ่ื งระยะเวลา การขนสง และพน้ื ทท่ี ค่ี อ นขา งหา งไกล คดิ วา จะเอาออก เพราะเปน เสาปนู ขึน้ ดว ยคน ถา หลน พงั
ทำใหพ วกเขาตอ งเผชญิ กบั อปุ สรรค ปญ หาเฉพาะหนา ไมน อ ย ลงมาจะอันตรายมาก ซึ่งตองคำนึงถึงความปลอดภัย
ของทุกคน แตเราก็มีการปรึกษากับรุนพี่ที่มาชวยในคาย
“มปี ญ หาทกุ วนั ครบั ตง้ั แตว นั แรกทต่ี อ งขนไมเ ลย วา มวี ธิ ไี หนแกป ญ หาไดบ า ง พบวา มวี ธิ รี อกคู เปน การใชแ รง
รถขนไมข น้ึ ไปไมพ อ เรามรี ถทหารแค 3 คนั ซง่ึ รถทหาร คนลวนๆ แตปลอดภัยมากขึ้น ก็เลยตัดสินใจเดินหนาตอ
คนั หนง่ึ ตอ งเอาคนขน้ึ ไป อกี คนั หนง่ึ อปุ กรณ เทา กบั เหลอื เพ่ือไปใหถึงสิ่งท่ีเราต้ังไว”
รถทหารอีกคันเดียวที่ใชขนไม ซึ่งรถเดินทางขึ้นลงพื้นที่
แตละครั้งใชเวลานาน เพราะทางขึ้นเขารถสวนกันไมได จากความรวมแรงรวมใจของพี่นองชาวสถาปตย
กเ็ ลยตอ งตดั สนิ ใจทง้ิ ไมท เ่ี หลอื ไวด า นลา ง แตโ ชคดที เ่ี พอ่ื น บางมด กวา 200 คน ทำใหร ะยะเวลาเพยี ง 10 กวา วนั
ซง่ึ ลงมารบั เพอ่ื นอกี กลมุ ซง่ึ เยน็ มากแลว ตดั สนิ ใจไปขอความ ในทส่ี ดุ นอ็ ตตวั สดุ ทา ยกถ็ กู สวา นเจาะยดึ ลงไปในตวั อาคาร
ชวยเหลือจาก อบต. พอเขารูวาเรามาทำคาย เลยสงรถ ไดส ำเรจ็ เสยี งเฮลน่ั แสดงถงึ ความดใี จทพ่ี วกเขาพรอ มสง มอบ
สบิ ลอ มาชว ย กเ็ ลยขนไมข น้ึ ไปไดเ ลยในวนั นน้ั ” ณพงศเ ลา ‘หองสมุด’ อาคารซึ่งเปนโอกาสในการเรียนรูของเด็กๆ
และความสุขของชุมชน เมื่อถามวาหองสมุดที่ไดเห็นนั้น
เรอ่ื งความปลอดภยั เปน หวั ใจสำคญั อกี อยา งหนง่ึ ตรงตามที่คาดหวงั ม้ัย พวกเขาตอบพรอมกันวา
ทพ่ี วกเขากงั วลจนแทบลม เลกิ การกอ สรา งในบางสว นของ

“เกนิ คาดหวงั ส่ิงทไี่ ดม้ นั มากกวา่ รอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ต”์

มดอาสา บันทกึ บทเรยี นการพฒั นาการศึกษา 15

ณพงศ กลาววา ตอนแรกโจทยน ี้ทาทายมากทง้ั “จากที่เหน่อื ยมาสองอาทติ ย เราก็ไดเ ห็นวา มันมี
การสรางอาคารบนพืน้ ทล่ี าดชัน และการทำชาน มีเสียง ประโยชน ก็ดีใจครับ เหมือนเราไดไปเปนผูให โดยที่
หลายเสยี งบอกวา “ทำไมไ ดห รอก มนั อนั ตราย” “มนั ยาก ไมหวังสิ่งตอบแทนอะไรเลย ไมไดหวังวาตองไดผลงาน
ไมเสร็จหรอก” จนคนทำเหลือนอยลงเรื่อยๆ แตสุดทาย ไดเงิน ไดทอง แตสิ่งที่เราไดตอบรับกลับมา แคเขามี
ทุกคนก็พยุงกันมา ใหกำลังใจกันวาไมตองสนใจคำพูด ความสขุ แคร อยยม้ิ ของเขา เรากร็ สู กึ ภมู ใิ จแลว แลว ไหน
เหลา น้ัน ในที่สุดทกุ อยา งกส็ ำเรจ็ ลุลวงไปได จะเปนสิ่งที่เราไดเรียนรูในระหวางการทำงาน ไดความรู
มีกิจกรรมตางๆ ที่ทำใหเพื่อนพี่นองไดพบปะกัน แลวเรา
“ความจริงมันเกินตัวพวกผมมากๆ แตในเมื่อคิด ก็ไดสิ่งตางๆ กลับมาเกินกวาที่เราคาดไว เราไปดวยใจ
จะทำแลวก็ตองไปใหถึงครับ มันเปนแคครั้งหนึ่งในชีวิต แลวเราไดก ลบั มาขนาดนี้ มนั ดีมากจรงิ ๆ ครบั ”
ทเี่ ราจะไดท ำอะไรดๆี แบบน้ี เมอ่ื หองสมดุ เสร็จตรงตาม
เปาหมาย มันก็เลยเกินกวาสิ่งที่คาดหวังไวมาก เหมือน ผลตอบแทนจากความสำเรจ็ ไมเ พยี งนำมาซง่ึ ความ
เรายกระดบั คา ยขน้ึ มาเลยครบั ถา เราไมท ำ ทกุ อยา งกจ็ ะ ปติในหัวใจและการรับรูพลังแหงการให ตลอดระยะเวลา
เปนเหมือนเดิม สิ่งที่ออกมามันมีขอผิดพลาดเยอะในตัว 10 วัน พวกเขายังไดประสบการณ ไดเรียนรูทักษะการ
อาคาร แตขอที่มันดีมากๆ คือถึงมันจะยากแตพวกเรา ทำงาน ไดแ ลกเปลย่ี นความรกู บั ชาวบา น รวมถงึ การแกไ ข
ทำใหสิ่งนี้เกิดขึ้นมาได แลวมันกลายเปนแรงบันดาลใจ ปญ หาเฉพาะหนา ซึ่งทง้ั หมดไมไ ดม ีสอนอยใู นตำราเรียน
ใหท กุ คนอยากกลบั มาชว ยในปต อ ไป จากทไ่ี ดป ระชมุ ลา สดุ
รุนนองมีแรงผลักดันที่อยากจะทำใหดีมากกวาที่เราทำ “สิ่งที่ไดจากคาย คือประสบการณ เปนความรู
กม็ คี วามสขุ ทม่ี คี นอยากเขา มาชว ยกนั ทำเพอ่ื สงั คมมากยง่ิ ขน้ึ ” ซง่ึ ตอนทเ่ี ราเรยี นอยู เหมอื นเรยี นออกแบบบนแผน กระดาษ
ทุกคนก็จะไมเคยปฏิบัติจริง แตคายเปนสถานที่แรกที่ให
ดาน นายปณณวิชญ พิมลกิตติรัตน หรือ พวกเราเขาไปทำงานจริง เหมือนเวลาเราเห็นตึกหนึ่งตึก
มีน นักศึกษา ชั้นปที่ 4 สาขาสถาปตยกรรม คณะ เราไมเคยไปสรางเองกับมือ ก็มองแความันวางแบบนี้ๆ
สถาปต ยกรรมศาสตรแ ละการออกแบบ คณะกรรมการ แตพอเราลงไปทำ ก็จะเห็นวาทุกอยางมีขั้นมีตอน การ
คา ยอาสาพฒั นาชนบท กลมุ ตะวนั ยม้ิ แฉง กลา วถงึ ความ จะวางเสาตนหนึ่งเราตองคำนึงถึงอะไรบาง หรือแมแต
ประทบั ใจในการทำคา ยครง้ั นว้ี า คอื ความรสู กึ เมอ่ื ไดเ หน็ เดก็ ๆ จงั หวะในการจะตดิ ตง้ั เสา อกี ทง้ั ตง้ั แตว นั แรกจนวนั สดุ ทา ย
และชาวบา นเขา มาใชง านในหอ งสมดุ ไดเ หน็ ทกุ คนมรี อยยม้ิ แตละวันก็มีเรื่องราว อุปสรรค ปญหาที่แตกตางกันไป

16 มดอาสา บนั ทึกบทเรียนการพัฒนาการศึกษา

เปนบทเรียนที่สอนใหเรารูวาแตละปญหา มีวิธีการแกไข คณุ ครู
แบบไหน เหมือนเราไดแนวคิดใหมๆ ไดวิธีใหม จาก ลนิ ดา คงสขุ สมปอง
ประสบการณท เ่ี ราไดม าจากคา ย แลว เรากไ็ ปคดิ ตอ เอาไป
ตอยอด และนำไปประยุกตใชง านไดใ นอนาคต คุณครูประจําศูนย์การเรียน
ชุมชนบนพื้นที่สูง
ทส่ี ำคญั การไดท ำงานรว มกบั ชาวบา น ทำใหเ รา บ้านแม่ต้อคี
ไดค วามรใู หมด ว ย เพราะเราเปน คนเมอื ง มเี ครอ่ื งทนุ แรง
มากมายไปหมด แตชาวบานเขาไมมี เขาจะสอนในวิธี
ของเขา เปน สง่ิ ทเ่ี ราไดม าทกุ ๆ ปท ไ่ี ปออกคา ย ไดเ รยี นรู
ภมู ิปญ ญาชาวบานในการกอ สรา ง ขณะเดียวกนั ชาวบา น
ก็ไดวิธีการกอสรางใหมๆ จากเราไปใช ไมใชแคเรื่อง
กอ สรา งนะครบั แมแ ตห งุ ขา ว เดก็ ๆ ทโ่ี นน ยงั ตอ งมาสอน
หงุ ขาวดวย” ปณ ณวิชญ กลาว

การสานพลังของเพื่อนพองนองพี่ในคายอาสา
พฒั นาชนบท กลมุ ตะวนั ยม้ิ แฉง ทส่ี ง ตอ ความเสยี สละจาก
รุนสูรุน สะทอนใหเห็นวาสถาปนิกไมไดมีดีแคออกแบบ
สรางบาน แตพวกเขายังใชความรูเพื่อสรางสรรคสังคม
สรา งคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี และสรา งความสขุ ใหช มุ ชนไดอ กี ดว ย

“ขอบคุณทุกคนจริงๆ และทางมหาวิทยาลัยด้วย ทีเ่ ข้ามาช่วยเด็กๆ
ทาํ ใหเ้ ขาไดร้ บั โอกาสมากขนึ้ จรงิ ๆ ตอนทนี่ อ้ งเขา้ มาคยุ กด็ ใี จมากเลย บอกไปวา่
อยากไดพ้ ้ืนทเี่ รยี นรทู้ ใี่ ชก้ นั ไดท้ งั้ หมบู่ า้ น นอ้ งๆ กเ็ สนอไอเดยี หอ้ งสมดุ กนั มา
ตกึ สวยมาก สวยจรงิ ๆ ทกุ คนทมี่ าทคี่ า่ ยนา่ รกั สุดๆ ทงั้ ชว่ ยกนั สรา้ ง ชว่ ยกนั
สอนเดก็ ๆ หวงั วา่ ทกุ คนจะมคี วามสุขเหมอื นกบั ทมี่ อบใหพ้ วกเรานะคะ”

มดอาสา บนั ทึกบทเรยี นการพฒั นาการศึกษา 17

03 สาดศิลป์...
แตม้ สี เติมสุขใหน้ อ้ ง
ใครวา่ คา่ ยอาสามแี ต่ ‘ซอ่ ม’ กบั ‘สรา้ ง’ ลองปรบั โฟกสั มาทค่ี า่ ยนี้ คา่ ยสาด
ศลิ ปอ์ าสาพั ฒนาชนบท ของกลมุ่ นกั ศึกษาสาขาวชิ ามเี ดยี อาตส์ ทไี่ ดอ้ าสา
ออกไป ‘แตม้ ส’ี ใชค้ วามรดู้ า้ นศลิ ปะสรา้ งความสขุ ใหก้ บั นอ้ งๆ ผดู้ อ้ ยโอกาส
คา่ ยสาดศลิ ปอ์ าสาพัฒนาชนบท เกดิ ขน้ึ จากความตง้ั ใจของนกั ศกึ ษา
สาขาวิชามีเดียอาตส์ โครงการร่วมบริหารหลักสูตรฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

พระจอมเกล้าธนบุรี ที่ต้องการทํากิจกรรมอาสาพัฒนาชนบทในต่างจังหวัด

โดยมงุ่ เนน้ สรา้ งกจิ กรรมทสี่ อดคลอ้ งกบั ความรแู้ ละความถนดั ในสาขาทเี่ รยี นมา

นายพงศกร นิ่มศิริ หรือ ปาลม ผูริเริ่มและประธานโครงการคายสาดศิลปอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 1
เลาวา คายสาดศิลปฯ เกิดจากความตองการของรุนพี่รุนนองที่อยากทำกิจกรรมรวมกัน ซึ่งเดิมทีมีการออกไปเลนละคร
ทำหุนมือใหกับเด็กๆ บาง จนเริ่มมีความคิดวานาจะพัฒนาไปสูการทำคายเหมือนกับคณะอื่นๆ เชน สถาปตยฯ
ที่มีคายออกไปกอสรางไปซอมแซมอาคารในพื้นที่หางไกล แตเมื่อกลับมามองความถนัดของนักศึกษาในสาขาวิชา
จึงคดิ วา นา จะเรม่ิ ตนจากการนำงานศลิ ปะ

18 มดอาสา บันทึกบทเรยี นการพฒั นาการศกึ ษา

บานพักพิงเด็กนักเรียน บานปาเด็งใต อำเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี คือพื้นที่แรกของการเริ่มตน
จัดคายสาดศิลปอาสาพัฒนาชนบท ที่นี่มีคุณลุงแซมสัน ศรีประเสริฐ เปนผูดูแล ซึ่งที่นี่นอกจากมีปญหาความขาดแคลน
เด็กที่มาพักพิงสวนใหญประสบปญหาครอบครัวแตกแยก ถูกทิ้ง มีผลกระทบทางดานสภาพจิตใจ ทั้งยังถูกสังคมปฏิเสธ
ไมว าจะเปนในโรงเรยี นหรอื จากชุมชนรอบขา ง เน่อื งจากเปน เด็กชนเผา ไรสญั ชาติ

“คา ยแรกไปกนั ประมาณ 50 คน เปน ป 1-3 เรม่ิ ตน เลยยอมรบั วา เราไมเ คยทำคา ยอาสาจรงิ จงั มากอ น เรากไ็ ป
แบบทุลักทุเล เปนการลองผิดลองถูกเอง งบประมาณก็มีไมมาก เนนทำในสิ่งที่คิดวาไปชวยเหลือเขาได กิจกรรมหลักๆ
จะมชี ว ยกนั ทำปา ยวา พน้ื ทต่ี รงนเ้ี ปน ของหมบู า นพกั พงิ เดก็ ตรงนเ้ี ปน หอหญงิ หอชาย หอ งนำ้ หญงิ หอ งนำ้ ชาย แปลงผกั
แลว กม็ ที าสีอาคารเกา สว นผูช ายกม็ ีไปรว มกับชางท่เี ขามาชว ยทำสนามตะกรอ ดว ย”

ขน้ึ ชอ่ื วา คา ยสาดศลิ ป แนน อนวา กจิ กรรมหนง่ึ ทข่ี าดไมไ ด คอื กจิ กรรมสอนศลิ ป โดยในคา ยครง้ั นพ้ี วกเขาเลอื ก
ใชศ ลิ ปะบำบดั เปน สื่อกลาง เพอ่ื ใหการสรา งสรรคศ ิลปะอันงดงามเกดิ ผลในทางบวกและผอ นคลายจติ ใจ

“ดวยสภาพปญหาดานจิตใจ พวกเราเลือกใชศิลปะมาเยียวยานองๆ ทำศิลปะจากสิ่งที่เปนธรรมชาติ มีกิจกรรม
แตมสีเติมจินตนาการ ใหนองสรางสรรคผลงานศิลปะจากแมพิมพวัสดุ
ธรรมชาติ เชน กอนหิน ใบไม หยวกกลวยทีห่ าไดในบริเวณนั้น สที ใี่ ช
ก็เปนสีผสมอาหาร ผสมแปงมัน มีความปลอดภัย แลวก็มีกิจกรรม
เสื้ออนาคตในฝน วาดรูป สรางชุดที่จะใสในอนาคตของตนเอง ซึ่งเรา
เห็นนองมคี วามคิดสรางสรรค มคี วามฝนท่ีอยากจะเปนในอนาคต เชน
หมอ ทง้ั ทเ่ี ขากไ็ มร วู า ในอนาคตเขาจะมโี อกาสไดเ รยี นมย้ั แตเ ขามคี วาม
เชื่อมัน่ วาจะไปถงึ ตรงน้ันได เปน ความประทบั ใจ”
เมอ่ื ทกุ คนเหน็ วา ศลิ ปะคอื เครอ่ื งมอื ทจ่ี ะชว ยบำบดั จติ ใจและสรา ง
กำลังใจใหเด็กๆ กลุมนี้ได รวมทั้งในพื้นที่ยังมีสวนที่ตองปรับปรุง
ซอ มแซม หรอื พฒั นาอกี มาก เหลา อาสาจงึ เดนิ หนา สานตอ กลบั มาจดั คา ย
สาดศิลปอาสาพัฒนาชนบทครั้งที่ 2 ที่บานพักพิงเด็กนักเรียน
บานปา เดง็ ใตอีกครัง้

พงศกร นม่ิ ศิริ สุธดิ า พรหมเจรญิ นสั รนี เเสงวมิ าน วชิ ยตุ ม์ สุขสิน

มดอาสา บนั ทึกบทเรียนการพฒั นาการศกึ ษา 19

นางสาวสุธิดา พรหมเจริญ หรือ เอิรธ นักศึกษาชั้นปที่ 2 สาขาวิชามีเดียอาตส โครงการรวมบริหาร
หลักสูตรฯ คณะกรรมการโครงการคายสาดศิลปอาสาพัฒนาชนบทครั้งที่ 2 กลาววา คายครั้งนี้ขยายใหญ
ขน้ึ จากปแ รกทม่ี สี มาชกิ ประมาณ 30 กวา คน เพม่ิ เปน 70 กวา คน ซง่ึ กจิ กรรมหลกั ในคา ยฯ ครง้ั ท่ี 2 เปน การออกแบบ
สรา งสรรคภ าพวาดบนฝาผนงั บรเิ วณพน้ื ทส่ี ว นกลางของโรงเรยี นเพอ่ื สรา งสอ่ื การเรยี นรแู กเ ดก็ ๆ รวมถงึ ตเี สน สนามกฬี า
อเนกประสงคเพอ่ื ใหสามารถใชเปนลานกจิ กรรมนนั ทนาการกลางของหมูบา นได

“พวกเราชวยกันออกแบบสื่อการเรียนรูที่วาดลงบนฝาผนัง ซึ่งไดชวยกันวิจัยหาขอมูลทั้งในเรื่องของการใชสีสัน
ลกั ษณะของภาพทเ่ี หมาะสมและเปน มติ รกบั เดก็ พยายามเอาความรทู ม่ี มี าชว ยกนั วเิ คราะหอ อกแบบเพอ่ื ใหไ ดง านทเ่ี หมาะสม
กบั เดก็ ๆ มากทส่ี ดุ ซง่ึ มกี ารวาดภาพสอ่ื การสอนเรอ่ื งวนั เดอื น ตวั เลข และสี เปน ภาษาองั กฤษ การทกั ทายเปน ภาษาองั กฤษ
เชน Good morning, Good afternoon และ Good night ภายในหองสมุดจะมีการวาดตัวอักษร ก-ฮ และ A-Z
ซง่ึ ไมใ ชต วั อกั ษร ABC ธรรมดา จะออกแบบเปน A ANT มด B Bird นก เปน ตน เราเชอ่ื วา สอ่ื การสอนบนผนงั เหลา น้ี
จะชว ยใหนองๆ เหน็ แลว จำไดงา ย เปนจติ วิทยางา ยๆ ท่ีทำใหเขาจดจำและเกิดการเรียนร”ู

สำหรับกิจกรรมที่ขาดไมไดคือ การสอนศิลปะ ครั้งนี้นอกจากกิจกรรมศิลปะบำบัดผานการวาดภาพตาม
จนิ ตนาการและฝกการนำเสนอแลว พวกเขายังเพิม่ เตมิ กจิ กรรมทนี่ องๆ สามารถตอยอดไปสกู ารทำเปนอาชีพได

นางสาวนัสรีน เเสงวิมาน นักศึกษาชั้นปที่ 2 สาขาวิชามีเดียอาตส โครงการรวมบริหารหลักสูตรฯ
สมาชิกคายสาดศิลปอาสาพัฒนาชนบท กลาววา เราสอนนองๆ ทำผามัดยอมสีธรรมชาติ ใชสีจากผงขมิ้น
ที่เปนสีธรรมชาติ ราคาถูกและปลอดภัย สอนใหนองๆ ทำเองตั้งแตผสมสี ทำลายผามัดยอม จนออกมาเปนผาเช็ดหนา
หลังจากนั้นก็นำผามัดยอมสวนหนึ่งกลับมาบรรจุแพคเกจ ทำเปนแคมเปญเพื่อจำหนาย แลวนำเงินรายไดไปเปนทุนการ
ศึกษาใหกับเดก็ ๆ

“นอกจากนี้ในคายก็มีสอนศิลปะ วาดภาพ กิจกรรมสันทนาการภูเขาไฟวิทยาศาสตร มีฐานหลอปูนปลาสเตอร
ใหน อ งปน ดนิ นำ้ มนั ตามจนิ ตนาการ เชน รปู สตั ว รปู หวั ใจ แลว กใ็ หน อ งหลอ ปนู ปลาสเตอร ผสมปนู เองนำไปใสใ นแมพ มิ พ
พอเสรจ็ กจิ กรรมชว งกลางคนื กท็ าสตี อ ทส่ี ำคญั เนน ใหเ ดก็ ๆ ออกมานำเสนอผลงาน เพอ่ื ไดเ สนอความคดิ ออกมา ไมอ ยากให
ปดกั้นตนเอง ไดแสดงความคิดความรูสึก เพราะบางทีอยูโรงเรียนนองก็โดนกีดกัน โดนลอ เพราะวาเขาไมใชคนไทย”
20 มดอาสา บนั ทึกบทเรยี นการพฒั นาการศกึ ษา

ทวา เหนอื อน่ื ใด สง่ิ ทส่ี รา งรอยยม้ิ และเสยี งหวั เราะใหเ ดก็ ๆ ไดม ากทส่ี ดุ กลบั เปน การพาพวกเขาออกไปทศั นศกึ ษา
ทำกิจกรรมสนุกๆ กบั พๆ่ี อาสาสาดศิลปฯ ณ หาดสวนสนประดิพัทธ อำเภอหัวหิน จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ

สุธิดา เลาวา แมนองจะอยูในพื้นที่ซึ่งติดทะเลอยูแลว แตปหนึ่งๆ ไดออกไปเที่ยวนอยมาก สวนมากใชชีวิตแค
บานพักพิงฯ เพราะลุงแซมเพียงคนเดียวไมสามารถพาเด็ก 20-30 คน ออกไปเที่ยวได เกรงวาจะดูแลไมทั่วถึง แตใน
คา ยอาสามี 60-70 คน ทช่ี ว ยกนั ดแู ลได โดยเดก็ ทกุ คนจะไดร บั ผา พนั คอเปน สญั ลกั ษณ มกี ารสรา งเขตกน้ั ไมใ หอ อกนอก
พ้นื ที่ ซึง่ ทกุ คนกย็ ินดที ำตาม “สิ่งที่เราเห็นจากแววตา รอยย้ิม สัมผัสไดเลยวาพวกเขามคี วามสุขมากๆ”

ในวนั สดุ ทา ยกอ นกลบั นอกจากกจิ กรรมสง ความสขุ ทพ่ี ๆ่ี ไดร วบรวมหนงั สอื ยา อาหารแหง อปุ กรณก ารเรยี น
เสื้อผา และเครื่องใชตางๆ สงตอถึงมือนองๆ แลว ลุงแซมและเด็กนักเรียนบานพักพิงฯ ยังไดรวมกันรองเพลงและแสดง
รำกระทบไมท ไ่ี ดฝ ก กนั เพือ่ ขอบคุณทุกคนอยางนาประทับใจ

“ลุงแซมเลนกีตาร รองเพลงภาษาถิ่นเหมือนเปนการอวยพรใหพวกเรา แลวนองๆ ก็ยังเขียนการดมอบใหเรา
เปน ทร่ี ะลกึ ซง่ึ ไดเ หน็ กอ็ ม่ิ ใจ เปน ความจรงิ ใจจากเดก็ คนหนง่ึ ทห่ี ยบิ ยน่ื ใหเ รา ซง่ึ เรากเ็ กบ็ ไวต ลอด เหมอื นเราไดค วามรสู กึ ดๆี
กลับมา มนั มีคณุ คาตอ จติ ใจ แลวกเ็ ปน แรงผลกั ดันในการเตรยี มจดั คายในปตอๆ ไปดวย” นัสรนี กลา ว

ขณะที่ นายวิชยุตม สุขสิน นักศึกษาชั้นปที่ 2 สาขาวิชามีเดียอาตส โครงการรวมบริหารหลักสูตรฯ
สมาชิกคายสาดศิลปอาสาพัฒนาชนบท พูดถึงความรูสึกที่ไดเขารวมกิจกรรมวา ความสุขจากการใหนั้นมีคามากกวา
ความสขุ จากการรบั ถา เปน ไปไดอ ยากใหน อ งๆ ไดร บั การศกึ ษาทด่ี กี วา น้ี เพอ่ื พวกเขาจะไดม พี น้ื ฐานชวี ติ ทด่ี ขี น้ึ และสามารถ
นำไปพฒั นาชมุ ชนของตนเองตอไปได

ผลลพั ธจ าก ‘ศลิ ปะอาสา’ แมไ มอาจประเมินคาดวยวตั ถสุ ิ่งของ แตค ณุ คา ท่ยี ง่ิ ใหญค อื เรอื่ งราวทส่ี ง ผาน
รอยยิ้ม สีหนา และแววตา ที่เหมือนจะบอกกลาววา...คายนี้ไมไดเพียงแคสาดศิลป แตยังสาดความสุขไปถึงเด็กๆ
ทกุ คนในบานหลงั เล็กท่ีเคยถูกมองขามไป

มดอาสา บนั ทกึ บทเรียนการพัฒนาการศึกษา 21

04
กีฬาไม่ใช่แค่ยาวิเศษที่ทําให้ร่างกายแข็งแรง หลายคร้ังกีฬา
ยงั ถกู ใชเ้ ป็นเคร่ืองมอื ในการสานต่อความฝันสรา้ งแรงบนั ดาลใจ
ให้กับผคู้ นได้อยา่ งไม่นา่ เชือ่

หลายปก อ นระหวา งทท่ี มี ฟตุ บอลของมหาวทิ ยาลยั ก็จะวางมาก พออยูป 3 ไดเปนประธานชมรมฟุตบอล
เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบรุ ี กำลงั มงุ มน่ั กบั การแขง ขนั ผมกเ็ ลยคดิ วา จำนวนคนในชมรมกเ็ ยอะ เรานา จะทำอะไร
เพอ่ื ควา ชยั ชนะ คำวา ‘แบง่ ปนั ’ ไดจ ดุ ประกายบางอยา งขน้ึ ไดม ากกวา เตะบอล ถา เราสามารถเอาจดุ เดน ของพวกเรา
ในหัวใจ ‘นุก’ หรือ นายอภิเดช ประทุมคำ ซึ่งปจจุบัน ไปทำอะไรที่พอจะชวยเหลือนองๆ ที่ดอยโอกาสบางก็คง
ศึกษาอยูชั้นปที่ 5 ภาควิชาครุศาสตรเครื่องกล คณะ จะดี ก็เลยเขียนโครงการเสนอผูอำนวยการสำนักงาน
ครุศาสตรอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี เริ่มตั้งคำถาม กจิ การนกั ศึกษาดู ซ่งึ ทานกส็ นบั สนุน”
กบั ตวั เองวา คนกฬี าอยา งพวกเขาจะทำอะไรเพอ่ื สงั คมไดบ า ง
หลงั จากปรกึ ษาหารอื เพอ่ื นๆ และรนุ พท่ี เ่ี คยทำคา ยมากอ น โรงเรียนเล็กๆ ในตำบลไลโว อำเภอสังขละบุรี
เขาจึงริเริ่มโครงการค่ายกีฬาอาสาพัฒนา พื้นที่สุดเขตแดนจังหวดั กาญจนบุรตี ดิ กับประเทศเมียนมา
โรงเรียนชนบท ที่ขับเคลื่อนโดยชมรมฟุตบอลเปน คือสนามแหงแรกของชาวคายที่เต็มไปดวยความทาทาย
คร้งั แรก และแมจะเปนหนาใหมในกิจกรรมคายอาสา พวกเขา
กไ็ มห วนั่ ไหวขอใชห วั ใจใหญๆ เปน ใบเบิกทาง
“ผมเตะบอลเปนนักกีฬามหาวิทยาลัยตั้งแตป 1
ซง่ึ แตล ะทวั รน าเมนตจ ะไมน านเทา ไหร แลว พอชว งปด เทอม “ในโครงการแรกหลกั ๆ ทท่ี ำเลยกค็ อื สนามตะกรอ
ซง่ึ ตรงนน้ั เปน ทเ่ี ขา แถวของเดก็ ๆ ดว ย หนา ฝนจะเปน โคลน

22 มดอาสา บันทกึ บทเรยี นการพฒั นาการศึกษา

‘นกุ๊ ’

นายอภเิ ดช ประทมุ คำ

ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

และเทคโนโลยี

แลวเด็กจะเขาแถวไมได เราก็ไปทำเหมือนลานกีฬา
อเนกประสงค แลวก็มีทาสีอาคารเรียน จากนั้นก็จัด
กิจกรรมสอนทักษะฟุตบอล ซึ่งเปนสิ่งที่เราถนัดและเปน
จดุ เดน ของคา ยเรา”

อภิเดช บอกวานอกจากความตั้งใจที่จะซอมและ
สรางพื้นที่สันทนาการใหกับนองๆ แลว เขาแอบหวังวา
กจิ กรรมนจ้ี ะสรา งแรงบนั ดาลใจโดยเฉพาะในดา นการกฬี า
ใหกับเด็กที่ขาดโอกาส เหมือนครั้งหนึ่งสมัยที่เขายังเปน
เดก็ นกั เรยี นในจงั หวดั ขอนแกน แลว มนี กั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั
มาสรางหองสมุดนำของมาบริจาค มันทำใหเขาคิดวา
เมอ่ื โตขึ้นอยากเปนแบบนบี้ าง

ทวา มากไปกวาการสงตอแรงบันดาลใจใหกับ
เดก็ ๆ ในชนบททหี่ างไกล กจิ กรรมคร้ังนน้ั ยงั เปด มมุ มอง
ใหรุนนองในชมรมไดเห็นความสำคัญของการมีจิตอาสา
‘นวิ ’ นายวรี นนั ท ดวงแข นกั ศกึ ษาชน้ั ปท ่ี 4 ภาควชิ า
วิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร
ประธานโครงการคา ยกีฬาอาสาพฒั นาโรงเรียนชนบท
ปที่ 3 เลาถึงความรูสึกในฐานะคนที่เขามารับไมตอวา

มดอาสา บนั ทกึ บทเรยี นการพัฒนาการศกึ ษา 23

‘นวิ ’

นายวรี นนั ท์ ดวงแข

ภาควิชา
วิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ

คณะวิศวกรรมศาสตร์

“ผมมีโอกาสไปรวมคายชมรมฟุตบอลครั้งที่ 2 10 กวาชนิ้ เรากต็ องทำใหมท งั้ หมด โชคดที ไ่ี ดน องจาก
ที่จังหวัดนครนายก ซึ่งคายนี้นอกจากจะไปจัดกิจกรรม ครศุ าสตรฯ วิศวกรรมศาสตร ซงึ่ เชื่อมเปนมาทำ”
ที่โรงเรียน ก็ไดไปทำกิจกรรมชวยเหลือผูพิการ ผูปวย
ตดิ เตยี ง และผปู ว ยตดิ เชอ้ื เอชไอวี ซง่ึ เรากไ็ มน กึ วา จะขนาดน้ี หนึ่งในชาวคายที่มีความถนัดในงานชางและ
คดิ วา แคไ ปทาสอี าคาร แตพ อไดท ำอะไรแบบน้ี ทำใหร สู กึ วา ลงมอื ทำอยา งไมย อ ทอ กค็ อื ‘เพยี ว’ นายชลตั เอย่ี มนม่ิ
ทเ่ี ราเปน อยทู กุ วนั นก้ี ด็ มี ากแลว ยง่ิ พอเหน็ นอ งๆ เตะลกู บอล นักศึกษาชั้นปที่ 2 ภาควิชาครุศาสตรเครื่องกล คณะ
เกา ๆ กบั พน้ื ดนิ เละๆ ทำใหเ ราอยากมาแบง ปน มากกวา นอ้ี กี ครุศาสตรอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี เขาเลาถึงที่มา
กเ็ ลยทำคา ย 3 ข้นึ มา ซึง่ ครัง้ นผ้ี มเปน ประธานคา ย” ของการเขา รว มกจิ กรรมวา หลงั จากเขา ชมรมฟตุ บอลไมน าน
ทราบจากรุนพี่วามีคายกีฬาอาสาพัฒนาโรงเรียนชนบท
คา ยครง้ั ลา สดุ เนน การสานตอ กจิ กรรมทโ่ี รงเรยี นเดมิ โดยสวนตวั เปน คนที่อยากนำสิ่งทไี่ ดเ รียนมาไปชว ยคนอื่น
นน่ั คอื โรงเรยี นวดั โคกลำดวน จงั หวดั นครนายก เนอ่ื งจาก อยแู ลว กเ็ ลยตัดสนิ ใจเขารวม
ทางสำนกั งานกจิ การนกั ศกึ ษาตอ งการใหเ กดิ ความตอ เนอ่ื ง
และเกดิ ผลอยา งเปน รปู ธรรม สำหรบั กจิ กรรมหลกั ๆ มี 3 อยา ง “กอ นหนา นผ้ี มเรยี นชา งมา กอ็ ยากเอาสง่ิ ทเ่ี รยี น
คือ ปรับปรุงแปลงเกษตร ปรับปรุงสนามวอลเลยบอล มาไปพัฒนาในที่ที่เขาลำบาก อยางตอนที่ไปนครนายก
และปรบั ปรงุ สนามเด็กเลน ของเลน ทกุ ชน้ิ ใชง านไมไ ดเ ลย ไอท พ่ี งั กพ็ งั เละไปเลย ผมก็
เอาทเ่ี ละมาตดั ตอ ตดั เชอ่ื มใหเ ปน ของเลน ชน้ิ ใหมท เ่ี อามา
“เราไปอยู 5 วนั 4 คนื อนั นก้ี ค็ อ นขา งหนกั หนอ ย ทำเลนได มีรูมีอะไรก็เชื่อมไมใหน้ำเขา เก็บรายละเอียด
เพราะวา มคี นไปแค 25-30 คน แตท ำทง้ั หมด 3 อยา ง เพราะของเลน เด็กจะตองมีความปลอดภัยไวกอ น
เลยมีทำโอทีดวย พอกินขาวเย็นเสร็จก็จะใหผูชายกลับไป
ทำงานตอถึง 3-4 ทุม ในสวนของแปลงเกษตร เราก็ แลวผมกไ็ ดไปสอนพนื้ ฐานของฟตุ บอลดวย สอน
ชวยกันถางหญา พรวนดิน ทุบอิฐที่ชำรุดแลวก็กอใหม เขาเคาะบอล เตะบอล เพราะวา เดก็ วยั นท้ี ำอะไรไมไ ดม าก
ทาสี สวนสนามวอลเลยบอล เดิมเปนพื้นปูนเฉยๆ ก็ทำ กวานี้ สวนใหญเปนเด็ก ป.3-ป.6 โรงเรียนเขาก็พอมี
ความสะอาด ทาสีรองพื้น ตีเสนสนามวอลเลยบอล อปุ กรณก ฬี าอยบู า ง แตไ มเ พยี งพอ เรากเ็ อาอปุ กรณไ ปดว ย
แลวก็ตีเสนสนามตะกรอไวขางใน สวนที่หนักสุด คือ สอนทักษะงายๆ ชวนเขามาเตะบอลกับเรา อยากใหเขา
สนามเด็กเลน ที่ของเลนชำรุดหมด เปนของเลนใหญๆ มีแรงผลักดันถาเขาฝนจะเปนนักฟุตบอลหรือนักกีฬา”

24 มดอาสา บนั ทึกบทเรยี นการพฒั นาการศึกษา

‘เพี ยว’ “รสู กึ ดใี จทอ่ี ยา งนอ ยตวั เองกเ็ ปน ประโยชนต อ ผอู น่ื
ผมไมเคยทำอะไรแบบนี้มากอน พอมาไดทำมันก็รูสึกดี
นายชลตั เอยี่ มนม่ิ เปลี่ยนจากมุมมองเมื่อกอน คือเมื่อกอนผมจะไมสนใจ
เรอ่ื งอะไรแบบนค้ี รบั พอไดม าทำกค็ ดิ อยากจะทำตอ ไปเรอ่ื ยๆ
ภาควิชา เห็นคนอืน่ ยิม้ แลวมคี วามสุข หายเหนอื่ ย”
ครุศาสตร์เครื่องกล
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม เชน เดยี วกบั ความรสู กึ ของประธานคา ยทง้ั สองคน
ที่ปลื้มใจกับผลลัพธของกิจกรรมในแตละครั้ง โดยอภิเดช
และเทคโนโลยี กลาวเพิ่มเติมวา สิ่งที่เขาประทับใจอีกอยางหนึ่งคือความ
สามัคคีรวมแรงรวมใจของคนในชมรมฯ ที่ทำใหกาวขาม
ชลัตบอกวาการไดไปทำกิจกรรมรวมกับเพื่อนๆ ขดี จำกดั ตา งๆ ไปได
นอกจากจะทำใหไ ดใ ชค วามรทู เ่ี คยเรยี นมาอยา งเตม็ ทแ่ี ลว
ยงั ไดเ รยี นรกู ารทำงานรว มกบั คนอน่ื รวมถงึ การแกป ญ หา “อยางคนที่ไมเคยไปคาย ไมเคยไปแบบนี้เลย
ซง่ึ ประสบการณเ หลา นส้ี ามารถนำมาปรบั ใชใ นชวี ติ ประจำวนั บางคนก็คอนขางคุณหนู แตเขาก็ดีใจที่ไดมา เหมือนได
และชวี ติ การทำงานในอนาคตได แตส่งิ ทมี่ ีคาเหนอื อนื่ ใด สรางแรงบันดาลใจใหเขาไปอีก คือไมใชแคเราสรางแรง
สำหรบั เขา คอื ความรสู กึ ภมู ใิ จในตวั เองทไ่ี ดช ว ยเหลอื คนอน่ื บันดาลใจใหเด็กๆ แตเด็กๆ ก็สรางแรงบันดาลใจใหเรา
แตละวันที่ใชเวลาอยูที่นั่น การไดเห็นรอยยิ้มของนองๆ แลวก็เหมือนเปนการละลายพฤติกรรมระหวางเพื่อนๆ
ทำใหนึกถึงวันเกาๆ ในฐานะเด็กตางจังหวัดที่เคยไดรับ ทอ่ี าจจะมพี น้ื ฐานการใชช วี ติ มมุ มองตา งกนั เวลาไดไ ปทำ
การชวยเหลอื จากสังคมมากอ น กจิ กรรมรว มกนั กไ็ ดส รา งความสามคั คใี หก บั เพอ่ื นๆ ทง้ั ใน
ชมรมฯ แลว ก็ตา งชมรมฯ ดวย”

ขณะที่ วีรนันท เอยถึงแววตาและความมุงมั่น
ของเพอ่ื นและนอ งๆ ทม่ี าชว ยกนั ทำงาน ซง่ึ ยงั เปน สง่ิ ทอ่ี ยู
ในใจเสมอ “ตอนนน้ั กด็ กึ มากแลว ทง้ั ๆ ทก่ี เ็ หนอ่ื ยมาทง้ั วนั
อาจจะอยากไปพักไปนอน แตก็ไมมีใครบน ทุกคนก็ตั้งใจ
ชว ยทำ เรากร็ ูสึกประทบั ใจ”

หากนบั ว่านีค่ ือความสําเร็จ ส่ิงตอบแทนสูงสุดของความทุม่ เททงั้ หมดนี้
คงไมม่ ีอะไรมากไปกวา่ ความสุขทเี่ กิดจากการให้และความภาคภมู ิใจ
ทไี่ ดส้ ่งตอ่ แรงบันดาลใจให้กับคนในสังคม

มดอาสา บันทึกบทเรยี นการพฒั นาการศกึ ษา 25

Created by Jcomp - Freepik.com

KMUTT

05 Friendster
เพ่ื อนรกั นักจติ วทิ ยา

'เพราะเป็นวยั รนุ่ จงึ เจ็บปวด' คือชอ่ื หนังสือขายดีท่บี างคน

อาจนึกแย้งอยู่ในใจว่าเปน็ ไปได้อยา่ งไร

ภาพที่หลายคนนึกถึงชีวิตวัยรุนโดยเฉพาะในรั้วมหาวิทยาลัย นอกจากการเรียนแลว ก็คง
จะเปนมิตรภาพใหมๆ และความสนุกสนานตามวัย แตรูหรือไมในวัยที่เต็มไปดวยการเปล่ียนแปลง
ทงั้ ทางรา งกายและจติ ใจ สภาพแวดลอ มใหมค อื บรบิ ททางสงั คมทพ่ี วกเขาตอ งเผชญิ อยา งหลกี เลย่ี งไมไ ด

บางคนปรับตัวไดดี แตยังมีอีกมากท่ีปรับตัวไมได ดวยวุฒิภาวะทางอารมณพวกเขาไมรูวิธี
ท่ีจะรบั มือกับปญหาตา งๆ ท้งั เรื่องเรียน เรอ่ื งเพ่ือน และเร่อื งความรกั การตอ งเก็บงาํ ปญหาไวใ นใจ
สะสมเปนความเครยี ด บางคนทุกขหนักจนกลายเปน ภาวะซึมเศรา

ทวา ทางออกเลก็ ๆ ของพวกเขาไมใ ชก ารปรกึ ษาพอ แมผ ปู กครอง ครบู าอาจารย หรอื แมแ ต
นักจิตวิทยา กลับเปน “เพ่ื อน” เทาน้ันท่ีไดรับความสําคัญในฐานะท่ีปรึกษา ดวยเหตุผลน้ี
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบรุ ี จงึ ไดจ ดั โครงการ KMUTT Friendster : เพ่ือนรกั
นักจิตวิทยา เพ่ือใหนักศึกษามีความรูทางดานจิตวิทยา เปนแนวทางในการดูแลปองกัน
และสามารถคัดกรองเพ่ือนนักศึกษาท่ีมีแนวโนมจะมีปญหาสุขภาพจิตในดานตางๆ รวมไปถึงการ
ฝก ฝนทกั ษะท่จี าํ เปน ในการชวยเหลือเพอื่ นนกั ศกึ ษาดวยกันไดอ ยางถกู ตอ ง
26 มดอาสา บันทกึ บทเรียนการพฒั นาการศึกษา

นางสาวสกลุ การณ คงจนั ทร หรอื สมใจ นกั ศกึ ษา ‘สมใจ’
ชั้นปที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะ
วศิ วกรรมศาสตร สมาชกิ โครงการ KMUTT Friendster : น.ส.สกลุ การณ์ คงจนั ทร์
เพอ่ื นรกั นกั จติ วทิ ยา เลา วา สาเหตทุ ส่ี นใจเขา รว มโครงการฯ
เพราะมองวาความรูดานจิตวิทยาจะชวยใหเขาใจคนอื่น ภาควิชา
ไดม ากขน้ึ พดู และเขา กบั คนอน่ื ไดง า ยขน้ึ และทส่ี ำคญั คอื วิศวกรรมส่ิงแวดล้อม
มีเพื่อนและคนรอบขางหลายคนอยูในภาวะซึมเศราและ คณะวิศวกรรมศาสตร์
เปน โรคซมึ เศรา จงึ คดิ วา โครงการฯ น้ี สามารถตอบโจทย
เราใหช ว ยดแู ลเพอ่ื นๆ และพดู คยุ เปน ทป่ี รกึ ษาใหแ กเ พอ่ื นๆ ได สกลุ การณ เลา วา ชวี ติ การเรยี นมธั ยมกบั มหาวทิ ยาลยั
แตกตา งกนั ชดั เจน การเขา เรยี นมหาวทิ ยาลยั ป 1 เปน
ทงั้ น้ี ผลการสาํ รวจนกั ศกึ ษาทม่ี คี วามตอ งการพเิ ศษ จดุ เปลยี่ นทงั้ เรอื่ งการเรยี นและเรอื่ งเพอื่ น ตอ งมาอยหู อใน
จากอาจารยท ป่ี รกึ ษาวชิ าการ รวมถงึ สถติ กิ ารขอรบั บรกิ าร ตองมาอยูกับเพ่ือนรวมหอง 2 คน ซึ่งบางคนมีเซฟโซน
คําปรึกษาของนักศึกษา โดยสํานักงานกิจการนักศึกษา ของตัวเองมากๆ ก็จะไมเปดตัวเอง ปดก้ัน กลายเปน
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบรุ ี พบวา มนี กั ศกึ ษา ปญ หาความขดั แยง ในหอ งพกั ไมพ ดู ไมค ยุ กนั เมอื่ มาเรยี น
จํานวนไมนอยที่กําลังเผชิญสภาวะปญหาทางสุขภาพจิต นอกจากเรียนหนักมากขึ้น บางคนเปนเด็กเรียนมากๆ
โดยสาเหตุสําคัญของการขอรับบริการ คือปญหาความ อยากเรียนอยางเดียว ไมชอบทํากิจกรรม ซึ่งป 1
เครียดจากการปรับตัว การเรียน บุคลิกภาพ และการ กิจกรรมเยอะมาก เกิดความอึดอัดใจ สวนพี่ปโตๆ
เปลย่ี นแปลงทกี่ ระทบตอ รา งกาย จติ ใจ อารมณ และสงั คม มักเปนปญหาการเรียน ปญหากับเพ่ือนเสียสวนใหญ
ซ่ึงสงผลใหนักศึกษาขาดความสุขในการใชชีวิตในร้ัว
มหาวิทยาลัย และขาดความสุขในการเรียนรู นับวาเปน มดอาสา บนั ทึกบทเรียนการพัฒนาการศึกษา 27
ปญหาสําคัญทางสุขภาพจิตที่จําเปนตองใหการชวยเหลือ
กอ นทจี่ ะเกดิ ปญ หาทางสขุ ภาพจติ ดา นอนื่ ๆ ทร่ี า ยแรงตามมา

KMUTT Friendster
เพ่ือนรกั นกั จติ วทิ ยา

“เพอ่ื นบางคนเวลาพดู คยุ เขาจะชอบทกั วา เราไป เลาวา เมื่อไดลองผันตัวมาเปนผูฟงที่ดี ผลตอบรับเหนือ
ทําอะไรเธอหรือเปลา พูดอะไรไมหรือเปลา จะคอนขาง ความคาดหมายมาก เพราะเพื่อนดูสบายใจ และมีความ
ระแวงนิดนึงวาคําพูดของเขาจะมาทํารายเรา หรือสงผล ไววางใจเธอในฐานะที่ปรกึ ษามากขึ้น
ไมด กี บั คนอน่ื เหมอื นเขาแครค นอนื่ มากไป จนเกบ็ ทกุ อยา ง
มาไวท ตี่ วั เอง แลว กเ็ ครยี ด ซง่ึ มเี พอ่ื นหลายคนมากทเ่ี ปน “ยกตัวอยาง เพ่ือนคนหนึ่ง เขามักเปนคนกลาง
แบบน้ี ขณะท่ีเพื่อนบางคนมีปญหาท่ีสะสมมานานแลว ระหวา งเพอ่ื นทไ่ี มช อบกนั ทกุ คนกจ็ ะมาคยุ กบั เขา แลว เขา
เชน เรอื่ งครอบครวั เพอื่ น ความรกั ซง่ึ โครงการฯ นจี้ ะชว ย เปน คนทไ่ี มค อ ยปฏเิ สธคนอน่ื สดุ ทา ยกลายเปน เกบ็ ปญ หา
แนะนาํ วา เราควรปรบั ตวั และรบั มอื กบั ปญ หาเหลา นยี้ งั ไง” ของทุกคนมาไวกับตัวเอง เครียด พอไดคุยกับเขา เราก็
พยายามรบั ฟง แนะนาํ ใหเ ขาทาํ สงิ่ ทส่ี บายใจ และถา มปี ญ หา
ในชว งแรกของโครงการฯ กลมุ งานพฒั นาคณุ ภาพ อะไรกใ็ หม าพดู คยุ กบั เราไดต ลอด ซงึ่ เราเองกพ็ ยายามชวน
ชีวิตและสรางการมีสวนรวม สํานักงานกิจการนักศึกษา เขาคยุ อาทติ ยห นงึ่ จะหาเวลาไปนงั่ คยุ กนั ถามเขาวา วนั น้ี
รวมกับกลุมงานบริการสุขภาพและอนามัย จัดกิจกรรม มปี ญ หาอะไรบา ง มอี ะไรเลา ใหฟ ง หรอื เปลา พยายามเปน
บรรยายใหความรูดานการดูแลสุขภาพจิตแกสมาชิก ผรู บั ฟง ทด่ี ี เพอื่ ใหเ ขาไดร ะบาย ซง่ึ เขากร็ สู กึ ดขี นึ้ ทไี่ ดพ ดู คยุ
ซงึ่ เปน นกั ศกึ ษาชน้ั ปท ี่ 1-3 จากทกุ คณะ จาํ นวน 30 คน กบั เรา เพราะเมอ่ื กอ นเขาเปน หนกั กวา นมี้ าก พอมเี ราชว ย
เพอื่ สรา งทกั ษะการเปน ผใู หค าํ ปรกึ ษาทด่ี แี กเ พอื่ นนกั ศกึ ษา รับฟง เขาเร่ิมผอนคลาย ปรับตัว และเร่ิมเปลี่ยนเปลง
และบุคคลรอบขาง กลาท่ีจะหลีกเลี่ยง ไมเอาตัวเองเขาไปเผชิญสถานการณ
ทจ่ี ะทาํ ใหเ ขาเครยี ดมากขนึ้ แลว กไ็ วใ จกลา พดู กลา ปรกึ ษา
“การเป็นผู้รับฟังที่ดี และการเก็บ กบั เรามากขนึ้ ”

รกั ษาความลบั คอื หวั ใจสาํ คญั ทนี่ กั จติ วทิ ยา การตอ งมารบั ฟง ความทกุ ขข องคนอนื่ สาํ หรบั ใคร
หลายคนอาจเปน เรอ่ื งนา เบอ่ื เสยี เวลา หรอื รสู กึ วา ปว ยการ
แนะนาํ ให้พวกเราใชเ้ วลาเจอใครทีม่ ีปัญหา” ทตี่ อ งมาแบกอารมณค วามรสู กึ ผอู นื่ ไว แตส าํ หรบั สกลุ การณแ ลว
สกลุ การณ กลาว กอ นจะเลา ตอวา พอไดฟง นักจติ วทิ ยา การไดคลายความทุกขใหเพ่ือน คือความสุขใจที่เธอไดรับ
แนะนาํ กอ็ อ เลย กอ นหนา นเี้ ราทาํ ไมถ กู นะ สมยั กอ นเวลา
มใี ครมาปรกึ ษา เราจะแสดงความคดิ ของเรา พดู แขง กบั เขา “เราไมเ คยรสู กึ เบอ่ื ทต่ี อ งรบั ฟง ปญ หาของพวกเขาเลย
ซ่ึงนักจิตวิทยาบอกวา เราควรรับฟง ไมควรไปช้ีทางเขา เพราะวา เขาคอื เพอ่ื น เราไมอ ยากเหน็ เพอื่ นมแี ตค วามทกุ ข
หรือพูดแขงกับเขา และไมแสดงความคิดเห็นของเราวา เวลาเขาไมสบายใจ เราเห็นก็ไมสบายใจ คือถาคนใด
คดิ อยา งไร คนหนึ่งทุกขก็จะทุกขไปกันหมด แตถาสุข ทุกคนก็จะ
มคี วามสุข เรากม็ คี วามสขุ ดว ย”
เมอื่ ไดเ คลด็ วชิ า ถงึ เวลาทลี่ องปรบั ใช สกลุ การณ

28 มดอาสา บันทกึ บทเรยี นการพัฒนาการศึกษา

‘แบงค’์

นายกติ ตโิ ชค เตชะยรรยง

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

เชนเดียวกับ นายกิตติโชค เตชะยรรยง หรือ ที่รุนแรง ก็จะนําไปปรึกษานักจิตวิทยาเพ่ือหาแนวทาง
แบงค นักศึกษาชั้นปที่ 1 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ แกปญหาอกี ทหี น่งึ ”
สาขาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร สมาชกิ อกี คนของโครงการ
KMUTT Friendster : เพอ่ื นรกั นกั จติ วทิ ยา ทไ่ี มเ พยี ง นบั ตง้ั แตก อ ตัง้ โครงการฯ ไมใ ชแคค นใกลช ดิ ของ
สุขใจกับการชวยรับฟงปญหาของเพื่อนในมหาวิทยาลัย เพื่อนรักนักจิตวิทยากลุมน้ีเทานั้นท่ีไดรับความรูสึกดีๆ
แตยังไดใชความรูชวยเหลือคนใกลตัวและเพื่อนตาง จากพวกเขา นักศึกษาท่ีอาสามารับฟงปญหาของเพื่อนๆ
มหาวทิ ยาลยั ดวย เหลาน้ีก็ไดรับผลตอบแทนเปนความภูมิใจและความรูที่
สามารถนําไปปรบั ใชในชีวิตประจาํ วนั ดวย
“เรมิ่ แรกผมสมคั รเขา รว มโครงการฯ เพราะอยาก
ใชเวลาวางใหเปนประโยชน ประกอบกับเริ่มสังเกตเห็น “เวลาชว ยใหเ ขาหายทกุ ขไ ด เรากอ็ มิ่ เอม ดใี จครบั
เพื่อนบางคนดูมีปญหา แตก็ไมกลามาปรึกษาเราตรงๆ แลว การทาํ ตรงนก้ี ท็ าํ ใหเ ราไดเ พอ่ื นใหม สงั คมใหมๆ มาดว ย
บางคนอยใู นมหาวทิ ยาลยั ดสู ดใส รา เรงิ ไมม อี ะไร แตพ อ ในขณะเดยี วกนั เราสามารถพฒั นาจติ ใจ อารมณข องตนเอง
อยใู นโซเชยี ลเปน อกี แบบเลย บน ระบายปญ หาเตม็ ไปหมด ไดเ ชค็ อารมณต วั เองวา เราโอเคมยั้ ถา อยตู รงน้ี หรอื วา ถา เจอ
พอหลังจากเขาโครงการฯ ก็ไดชวยรับฟงปญหาเพื่อนใน สถานการณแ บบนีเ้ ราจะทํายังไง” กติ ติโชค กลา ว
มหาวิทยาลัยบาง ตางมหาวิทยาลัยบาง ถึงจะชวยแก
ปญหาใหเขาไมได แตอยางนอยเขาก็รูสึกไดปลดปลอย ไมตางจากความรูสึกของสกุลการณท่ีมองยอน
มาแลว สว นหนง่ึ ไมว า จะโกรธเกรย้ี ว หรอื เสยี ใจมาจากไหน กลับไปที่ตัวเองวา “แตกอนเราปนคนไมคอยมีเหตุผล
พอเขาไดร ะบายออกมาสกั นดิ หนอ ยกจ็ ะดขี นึ้ แตห ากเคสไหน ตอนนกี้ เ็ ปน คนทร่ี ะมดั ระวงั คดิ รอบดา นมากขน้ึ เมอื่ กอ น
อยากทําอะไรก็ทําเลย อยากพูดอะไรก็พูดเลย โดยไมได
สนใจวาจะกระทบใคร ตอนนี้ก็คิดใหรอบคอบมากข้ึน”

บางทนี ีอ่ าจจะเป็นจดุ เล็กๆ ทีท่ ําให้เพ่ื อนรักนกั จติ วทิ ยาคือทปี่ รึกษาทใี่ ครๆ ก็ไวใ้ จ
และเป็นจุดเร่มิ ตน้ ทชี่ ่วยแบ่งเบาความทุกข์ในรวั้ มหาวิทยาลัยใหผ้ อ่ นคลายลงไปได้บ้าง

มดอาสา บันทึกบทเรยี นการพัฒนาการศึกษา 29

Free Photo By Stockvault

06อาสาก้ภู ยั ...
KMUTT EMS Volunteer

ทนั ทที ปี่ ลายสายแจง้ นกั ศกึ ษาไดร้ บั บาดเจบ็ ทโี่ รงยมิ กลมุ่ นกั ศกึ ษาอาสากชู้ พี
ทยี่ นื เตรยี มพรอ้ มในจดุ สนบั สนนุ รบี ควา้ กระเปา๋ พยาบาลและอปุ กรณม์ งุ่ ตรงไปยงั
สนามกีฬา พบผู้บาดเจ็บนอนอยู่บนพื้น ขาขวากระดูกหักบิดเบี้ยวและมีกระดูก
บางส่วนทม่ิ ออกมาจากผวิ หนงั สาเหตจุ ากการหกลม้ ขณะแขง่ กฬี า พวกเขารบี
เข้าปฐมพยาบาล ทําการห้ามเลือด ให้ออกซิเจนเพ่ือให้ผู้บาดเจ็บหายใจสะดวก
ก่อนนําอุปกรณ์มาหนุนรองและดามกระดูกขาที่หักไว้ไม่ให้เกิดการขยับเขยื้อน
พรอ้ มเรง่ ประสานรถพยาบาลกชู้ พี โรงพยาบาลบางปะกอกมารบั ตวั ผบู้ าดเจบ็ ...

นคี่ อื หนงึ่ ในปฏบิ ตั กิ ารกชู้ พี ผบู้ าดเจบ็ ในมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี
ที่กลุ่มนักศึกษาอาสากู้ภัย ภายใต้ช่ือ KMUTT EMS Volunteer ยังจําได้ดี และเป็น
อีกครั้งที่ยํา้ เตือนว่า เพ่ื อภารกิจนี้พวกเขาต้องพร้อมอยู่เสมอ
30 มดอาสา บันทึกบทเรยี นการพฒั นาการศกึ ษา

‘กสั ’ ‘เสอื ’ ‘แนน’

นายอธษิ ภยิ โยดลิ กชยั นายวรี ศิ ปานฤทธ์ิ น.ส.นฤภร สมนั ตธนกลุ

ภาควิชา ภาควิชา ภาควิชา
วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และ วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และ
วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
โทรคมนาคม โทรคมนาคม
สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะวิศวกรรมศาสตร์

‘กนั ’ ‘ไมค’์

นายกญั จณ์ หรง่ิ รอด นายอธษิ ภยิ โยดลิ กชยั

ภาควิชา ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และบรรจุภัณฑ์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
‘เบยี ร’์ และเทคโนโลยี

นายกฤษดา รตั นมาลยั ‘เบนซ’์ ‘เตง้ิ ’

ภาควิชา นายพงศกร เลศิ พิรยิ ะสกลุ กจิ นายอดลุ ยเ์ ดช สระสำราญ
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชา ภาควิชา
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการพิมพ์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

และเทคโนโลยี

เบอรโ์ ทร KMUTT EMS Volunteer กอตั้งเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม
ฉกุ เฉนิ 2558 จากการริเริ่มของผูอำนวยการสำนักงานกิจการนักศึกษา โดยเปน
การรวมตัวกันของนักศึกษาที่มีประสบการณดานการใหการชวยเหลือสังคม
9090 และผา นการฝก อบรม EMR จากโรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร รวมไปถงึ หลกั สตู ร
การอบรมตา งๆ ไมว า จะเปน การฝก อบรมกชู พี ทางนำ้ , กภู ยั อสี านใต, หลกั สตู ร
การดับเพลิงขั้นพื้นฐาน, การฝกอบรมการดูแลที่เกิดเหตุและวัตถุพยาน
กองพสิ จู นห ลกั ฐาน, หลกั สตู รการปฐมพยาบาลขน้ั พน้ื ฐาน รวมถงึ ประสบการณ
ดา น lifeguard และประสบการณจ ากการทำงานกบั หนว ยกชู พี เพอ่ื คอยดแู ล
ใหค วามชว ยเหลอื นกั ศกึ ษา บคุ ลากร และประชาชนในพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ในกรณี
ที่เกดิ อบุ ตั ิเหตหุ รือเจ็บปว ยฉุกเฉนิ เพอ่ื ลดการสูญเสียท่อี าจเกิดข้ึนได

นายกฤษดา รตั นมาลยั หรอื เบยี ร นกั ศกึ ษาชน้ั ปท ่ี 3 ภาควชิ า
วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร คณะวศิ วกรรมศาสตร ประธานโครงการ KMUTT
EMS Volunteer เลายอนถึงแนวคิดเริ่มตนของโครงการฯ วา เนื่องจาก
ตนเองทำงานเปน พนกั งานกชู พี อยแู ลว มแี รงบนั ดาลใจจากการเดนิ ทางบอ ยๆ
และพบเห็นอุบัติเหตุ ซึ่งหลายครั้งทำไดแคยืนมองแตชวยอะไรไมได จึงเริ่ม
สนใจศึกษาและทำงานกูชีพมาเรื่อยๆ กระทั่งเขามาเรียนในมหาวิทยาลัย
ชั้นปที่ 1 สังเกตเห็นรถพยาบาลของมหาวิทยาลัย ทำไดเพียงนำคนบาดเจ็บ
สง โรงพยาบาล มคี นขบั รถ และมแี ค รปภ. นง่ั ไปกบั ผบู าดเจบ็ ดว ย จงึ คดิ วา
ทำอยา งไรจะใชงานรถพยาบาลไดเ ตม็ ประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ

“ผมมงุ หวงั อยากใหใ ชร ถพยาบาลไดเ ตม็ ศกั ยภาพสงู สดุ มเี จา หนา ทก่ี ชู พี
มบี คุ ลากรทม่ี คี วามรู ดแู ล ปฐมพยาบาลนกั ศกึ ษาไดต ง้ั แตจ ดุ เกดิ เหตุ ขน้ึ รถพยาบาล
และระหวา งนำสง โรงพยาบาล เลยลองปรกึ ษากบั ทา นผอู ำนวยการสำนกั งาน

มดอาสา บันทกึ บทเรยี นการพฒั นาการศึกษา 31

กิจการนักศึกษา ถึงแนวทางการจัดทำโครงการ “เคสที่พวกเราเขาไปชวยเหลือสวนใหญจะเปน
KMUTT EMS Volunteer เพอ่ื นำความรทู ท่ี ำงานดา นกชู พี อาการปว ยจากภาวะเครยี ด ลมชกั และภาวะ Hyperven-
มาชวยเหลือเพื่อนๆ ซึ่งชวงแรกไดลองจัดทีมทำงาน มี tilation Syndrome” น.ส.นฤภร สมนั ตธนกลุ นกั ศกึ ษา
อาสาสมคั รอยู 3 คน ปรากฏวา ไดร บั การตอบรบั เปน อยา งดี ชน้ั ปท ่ี 2 ภาควชิ าวศิ วกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ ละโทรคมนาคม
และมีโอกาสไปนำเสนอสิ่งที่เราทำใหทานอธิการบดี คณะวศิ วกรรมศาสตร สมาชกิ KMUTT EMS Volunteer
มหาวิทยาลัย ซึ่งทานก็เห็นดวย และยินดีที่จะสนับสนุน
ใหทำโครงการฯ” กลาว พรอมอธิบายวา Hyperventilation Syndrome
เปน ภาวะทเ่ี กดิ จากความเครยี ด อาการทเ่ี กดิ ขน้ึ คอื หายใจ
KMUTT EMS Volunteer เปด ตวั ทมี งาน หอบเร็ว หนามืด ใจสั่น มีอาการเกร็ง มือจีบเทาจีบ
และเจา หนา ทใ่ี นงาน KMUTT SAFETY COMMITMENT DAY เกิดจากปริมาณคารบอนไดออกไซดในเลือดลดลง ทำให
เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2559 พรอมเบอรโทรฉุกเฉิน เสน เลอื ดหดตวั
9090 ซง่ึ ในขณะนน้ั มนี กั ศกึ ษาทเ่ี ปน อาสาสมคั ร จำนวน
3 คน ทวาเพียงไมนานพลังอาสาไดผลิดอกออกผลจน “มคี รง้ั หนง่ึ ไปงาน meeting แลว เพอ่ื นเกดิ อาการ
ปจ จบุ นั มสี มาชกิ ทผ่ี า นการอบรมการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน Hyperventilation มอื จบี เทา เกรง็ ซง่ึ ตอนนน้ั เราอยพู อดี
และการเคลื่อนยายผูปวย สามารถเขาปฎิบัติหนาที่ เลยรบี เอาถุงพลาสติกครอบทีจ่ มกู และปาก เพื่อใหเขาสดู
ประจำแลว จำนวน 10 คน อกี ทง้ั ยงั มนี กั ศกึ ษาทเ่ี ขา รว ม หายใจเอาคารบ อนไดออกไซดเ ขา ไปในรา งกายเพม่ิ มากขน้ึ
อบรมเพื่อปฎิบัติหนาที่เปนหนวยพยาบาล ประจำชมรม กช็ ว ยไดท นั ถา เราไมอ ยตู รงนน้ั กอ็ าจเกดิ ความชลุ มนุ วนุ วาย
คา ยอาสา และกจิ กรรมตา งๆ ของภาควชิ า จำนวน 150 คน และเพอ่ื นจะเปน อยา งไรกไ็ มร ู ทำใหร สู กึ ดใี จวา สง่ิ ทเ่ี ราได
เรียกไดวาไมเ พียงมีทีมทเ่ี ขมแข็ง ยังมคี วามพรอ มในดา น เรยี นรมู าเปน ประโยชน ชว ยเหลอื เพอ่ื นเราได เปน เคสหนง่ึ
การปฐมพยาบาลเบ้ืองตนเปนอยางดี ทีป่ ระทับใจ”

“การทำงานของ KMUTT EMS Volunteer แบง
ออกเปน 2 แบบ แบบแรกคือในวันธรรมดาทั่วไปที่ไมมี
กจิ กรรมสำคญั จะจดั ระบบคเู วรปฎบิ ตั งิ านในมหาวทิ ยาลยั
เพอ่ื ดแู ลนกั ศกึ ษาและบคุ ลากรบนโรงยมิ และหอ งปฏบิ ตั งิ าน
ของทีม KMUTT EMS Volunteer วันละ 2 คน โดย
จะเริ่มงานชวง 16.00-21.00 น. ตอจากชวงเชาที่มี
เจา หนา ทพ่ี ยาบาลทำงานอยแู ลว แบบท่ี 2 คอื ชว งเวลา
ทมี่ กี จิ กรรมพเิ ศษ เชน งานกฬี า จะจดั แบง ทมี ไปประจำ
ตามจดุ เสย่ี งตา งๆ เพอ่ื คอยสนบั สนนุ เมอ่ื เกดิ เหต”ุ กฤษดา
อธิบาย

สวนลำดับขั้นตอนการทำงาน คือเมื่อเกิดเหตุมี
ผูปวยหรือไดรับบาดเจ็บ จะมีการแจงมายังสำนักงาน
กิจการนักศึกษา หรืองานรักษาความปลอดภัย เพื่อ
ประสานไปยงั KMUTT EMS Volunteer ใหส ง เจา หนา ท่ี
เขา ปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน และประเมนิ สถานการณ ในกรณี
บาดเจ็บรุนแรงตองดูวาสงโรงพยาบาลไดเอง หรือตอง
เรียกรถพยาบาลซึ่งมีอุปกรณที่ครบครันกวาเขามารับตัว

32 มดอาสา บนั ทกึ บทเรยี นการพฒั นาการศึกษา

หลายคนอาจมองวาผูหญิงไมเหมาะกับงานกูภัย เพราะเปนงานหนัก
และอาจตอ งพบผบู าดเจบ็ รนุ แรง เรอ่ื งนน้ี ฤภรบอกวา แมจ ะเปน ผหู ญงิ กไ็ มไ ด
รูสึกมีขอจำกัดหรืออุปสรรคในการทำงาน เพราะคิดวาทุกอยางอยูที่ใจ หาก
ใจกลาพอก็กลาที่จะชวยเหลือผูอื่น และสิ่งที่ไดรับกลับมานั้นก็ถือวาคุมคา

“สิ่งที่ไดจากการเขารวมโครงการฯ นอกเหนือไปจากความรูในการ
ปฐมพยาบาล และการใชอุปกรณตางๆ อยางถูกวิธี คือความสุข ยิ่งเมื่อคน
ที่เราชวยเขาหายแลวมาขอบคุณเรา เปนความสุขใจที่หาจากที่ไหนไมไดเลย”

เชน เดยี วกบั นายอดลุ ยเ ดช สระสำราญ นกั ศกึ ษาชน้ั ปท ่ี 2 ภาควชิ า
วศิ วกรรมไฟฟา คณะวศิ วกรรมศาสตร ทเ่ี ลา วา การเปน สมาชกิ KMUTT EMS
Volunteer ไมเพียงทำใหเขาอิ่มใจทุกครั้งที่ไดชวยเหลือผูอื่น แตยังทำใหชีวิต
ในร้วั มหาวทิ ยาลัยมคี ุณคา และความหมายมากยิ่งขึ้น

“เพอ่ื นบางคนมามหาวทิ ยาลยั อาจจะมงุ ไปทก่ี ารเรยี นอยา งเดยี ว แตว า
ในชีวิตคนจริงๆ การไดชวยคนอื่น รักษาชีวิตคนเปนเรื่องสำคัญ การที่เรา
ไดม โี อกาสเรยี นรเู รอ่ื งการปฐมพยาบาล รจู กั การใชย าทห่ี ลากหลายและไดฝ ก
การใชอุปกรณตางๆ อยางถูกตอง ทำใหเราสามารถนำความรูตรงนี้ไปใช
ชว ยเหลอื คนอ่นื ๆ ดวย มนั ทำใหเราไดใชเ วลาอยางคุมคามากขึ้น”

ขณะทส่ี มาชกิ KMUTT EMS Volunteer อกี หลายคนบอกวา การไดก า ว
มาเปนอาสากูภัย ไมเพียงเสริมสรางความมั่นใจในตัวเอง ยังปลุกความกลา
ในการออกมาชว ยเหลือผอู ่ืนใหเ พ่มิ มากขน้ึ ดว ย

นายอธษิ ภยิ โยดลิ กชยั นกั ศกึ ษาชน้ั ปท ่ี 3 ภาควชิ าเทคโนโลยกี ารพมิ พ
และบรรจภุ ณั ฑ คณะครศุ าสตรอ ตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี เลา วา ในอดตี
ตนเองไมก ลา ทจ่ี ะชว ยเหลอื คนอน่ื เพราะเคยมปี ระสบการณต รง คอื คณุ ตาลม
ลงไปตอหนา แตทำอะไรไมไดเลย “สิ่งที่ผมไดรับจากการเขาโครงการฯ นี้
คอื ทำใหผ มมคี วามกลา มากขน้ึ กลา ทจ่ี ะชว ยเหลอื คนอน่ื กลา ทำในสง่ิ ทต่ี วั เอง
ไมเ คยทำ”

เกอื บ 3 ป แลว ทโ่ี ครงการ KMUTT EMS Volunteer ไดม โี อกาส
ชวยเหลือผูอื่นมากมาย กฤษดา กลาววา รูสึกดีใจที่โครงการฯ เกิดขึ้นและ
เติบโตมาถึงวันนี้ แม KMUTT EMS Volunteer จะเปนกลุมอาสาเล็กๆ
ในรั้วมหาวิทยาลัย แตพวกเขาก็หวังวาในยามที่เกิดการเจ็บปวยหรืออุบัติเหตุ
ตางๆ จะมีสวนชวยใหทุกคนไดรับการดูแลอยางถูกตอง เพื่อลดการบาดเจ็บ
หรอื ภาวะแทรกซอ นท่อี าจเกิดขึน้ ได

เพราะความปลอดภัยคือหัวใจของ KMUTT EMS

Volunteer และกลุ่มนักศึกษาที่มีหัวใจอาสาเหล่านี้

ก็พร้อมอุทิศเวลาเพ่ื อช่วยดูแลความปลอดภัยให้แก่

เพ่ื อนและบุคลากรในมหาวิทยาลัยอย่างเต็มใจและ

เต็มกําลัง

มดอาสา บนั ทึกบทเรียนการพัฒนาการศึกษา 33

จกั รกริช ฝ้ ันสาย
‘do something ไมด่ ูดาย’
07
แม้เบ้ืองหน้าคือ นํ้าคลองสีดําและสกปรก พ้ื นคลองเต็มไปด้วย
กระเบ้ืองมากมายแตภ่ าพของหญงิ สาวเน้อื ตัวถลอกจากความพยายาม
ปีนขึ้นมาจากนํ้ากําลังนั่งร้องไห้ ขอความช่วยเหลือให้ช่วยเก็บกระเป๋า
ที่ใกล้จมเต็มที ทําให้ ‘กริช’ ตัดสินใจกระโดดลงนํา้ ไปช่วย โดยไม่คิดถึง
ความปลอดภัยของตนเอง

34 มดอาสา บันทึกบทเรียนการพฒั นาการศึกษา

“ไปถึงเห็นแตคนมุงแตไมมีใครลงไปชวย ตอนนั้นคิดแควาตองชวยเขา
อยางเดียวเลยครับ” จักรกริช ฝนสาย หรือ กริช นักศึกษาสาขาวิศวกรรมไฟฟา
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี กลาวพรอ มเลา
ยอนถึงเหตุการณวา วันนั้นเปนกิจกรรมบางมดเฟส ‘เมด-อิน-บางมด’ เปนโครงการ
พัฒนาพื้นที่ริมคลองเปนทางจักรยาน จัดที่วัดพุทธบูชา ซึ่งบายวันนั้นระหวางที่
ขี่จกั รยานขนของไป ก็เจอเด็กผูห ญงิ ประสบอุบัติเหตจุ กั รยานลม ตกน้ำพอดี

“ทางเดินเลียบคลองวัดพุทธบูชาแคบมากครับ ซึ่งจุดนั้นเปนเนิน นองเขา
ปนขึ้นทางชันไมไหว รถจักรยานก็เลยไหลยอนลงมา แลวก็ลม นองเขาตกน้ำ
พรอมสัมภาระทั้งหมด ซึ่งเขาพยายามปนขึ้นมาบนฝง ตอนที่ผมไปเจอเขาขึ้นมา
จากน้ำแลว กำลังนั่งรองไหอยากไดของที่ตกน้ำอยู ก็ไมเห็นใครลงไปชวย บางคน
ก็ไลฟสดบาง วินาทีนั้นผมตัดสินใจจอดรถ ถอดกางเกงยีนสออก เหลือแตบ็อกเซอร
กับเสื้อนักศึกษา แลวก็กระโดดลงไปในคลองเลย ไปชวยเอากระเปาขึ้นมากอน
แลวก็กลับไปงมหาโทรศัพท ซึ่งน้ำคอนขางจะดำและลึก ตอนนั้นผมก็ภาวนาในใจ
วาขอใหเจอโทรศัพท พองมไปสักพักหนึ่งก็เจอโทรศัพทจริงๆ ก็เอามาใหเขา
ซึ่งเขาตกใจอยู ทำอะไรไมถูก ก็ขอบคุณ ผมก็ชวยเขาขึ้นมาที่ริมทางเดิน เริ่มมีคน
เขา มาชว ยปฐมพยาบาล”

เมื่อถามวาดวยสภาพน้ำในคลองวัดพุทธบูชาที่คอนขางสกปรกเปนสีดำ มีหินคอนกรีตและกระเบื้องมากมาย
ไมกลัววาจะเปนอันตรายหรือไดรับบาดเจ็บบางหรือ จักรกริช ตอบดวยเสียงหนักแนนวา "ไมเลยครับ ตอนนั้นคิดถึง
แตส ง่ิ อยตู รงหนา รแู ตว า หากชว ยเขาไดก ต็ อ งชว ยเทา นน้ั ...ไมไ ดค ดิ อะไรเลย เรอ่ื งวา จะสกปรกหรอื ดำอะไร แตผ มรสู กึ วา
สบายใจมากกวาท่ีไดชว ยเขา แคชวยเขาไดเ ราก็โอเคแลว ครับ”

หวั ใจอาสาของจกั รกรชิ ไมไ ดม ีเฉพาะการชว ยเหลอื เด็กประสบเหตุตกน้ำเทานน้ั แตเ ขายังมีใจอาสาชว ยเหลอื ผูอื่น
อยูตลอดเวลา สว นหนึง่ เพราะดว ยความสุขใจทรี่ บั และการปลูกฝงจากครอบครวั

“ผมเองมาจากบา นนอกครบั สงั คมบา นนอกเปน ครอบครวั ใหญ เขาจะชว ยเหลอื กนั ทกุ อยา ง ผมกเ็ หมอื นถกู ปลกู ฝง
มาใหเ ปน คนทพ่ี รอ มชว ยเหลอื คนอน่ื ทส่ี ำคญั ทกุ ครง้ั ทไ่ี ดช ว ย ผมรสู กึ สขุ ใจครบั เราไมไ ดช ว ยเพราะหวงั ผลประโยชนอ ะไร
แตมันเปนจิตใตสำนึกมาจากตัวเราเอง ที่ทำแลวสบายใจ ซึ่งปกติถามีเวลาก็จะชอบชวยเหลืองานตางๆ ซึ่งผมอยูชมรม
ไฟฟา วชิ าการ เวลามหาวทิ ยาลยั มงี านกจ็ ะไปชว ยประดบั ไฟแสงสี ไปชว ยขนของตดิ ตง้ั ทกุ อยา ง แลว กไ็ ปออกคา ยอาสาบา ง
สว นเรอ่ื งการชว ยเหลอื ทเ่ี กย่ี วกบั ความเปน ความตาย กเ็ คยมชี ว ยเหลอื คนทบ่ี า นตา งจงั หวดั โดนไฟดดู แลว กม็ รี นุ พช่ี ว ยกนั
ติดไฟประดับ ปนเสาเวที โดนไฟดูดเพราะวาไฟร่ัว

การช่วยเหลือคนอ่ืน ทําให้เรามองคนในมุมมองทีด่ ี และเวลา
ทีเ่ ราเดือดร้อน ทุกคนก็พร้อมทีจ่ ะช่วยเราเช่นเดียวกันครับ”

มดอาสา บันทกึ บทเรยี นการพฒั นาการศกึ ษา 35

08‘พะองเหล็กปนี ตาล’
ผลงานสร้างสรรคส์ านตอ่ ภมู ิปัญญา
นาํ้ ตาลโตนดเมอื งเพชรบรุ ี ขนึ้ ชอ่ื เรอ่ื งของความหวาน หอม ไมเ่ หมอื นใคร เปน็ อาชพี

ทสี่ รา้ งรายไดใ้ หช้ าวบา้ นอยา่ งมาก แตน่ า่ เสยี ดายทนี่ บั วนั ภมู ปิ ญั ญาการทาํ นาํ้ ตาลโตนดแทๆ้

จะเลือนหายไปทุกที ด้วยอาชีพการทําตาลโตนดเป็นงานที่มีความยากลําบากและเสี่ยง

อยา่ งมากในการปีนเก็บนาํ้ ตาล โดยแทบทุกปีมีข่าวคราวผูเ้ สียชวี ิตหรือพิ การจากการตก

ตน้ ตาลอยบู่ อ่ ยครงั้ ทวา่ ลา่ สุดกลมุ่ นกั ศึกษาจากมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี

ได้รวมตัวกันอาสาพั ฒนานวัตกรรม ‘พะองเหล็กปีนตาล’ เพ่ื อสืบสานภูมิปัญญา เพ่ิ ม

ความปลอดภยั ใหช้ มุ ชน

นายวิริยะ ปาลวัฒน หรือ คลาส นักศึกษา “ผมกบั พๆ่ี เพอ่ื นๆ ในคณะ 5 คน กเ็ ลยมารว ม
ชน้ั ปท ่ี 3 ภาควชิ าวศิ วกรรมไฟฟา คณะวศิ วกรรมศาสตร ทำโครงการนี้ ตอนแรกที่ไดโจทยก็คิดวาในเมื่อใชคนปน
หัวหนาโครงการพัฒนาพะองเหล็กปนตาล เลาถึงที่มา ตนตาลที่สูงมากๆ มีความเสี่ยง ก็นาจะใชวิธีอื่นแทน

ของโครงการวา ดว ยมหาวทิ ยาลยั เหน็ ถงึ ปญ หาของชาวบา น ไอเดยี แรกเลยออกมาเปน ไมส อยทป่ี รบั ระดบั ความยาวไดถ งึ

ชุมชนทำน้ำตาลโตนด อำเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี 12 เมตร และมนี ำ้ หนกั เบา เพอ่ื ใชเ กบ็ นำ้ ตาลแทน แตพ อ

ทใ่ี ช ‘พะอง’ ซง่ึ เปน ไมไ ผป า ทม่ี ตี าสลบั กนั ซา ยขวาปน เกบ็ ไดลงพื้นที่ชุมชนครั้งแรก พบวาสิ่งที่คิดมาใชไมไดเลย

น้ำตาลโดยไมมีความปลอดภัย จึงเปดรับไอเดียนักศึกษา เพราะกรรมวธิ กี ารเกบ็ นำ้ ตาลมคี วามละเอยี ดซบั ซอ นมาก

ในการแกไขปญ หาใหชุมชน เชน กอนจะเก็บน้ำตาล ชาวบานตองปนขึ้นไปบีบนวด

36 มดอาสา บันทึกบทเรียนการพฒั นาการศึกษา

งวงตาลกอ น เพอ่ื ใหน ำ้ ตาลออกมาเยอะๆ ซึง่ การบีบ
ก็ตอ งมหี ลกั การ ถา บีบแรงไปน้ำตาลก็จะไมไ หลออกมา
เหมือนมนั เจบ็ ขณะทก่ี ารปาดงวงตาลกไ็ มใ ชปาดยงั ก็ได
ถา เผลอไปปาดผดิ น้ำตาลกจ็ ะไมไ หลออกมา หมายความวา
ยงั ไงชาวบา นก็ตองปนตนตาลอยูด ี”

พะองท่ีทำจากไมไผ แมจ ะเปนเคร่อื งมือทีเ่ สยี่ ง
อนั ตราย แตเ ปน วถิ ีชาวบานทมี่ ีการใชส บื ตอ กนั มานาน
หลายสบิ ป การนำนวตั กรรมทแ่ี ตกตา งไปจากเดมิ เขา มา
อาจไมเ ปน ทย่ี อมรบั ซง่ึ นน่ั คอื ความทา ทายแรกในการออกแบบพฒั นา

“จากการพูดคุยกับชาวบาน พบปญหาหนึ่งเลยคือการ
เปลย่ี นความคดิ ของชาวบา นเปน สง่ิ ทย่ี ากมาก คอื ถา เขาไมค นุ เคย
กับสิ่งที่เราเอาเขาไป ไมมั่นใจ เขาจะเลือกใชของเดิมดีกวา
พวกเราก็เลยตองพยายามออกแบบอุปกรณใหเหมือนกับพะอง
แบบเดิม เพอ่ื คงวิถชี ีวติ แบบเดมิ ใหมากทสี่ ดุ แตส ิง่ ที่เพ่มิ เตมิ คือ
ตองทำใหแขง็ แรงและมคี วามปลอดภัย”

จากการระดมความคิดทั้งในทีมงาน ชาวบาน และ
อาจารยที่ปรึกษา ทำใหพวกเขาพัฒนา พะองเหล็กพรอมระบบ
safety ออกมาไดส ำเร็จ

“เราเลอื กทำพะองเหลก็ เพราะตอ งการใหม คี วามแขง็ แรงคงทน โดยแกนกลางทำจากเหลก็ กลอ ง
และออกแบบฐานเหยียบเปนแทงเหล็กที่ยื่นออกมาซายขวาคลายกับตาของไมไผ ซึ่งแทงเหล็กที่ใชเปน
เหล็กขอออยที่รับน้ำหนักไดมากกวา 80 กิโลกรัม สวนความหางของตาไดมีการวัดเทียบเฉลี่ยจากตา
ของไมไผป าเพ่อื ใหส ะดวกตอ การปนของชาวบา นจรงิ ๆ”

นอกจากความแข็งแรง พวกเขายังเพิ่มความปลอดภัยใหกับพะองเหล็กดวยการพัฒนาระบบ
safety เพอ่ื ปอ งกนั คนตก นายคทาณฐั รตั มณนี าวา หรอื ไปป นกั ศกั ษาชน้ั ปท ่ี 3 ภาควชิ าวศิ วกรรม
ไฟฟา คณะวศิ วกรรมศาสตร สมาชกิ โครงการพฒั นาพะองเหลก็ ปน ตาล กลาววา ไดเสนอไอเดยี ในการ
ทำระบบ safety โดยออกแบบตรงสวนพะองเหล็กที่ดานหนาใหมีรางและลูกเลื่อน อาศัยความรูในเชิง
ฟส กิ ส ประกอบกบั การไดเ หน็ งานลกั ษณะนม้ี าพอสมควรจงึ นำมาประยกุ ตใ ชก บั การผลติ พะองเหลก็ ปน ตาล

“สำหรับกลไกการทำงานของระบบ safety จะมีลักษณะเปนลอวิ่งขึ้นลงตามราง และมีเชือก
safety รัดที่เอว ถาคนปนขึ้นปนลงปกติ ตัวลูกเลื่อนจะอยูดานลางของตัวผูปน เทากับวาจะมีเชือกดึง

บานพับใหปดอยู ทำใหล กู เลอ่ื นสามารถเลอ่ื นข้นึ -ลงไดเปนปกติ
เหมอื นคนปน ลากตวั ลกู เลอ่ื นขน้ึ ลงดว ยเทา นน้ั เอง แตเ วลาคนปน
ตาลพลดั ตก มนั จะมแี รงกระชาก เชอื กทด่ี งึ ขน้ึ มนั จะเปลย่ี นมา
ดงึ ลง เพราะมนั จะดงึ บานพบั ใหก างออก แลว กจ็ ะไปลอ็ กกบั ระบบ
safety บนราง ทำใหดึงคนใหคางอยูบนนั้นได จากนั้นเขาจะ
สามารถประคองตวั เองและปน กลับลงมาไดอ ยา งปลอดภัย”

มดอาสา บันทึกบทเรยี นการพัฒนาการศกึ ษา 37

“ในสว นของฐานเหยยี บ เปน อกี สง่ิ หนง่ึ ทต่ี อ งคำนงึ
ถึงความแข็งแรงอยางมาก การเชื่อมฐานเหยียบกับตัว
พะองเหลก็ จากภายนอกมโี อกาสแตกหกั ได เลยใชเ ทคนคิ
เจาะรบู รเิ วณผวิ ขา งของเหลก็ แกนกลางใหม ขี นาดพอดกี บั
การสวมของเหล็กขอออย แลวเชื่อมยึดบริเวณผิวรอยตอ
ทั้งสอง ซึ่งวิธีนี้จะทำใหฐานเหยียบรับน้ำหนักไดดีขึ้น
เกดิ ความมัน่ คงแข็งแรงมากกวาเช่ือมทีผ่ วิ ของเหล็กกลอง
เพยี งอยา งเดยี ว”

ปจจุบัน ‘พะองเหล็กปนตาล’ ไมเพียงถูกนำไป
ตดิ ตง้ั ใชง านจรงิ แลว ทช่ี มุ ชนทำนำ้ ตาลโตนด อำเภอบา นลาด
จงั หวดั เพชรบรุ ี นวตั กรรมชน้ิ นย้ี งั ไดร บั รางวลั ชมเชย การ
ประกวดสง่ิ ประดษิ ฐค ดิ คน ทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ประจำป พ.ศ. 2560
ในงาน Thai tech Expo 2017 จัดโดย กระทรวง
วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และรางวลั เหรยี ญทองแดง จาก
การประกวดโครงการ “รางวลั นกั คดิ ส่ิงประดษิ ฐ์
รุ่นใหม่” ประจําป 2561 ในงาน “วันนักประดิษฐ”
จัดโดย สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
ซึ่งพวกเขาบอกวารางวัลคือความสําเร็จและคําชื่นชมคือ
กําลังใจ แตสิ่งท่ีไดรับจากการทําโครงการฯ นี้ คือ
ความสขุ จากการไดช ว ยเหลอื ชมุ ชน และเพม่ิ พนู ทกั ษะชวี ติ

ไมเ พยี งเรอ่ื งของการออกแบบทต่ี อ งใหค วามสำคญั
แลว การผลิตช้นิ งานจรงิ ตองอาศัยความรู เทคนิคตา งๆ
เพื่อใหพะองเหล็กมีความแข็งแรงและปลอดภัยมากที่สุด

นายธนนิ เหลาตลุ าการ หรือ แซม นกั ศึกษา
ชั้นปที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและเมคคา
ทรอนิกส คณะวิศวกรรมศาสตร สมาชิกโครงการ
พฒั นาพะองเหลก็ ปน ตาล กลา ววา ในกระบวนการผลติ
ชิ้นงานมีสวนที่ตองใชเทคนิคหลายอยาง เชน เรื่องของ
ตัวพะองที่ใชจริงมีความสูงมากกวา 10 เมตร ยากตอ
การประดิษฐและขนสง เมื่อนำขอจำกัดนี้ไปปรึกษารุนพี่
สดุ ทา ยจงึ ออกแบบใหส ามารถถอดประกอบได โดยใชน อ็ ต
เปนตัวยึด ซึ่งนอกจากจะถอดได พับได ยังสามารถ
เคลอ่ื นยา ยไดส ะดวก ขณะเดยี วกนั กม็ คี วามแขง็ แรงทนทาน
สำหรบั การใชงานดว ย

38 มดอาสา บนั ทกึ บทเรยี นการพฒั นาการศกึ ษา

คทาณัฐ กลาววา ตอนแรกที่ลงพื้นที่ ชาวบาน วิริยะ เลายอนถึงตอนลงพื้นที่ครั้งแรกๆ และ
เหมือนจะไมเปด รับเทา ไหรถาไมใ ชส ง่ิ ทเ่ี ขาคุนเคย แตพอ ไดม โี อกาสลองปน พะองไมแ บบดง้ั เดมิ วา ปน ไปไดแ ค 4 ขน้ั
ทำเสร็จลงไปติดตั้งก็เห็นวาชาวบานเริ่มสนใจเขามาชวย ประมาณ 2-3 เมตร รูสึกวาไมไหว ไมกลาปนตอ ซึ่ง
เหลือแนะนำ เมื่อนำไปลองปนตาลแลวใชงานไดจริง ไมใชแคคนนอกอยางพวกเขาเทานั้นที่ไมกลา แตคน
ก็รูสึกดีและภูมิใจมากที่สามารถพัฒนาตอยอดความคิด รนุ ใหมใ นพน้ื ทก่ี ไ็ มต า งกนั ทำใหน บั วนั จะยง่ิ หาคนสานตอ
ออกมาเปน ช้ินงานที่ชาวบา นนำไปใชป ระโยชนได อาชีพน้ีไดย ากขนึ้ ทุกที

ดาน ธนิน กลาวเสริมถึงความรูสึกที่ไดรวม “ถาพะองเหล็กที่พัฒนาขึ้นสามารถดึงคนรุนใหม
สรางสรรคผลงานชิ้นนี้วา “สิ่งตางๆ เหลานี้เหมือนเรา ใหก ลา มาใช มาปน เกบ็ นำ้ ตาล เพราะเหน็ ถงึ ความปลอดภยั
ยง่ิ ใหก ลายเปน วา เรายง่ิ ไดร บั การเรยี นในหอ งเรยี นทำให กจ็ ะทำใหค นรนุ หลงั ยงั คงสบื สานอาชพี นต้ี อ ไปได ทส่ี ำคญั
เรามคี วามรตู า งๆ แตก ารทำกจิ กรรมชว ยใหเ รานำความรู ปจจุบันไมไผปาคอนขางหายาก เพราะใชเวลาปลูกนาน
ทีเ่ รยี นมาใชป ระโยชนไดจริง” และไมสามารถเก็บในพื้นที่ปาไดแลวเพราะผิดกฎหมาย
ทำใหในอนาคตอาจจะไมมีไมไผปาใหใชทำพะองอีกแลว
“โครงการฯ น้ี ชว ยพฒั นาทกั ษะความรหู ลายอยา ง
จากการไดลงมือปฏิบัติจริง ทำดวยตัวเอง เลือกวัสดุเอง “นอกจากนั้นก็ยงั เปนการใชค วามรตู อบแทนภาษี
ออกไปหาอุปกรณต ามรานเอง เรียกวา เปนงานทเี่ ราเปน ประชาชนครบั เพราะผมไดร บั ทนุ การศกึ ษามาตง้ั แตม ธั ยม
ผผู ลติ เองทกุ ขน้ั ตอน ทส่ี ำคญั ยงั ไดท ำงานจากโจทยป ญ หา จนถงึ มหาวทิ ยาลยั กเ็ ลยรสู กึ วา เราเอาภาษปี ระชาชนมาใช
จริงของชาวบา น ไดฝ กแกปญหาเฉพาะหนา เหมอื นเปด ทำใหไดเรียนตามที่หวัง ดังนั้นถามีอะไรที่ตอบแทนได
โลกเราไปอกี แบบหนึ่งเลย” นำความรูความสามารถไปชวยเหลือสังคม ชุมชน หรือ
แมแตมหาวิทยาลยั ได เราก็จะทำ”
นอกจากนแ้ี ลว พวกเขายงั หวงั วา พะองเหลก็ ปน ตาล
ผลงานจากความตั้งใจของนักศึกษากลุมเล็กๆ จะเปน
ฟนเฟองหน่ึงท่ีชวยสบื ทอดภมู ิปญ ญาการทำน้ำตาลโตนด
ใหเ ปนอาชพี ทม่ี ัน่ คงของชมุ ชนแหง นตี้ อไป

นทั แมค ไปป์

คลาส แซม

‘พะองเหลก็ ปีนตาล’ อาจเป็นเพี ยงนวตั กรรมทตี่ อบโจทยช์ าวบา้ นกลมุ่ เลก็ ๆ
แตถ่ อื เปน็ ความสําเรจ็ อนั ย่งิ ใหญข่ องการเป็นนกั ศึกษาทกี่ า้ วขา้ มรวั้ มหาวทิ ยาลยั
ไปแกป้ ัญหาใหส้ ังคมชมุ ชน เป็นอกี หนงึ่ ตวั อยา่ งของ ‘เมลด็ พั นธดุ์ ’ี ทไี่ ดร้ บั การบม่ เพาะ

จากมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ แี หง่ นี้

มดอาสา บันทกึ บทเรยี นการพัฒนาการศกึ ษา 39

09
การกลบั มาของ
เคมเอนอาสา

‘ส่งรกั ส่งย้มิ ’
จากจุดเร่ิมต้นเล็กๆ ระหว่างการสนทนา
ของนกั ศกึ ษาภาควชิ าวศิ วกรรมเคมี มหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี อสิ รราช มบี าํ รงุ
และ ภารดี อมรวทิ ยาชาญ ความทรงจาํ เกยี่ วกบั
คา่ ยเคมเอน อาสา ทคี่ รงั้ หนงึ่ เคยเปน็ จดุ รวมพล
ของชาวเคมเอนถูกจุดประกายขึ้นอีกครั้ง
หลงั จากหายไปนานหลายปี

40 มดอาสา บนั ทกึ บทเรยี นการพฒั นาการศึกษา

นางสาวภารดี อมรวทิ ยาชาญ หรือ หลถ่ี งิ นักศกึ ษาชนั้ ปท ่ี 4 ภาควชิ าวศิ วกรรมเคมี
บอกวา แมในชวงเวลา 3-4 ปท่ีศึกษาอยูจะไมไดเห็นคายนี้แลว แตจากคําบอกเลา นี่คือกิจกรรม
ที่ทุกคนภาคภูมิใจและอยากใหเกิดขึ้นอีกครั้ง แตครั้งนี้ซ่ึงเปรียบเสมือนการรีแบรนดคายเดิม
ส่ิงที่เพิ่มเติมขึ้นมาคือคาํ สําคัญทตี่ อ ทา ยวา ‘ส่งรัก ส่งย้ิม’

หลงั จากระดมสมองเตรยี มความพรอ มกนั จนไดข อ สรปุ โครงการเคมเอนอาสา 2561 ตอน
‘ส่งรัก ส่งย้ิม’ มี นายอิสรราช มีบํารุง นักศึกษาช้ันปที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมเคมี เปน
ประธานฯ นางสาวภารดี อมรวิทยาชาญ รับหนาที่ดูแลฝายกิจกรรมสัมพันธฯ โดยเลือกไปทำคาย
กนั ท่ี โรงเรยี นวดั แสนภมุ ราวาส ตำบลเมอื งใหม อำเภอราชสาสน จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา โรงเรยี น
ที่ไมไดไกลปนเที่ยง แตก็แทบจะไมมีสิ่งอำนวยความสะดวกอะไรเลย พวกเขาตองเริ่มตนตั้งแตการ
ชกั ชวนเพื่อนๆ ในคณะ ออกแบบกจิ กรรม สรา งขวญั กำลังใจ ไปจนถึงแกปญ หาตางๆ ทั้งทค่ี าดคดิ
และไมค าดคดิ ซง่ึ สง่ิ ทไ่ี ดร บั ไมใ ชแ คก ารรอ้ื ฟน กจิ กรรมทห่ี า งหายไปนาน แตย งั เปน การสรา งความรกั
ความสามคั คภี ายในคณะ ทวา สง่ิ ทไ่ี ดก ลบั คนื มามากกวา นน้ั คอื รอยยม้ิ ของนอ งๆ นกั เรยี นผขู าดแคลน
ความหวงั ในโรงเรยี นท่ี ‘หลถ่ี งิ ’ ตวั แทนคา ยฯ ผอู าสามาถอดบทเรยี นในครง้ั น้ี เรยี กวา “ไมใ ชไ มม ี
แตไ มไดรบั การพฒั นาสกั ท”ี

Q เท่าที่คุยกันวางแนวทางในการทํา
ค่ายส่งรักส่งย้ิมไว้อย่างไร

วศิ วกรรมเคมเี ปน ภาคทผ่ี หู ญงิ เยอะ ดจู ากศกั ยภาพ
คนในภาคแลว นา จะชว ยในเรอ่ื งขององคค วามรู ทเ่ี รามอง
คอื เรอ่ื งลงไปสอนนอ ง ซง่ึ กอ นจะไปทำคา ย เรามคี นลงไป
สำรวจทโ่ี รงเรยี นกอ น 2 ครง้ั วา ทโ่ี รงเรยี นยงั ขาดอะไรบา ง
พอไปถึงแลวเพิ่งรูวาเปนโรงเรียนที่รวมเด็กพิเศษ มีทั้ง
เด็กสมาธิสั้น ออทิสตกิ คือชาไปเลยกับเรว็ ไปเลย

อีกอยางคือโรงเรียนนี้ไมไดขาดแคลนแตก็ไมใช
โรงเรยี นท่ีมี ทำใหเขาไมไ ดรับการพัฒนาสักที เราไปถึง
ปญ หาแรกแคน ำ้ ใชใ นโรงเรยี นยงั ไมพ อ แคฉ ะเชงิ เทรานะ
เขาบอกวาทอในการเดินน้ำมาขนาดมันเล็กมาก พอน้ำ
เดินทางมา ความดันมันตก กวาจะมาถึงก็ไหลออนมาก
หลักการของโรงเรียนคือตอ งแบง นำ้ ใชเปน เวลา อนบุ าล
ใชน้ำตั้งแต 8.00-10.00 น. เวลา 10.00-12.00 น.
คือประถม เที่ยงหามใชเลยเพราะแมครัวตองใชน้ำ เรา
เลยถามวา ถา 10 โมง เดก็ อนุบาลปวดเขาหอ งนำ้ จะทำ
ยงั ไง เขาบอกไมไ ด ถาใชน้ำจะไมพอ

มดอาสา บนั ทึกบทเรียนการพัฒนาการศึกษา 41

Q ฟงั ดูลําบากและเป็นค่ายที่เพ่ิ งกลับมาทําใหม่
มีวิธีหาคนไปร่วมค่ายอย่างไร

ตอนนั้นไปกันประมาณรอยนิดๆ จากภาควิชาวิศวกรรมเคมีทุกชั้นป แตไมใชทุกคนนะคะ
ตองเปนคนที่สมัครเขามา แตกอนที่จะไปเราอธิบายคนที่จะสมัครกอนวาคุณตองไปเจออะไรบาง
เรากินอยูกันดวยโปรตีนเกษตรทุกมื้อ แมครัวทำเอง เพราะจุดประสงคในการลงพื้นที่คือตองการ
ไปชวยเด็ก ถาเรายิ่งกินสบาย คูณตอมื้อตอหัวตอคนเขาไป มันก็เปนเงินจำนวนหนึ่งนะ แตถาเรา
ยอมอดตรงนี้แลวเอาเงินไปชวยเด็ก มันไดเต็มรอยจริงๆ มันเกิดประโยชนมากกวา แลวทุกคนที่ไป
คายไมมีใครงอแงเรื่องอาหาร เรื่องนอนก็ลำบากนิดหนึ่ง ตองนอนในหองเรียน น้ำเปนสีดำเลย
เอาน้ำคลองมาอาบ

ตลอดระยะเวลา 5 วันที่ไปอยูที่นั่น ก็มีซอมแซมอาคารบาง แตหลักๆ คือสอนหลักการ
เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง สอนปลูกผัก แตเราคิดวาถาปลูกผักแลวหลังจากที่เราไป พอเก็บครั้งแรก
แลว อาจจะไมม คี นทำตอ มนั คอื การลงุ ทนุ ครง้ั เดยี วแลว จบไป เพราะฉะนน้ั ตอ งสอนวา เขาควรทำยงั ไง
ตองสอนองคความรู เปนเรื่องการปลูกฝง มีเด็กอนุบาลถึงประถมเวียนกันมาเขาฐาน พอเรากลับ
มาจากอาสา คณุ ครกู ถ็ า ยภาพมาใหด วู า เดก็ ๆ มกี ารจดั เวรดแู ลแปลงผกั กนั ยงั ไง พอเหน็ วา ผกั โตแลว
รูสึกเลยวาทเี่ ราไปทำมนั เกิดอะไรขึ้น

Q ตอนนั้นคิดไหมว่ามันหนักเกินไปสําหรับเรา
มองวามันเปนงานใหญ เปนงานหนัก แตมันไมหนักเกินไป เราคอนขางเชื่อในทีมงาน การที่เราเอาคนไป
100 คน เปนป 3 จำนวน 25 คน ป 4 ประมาณ 25-30 คน ดวยความที่เราทำงานกันมานานตั้งแตป 1 ใน
กิจกรรมภาควิชาตางๆ แคมองหนากันกับคนที่มารวมมือก็รูแลววาเอาอยู ถาเราทำคนเดียวมันหนักแนนอนคะ แตถา
มองหนาทีมงานคุณภาพที่ผานงานมาดวยกันแลว เราวาเราทำได อีกอยางที่คิดคือเราจะจบไปโดยที่ไมทิ้งอะไรไวให
ภาควชิ าเลยเหรอ สิง่ ทเี่ ราทำมนั มคี ากวาการซอ้ื ของทง้ิ ไว เพราะมนั เปนโครงการ เปน การพฒั นาไมร จู บ

อีกอยางที่ทำใหเราตัดสินใจทำอาสา เพราะมีคนที่ไปคายอาสาใหญไปทีครึ่งเดือน ไมมีสัญญาณโทรศัพทแลว
เด็กบนนั้นลำบากจริงๆ มีเพื่อนคนหนึ่งมาเลาใหฟงวาพี่ที่ทำคายอาสาใหญเขาพูดวา รูหรือเปลาการที่เรามาทำอาสากัน
เราไมไดตองการทำใหโรงเรียนในประเทศไทยมันสูงขึ้น แตเราแคตองการเติมใหโรงเรียนที่ยังไมถึงพื้น ซึ่งทุกวันนี้ยังมี
อยเู ลย เตมิ ใหท กุ โรงเรยี นมนั เทา กนั ไดฟ ง คำนแ้ี ลว เลยคดิ วา มนั ตอ งทำ ถา เราไมท ำหรอื เราไมเ รม่ิ กไ็ มร วู า ในอนาคตนอ งๆ
รุนตอไปจะเอากลบั มาทำไหม

42 มดอาสา บนั ทึกบทเรยี นการพฒั นาการศกึ ษา

Q ถึงตอนนี้ค่ายจบแล้ว คิดว่าอะไรคือ
ส่ิงที่เราได้ทําให้กับเด็กๆ เหล่านั้น

มองวา เปน เรอ่ื งความหวงั ของเดก็ เราเปน เดก็ กรงุ เทพฯ เดก็ ในเมอื ง เลยรสู กึ วา หนา ทข่ี องเราคอื ตง้ั ใจเรยี นหนงั สอื
แตเ ดก็ ทน่ี น่ั ไมม แี มแ ตแ รงบนั ดาลใจในการเรยี นหนงั สอื แคฉ ะเชงิ เทรานะ พอ แมเ ขาขบั รถบรรทกุ บางคนปลกู ขา วทำนา
บางคนมองไมเห็นวาจะเรียนไปทำไม เรียนไปก็ตองไปปลูกขาวทำนา เขามองวาก็แคปลูกขาว ก็ลงไปในนา ไมเห็น
ตองใชส ิง่ ที่เรยี นมาเลย หมายความวาเด็กมองไมเ ห็นความสำคญั ของการศกึ ษา

เรารูสึกวาการที่เครื่องเลนใหมขึ้น อาคารใหมขึ้น ไมสำคัญเทากับการที่เราสามารถบอกเด็กไดวา โลกขางนอก
มันเปนแบบนี้นะ มีแบบนี้นะ การที่หนูเรียนมันสามารถตอยอดไปเปนอะไรไดนะ หนูไมไดตองจบมาแลวขับรถนะ
ในโลกนม้ี วี ศิ วกร มคี รู มหี มอ เดก็ บางคนไมร จู กั วศิ วะนะ เราทำกจิ กรรมมเี รอ่ื งอาชพี ลงไป เราถามวา โตขน้ึ อยากเปน อะไร
มีอาชีพหมอ วิศวกร แอรโฮสเตส มีคุณครู หลายๆ อยาง แลวก็ใหเด็กแตงตัวเปนอาชีพนั้นในฝน พอเราถามเด็กวา
อยากเปน อะไร เด็กบอกผมอยากเปนวศิ วกร อาชีพที่เพง่ิ รูจักวันนีแ้ หละครบั

Q สําคญั ทสี่ ุดคอื การไปสรา้ งแรงบนั ดาลใจ
ให้กับพวกเขา

ใชคะ คือตอนที่เราเรียนในเมืองเราเห็นไดชัดวามี
การทำแล็บวิทยาศาสตร ไดสัมผัสวาผสมนี่นั่นแลวมันออกมา
เปนสง่ิ น้สี งิ่ นัน้ แตมนั เปนส่ิงที่เขาเขา ไมถึง เขาไมร วู า มันมีสิ่งน้ี
อยบู นโลกใบนี้ เขามองไมเ ห็น เหมือนเราเขาไปเปด โลกทัศนว า
อำเภอของหนูเนี่ย ขางนอกเขาเปนกันอยางนี้นะ หนูตองเรียน
ตอ ไปเพ่อื อะไร มนั สำคัญกวา

Q แต่เร่ืองแบบนี้มันต้องมีความต่อเน่ือง
วางแผนต่อยอดโครงการนี้อย่างไร

ผูอำนวยการสำนักงานกิจการนักศึกษาแนะนำวาการที่
เราไปแคส รางแรงบนั ดาลใจไว พอเรากลบั สองวันหลังจากน้นั
นอ งกล็ มื แลว กเ็ ลยแนะนำวา อาจจดั เปน กรปุ ไปทน่ี ท่ี กุ ปห รอื เปลา
ถานองรุนตอๆ ไปทำนะ อาจมีการลงไปติดตามผลงานไหม
แปลงผักเปนยังไง เด็กๆ ความเปนอยูเปนยังไง องคความรู
ดขี ้นึ ไหม

มดอาสา บนั ทกึ บทเรียนการพฒั นาการศึกษา 43

Q อะไรคือความประทับใจที่ได้จากการทําค่ายครั้งนี้
ตอนหลังพอเราไป เด็กๆ ที่โรงเรียนก็แฮปปขึ้น เขามาบอกวาพี่ชิงชามันเลนไดแลว เราไปเชื่อมเหล็กใหเขา
ทาสีใหม สองคือเรื่ององคความรู สามคือเรื่องที่วามีคนรับฟงเขา เด็กก็เขาใจมากขึ้น นี่คือความแฮปปของเด็กๆ ที่โนน

สว นนอ งๆ ป 1 ป 2 ทไ่ี ปรว มคา ย เราพยายามคยุ กนั วา ทเ่ี รามาทำนน้ั คอื อะไร ทำทำไม สง่ิ ทพ่ี อ่ี ยากใหม ตี อ
คืออะไร สรุปก็คือเราไมไดมองวาคายนี้ดีที่สุด แตมันจะตอยอดไปยังไง ถาปหนานองพรอมกวานี้ นองหาสปอนเซอร
ไดมากกวานี้ หรือนองพัฒนาอะไรไดมากกวานี้ นองอาจขยายไปในที่ที่ตองการความชวยเหลือมากกวานี้ เพราะอาสา
ไมใชมองวาตองไปไกลถึงจะดี บางทีการที่เราเอาคนไปเยอะเกินไป ยิ่งไปใชน้ำใชไฟเขา สุดทายมันไมใชจิตอาสา มันไป
ทำลายของเขา ก็บอกนองวา แนวคิดพ่ีเปน แบบน้ีนะ นองๆ กฟ็ ง แลวพดู วา ดว ยแนวคดิ นผ้ี มจะทำตอ ไป

Q ในอีกมุมหนึ่งคิดว่าเราเองได้อะไรกลับมาบ้าง
เราไมเคยคิดวาจะมีเด็กคนไหนที่เรียนหนังสือแลวรูสึกวาการเรียน
มนั ไมส ำคญั มนั ทำใหร วู า ยงั มคี นทล่ี ำบากกวา เรา มคี นทย่ี งั มปี ญ หามากกวา
เราอีกนะ ทั้งครอบครัว บานเขา อาการปวยของเขา มันทำใหรูสึกวา
นอกจากวันนี้ที่เรามีแลว ถาวันหนึ่งเรามีมากพอในการชวยเหลือที่ไมขัดสน
จนเกินไป เราสามารถชวยเขาได มันเปน เหมอื นแรงบนั ดาลใจในการใชชวี ติ

Q จากประสบการณ์มองว่าการมีจิตอาสา
สําคัญอย่างไร
ลดความเหลื่อมล้ำคะ ในประเทศเรามีทั้งคนรวยมาก คนตรงกลาง
คนจน เราอาจจะมองวาที่เรามีมันชวยเหลือเขาไดแลวเหรอ จริงๆ ชวยได
ในสว นทเ่ี ราไมเ ดอื ดรอ น คนละไมค นละมอื ไมอ ยา งนน้ั คนรวยกร็ วยไปเรอ่ื ยๆ
รวยไปเลย มนั เหน็ แกต วั นะ แลว คนขา งลา งทเ่ี ขายงั ไมม แี มแ ตค วามชว ยเหลอื
ในการที่จะผลักดันตนเองขึ้นมาละ คือเขาอาจไมตองการรวยลนฟา แตการ
ที่เราทำใหคุณภาพชีวิตเขาดีขึ้น ถามันมีจิตอาสาอยางนี้เยอะๆ ประเทศไทย
นา จะดขี ้ึนนะ แลวก็เปน สังคมทมี่ คี วามสขุ ขน้ึ

44 มดอาสา บันทกึ บทเรยี นการพฒั นาการศกึ ษา

INTEGRITY RESPECT AND CARE KMUTT student
Code of Honor
CIMOPNRTOINVUEMOEUNSTDO SOMETHING
หลักเกียรติยศของนักศึกษา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี
ไมเพียงมีปรัชญาในการพัฒนานักศึกษาใหเปนบุคคล
ทสี่ มบรู ณพ รอมท้งั ดานวชิ าชพี วิชาการช้นั สงู สติปญญา
รา งกาย สงั คม อารมณ และจติ ใจแลว ยงั ไดม งุ มน่ั สง เสรมิ
ปลูกฝงคุณธรรม จรยิ ธรรม เพ่อื สรา งบัณฑิตทมี่ ีคณุ ภาพ
และคุณธรรม โดยมีการกําหนดพฤติกรรมดานคุณธรรม
และจริยธรรมใหนักศึกษายึดถือและปฏิบัติ ดังนี้

Integrity ยึดมัน่ ในคุณธรรม ยืนหยัดบนความถูกต้อง

นกั ศกึ ษายดึ มน่ั ในคณุ ธรรมความถกู ตอ ง ไมค ดั ลอกงานอน่ื ทไ่ี มใ ชข องตน และตอ งรบั ผดิ ชอบ
ในส่ิงท่ีตนทําไป รวมถึงผลของการกระทํานั้น และปฏิบัติตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย
ดวยความเขาใจในเจตนารมณ

Respect and Care ให้เกียรติและใส่ใจ

นักศึกษาพึงใหเกียรติและใสใจตนเอง ผูอื่น สังคมแวดลอม รับฟงความคิดเห็นท่ีแตกตาง
ไปจากตน โดยเคารพคุณคาของการกระทําท่ีดีและถูกตองเปนหลัก แสวงหาโอกาสในการ
ชว ยเหลือผูอน่ื และสงั คมเสมอ

Continuous Improvement

พั ฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง
นักศึกษาเปนผูที่แสวงหาความรูทั้งในและนอกหองเรียน และใชความคิดเพื่อนำความรูไปใช
ประโยชนเ พอ่ื จะไมใ หม วี ันใดทผ่ี า นไปโดยไมไ ดพัฒนาตนเอง

Do Something ไม่ดูดาย

นักศึกษาจะไมดูดายเมื่อพบการกระทําที่ไมถูกตอง ขัดตอจริยธรรมอันดี ทั้งดานการเรียน
และการใชชวี ติ

มดอาสา บนั ทึกบทเรยี นการพฒั นาการศึกษา 45

Integrity

ยึดมัน่ ในคุณธรรม ยืนหยัดบนความถูกต้อง

นางสาวสุธิดา พรหมเจริญ
(เอิร์ธ)

“Integrity เปนสิ่งทเ่ี ราตองยดึ ถอื อยแู ลว เพราะในดานมเี ดยี อารต
ท่ีเราเรียน ชัดเจนวาเราไมควรคัดลอกงานคนอ่ืน เพราะมันเปน
การทาํ ลายชีวิตนกั ออกแบบ”

นายนิทัศน์ ศรีผ่องงาม
(ปลัก๊ )

“ยึดม่ันในคุณธรรม และยืนหยัดบนความถูกตอง เปนหน่ึงในสิ่งสําคัญท่ีตองยึด
ในการทําคา ย เชน การทาํ คา ยฯ ตองใชเ งนิ และเปน จาํ นวนเงินทมี่ ากพอสมควร
เพราะตองใชสรางอาคาร ผมบอกไดเลยวาถาเราไมมีขอนี้อยู จะไมโปรงใส
เปนไปไมไดเลยท่ีเราจะทําคายใหสําเร็จได ถาเรากาวเขาไปในชุมชนแลว เรา
ไมยึดมั่นในคุณธรรม หากเราไปทําอะไรไมดีกับชาวบาน จะยิ่งตอกยํ้าภาพลักษณ
ไมด ี ที่ทําใหคนบนดอยไมอ ยากสง ลกู ๆ ไปเรยี นขางลาง และเกิดผลตามมาอกี มากมาย”

Respect and Care
ให้เกียรติและใส่ใจ

นายกิตติโชค เตชะยรรยง
(แบงค์)

“ใหเกียรติและใสใจ เปนส่ิงท่ีผมนํามาใชมากที่สุด เพราะวาเราตองใหเกียรติคน
ท่มี ปี ญหา แลวก็คอยดูแลเอาใจใสเ ขา ถงึ แมวาปญหามันจะผา นไปแลว เราก็ตอง
คอยติดตามดูเขาเปน ระยะๆ”

นายวิริยะ ปาลวัฒน์
(คลาส)

“เราทํางานเปนทีม แนนอนระหวางการทํางานตองเกิดการถกเถียงกันเพ่ือใหได
ส่ิงที่ดที ่ีสุด ในฐานะทเี่ ราเปนคนทําโครงการเอง เปน ผนู ําในการทํางาน เราตอง
รับฟงคนอ่ืนวาเขาคิดเห็นยังไง ผมเช่ือวาทุกคนยอมมีความเห็นแตกตางกัน แต
ในนนั้ กม็ ขี อ ดี ซง่ึ เราตอ งเคารพความเหน็ ซง่ึ กนั และกนั เอาสว นดมี ารวมกนั ทาํ งาน”

46 มดอาสา บันทกึ บทเรยี นการพัฒนาการศึกษา

ImCpornotvienmuoeunst
พั ฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง

นายวีรนันท์ ดวงแข
(นิว)

“สิ่งที่ผมยึดและไดรับจากการทําคายอาสาฯ คือการพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง
เหมือนตอนแรกท่ีผมไมอยากทํา จนไดมาทํา มาสัมผัสคาย เริ่มมาจัดการเอง
ดูแลทุกอยาง กลายเปนวาตัวผมเองตอนน้ีมีความพรอมทําอะไรตอไดมากกวา
ความยากระดบั นี้ ไดพฒั นาตนเอง”

นายอภิเดช ประทุมคํา
(นุ๊ก)

“การไดท าํ กจิ กรรม ทาํ คา ย ผมรสู กึ วา ไดพ ฒั นาตนเองหลายๆ ดา น การบรหิ าร
จดั การ การประสานงาน การขอสปอนเซอร งานเอกสาร ซึ่งตอนท่ีเพิง่ จบั มนั
ยากมาก แตพอไดทําแลวผานมาได รูสึกภูมิใจที่ไดพัฒนาตัวเอง ซ่ึงผมเชื่อวา
เม่ือจบออกไปแลว แมวาจะไมใชงานเดียวกัน แตส่ิงเหลาน้ีคือพ้ืนฐานของการ
ทํางานในทุกอาชีพ มันเปนประสบการณท่ีเรานําไปใชชีวิตไดจริง นอกเหนือ
ไปจากการเรยี นในหอ งเรียน”

นายชลัต เอีย่ มน่ิม “การพัฒนาตนเองอยางตอเน่ืองเปนสิ่งท่ีผมพยายามทํา
(เพี ยว) มาตลอดครบั เพราะผมเปนคนทสี่ งสยั และชอบหาคาํ ตอบ
อยูเรื่อยๆ เชน เรื่องการซอมรถยนต เราไมรูก็ตองหา
จนเรารู มีคําถามอยูในหัวของเราวาทําไมๆ แลวก็ตองหา
คาํ ตอบของเราใหไ ด เมอื่ มคี าํ ถามทส่ี นใจมากๆ จะไมท งิ้ ไว
เฉยๆ แตจะหาคําตอบ ซ่ึงทําใหเราไดเรียนรูไปเรื่อยๆ
ไปคา ยฯ กท็ าํ ใหเ รามคี าํ ถามใหมๆ ไดพ ฒั นาทกั ษะดา นชา ง
อยา งตอเนอ่ื ง ไดสอนเพ่ือนดวย”

มดอาสา บันทึกบทเรยี นการพฒั นาการศึกษา 47

Do Something
ไม่ดูดาย

พงศกร น่ิมศิริ
(ปาล์ม)

“อยใู นมหาวทิ ยาลยั เราเปน คนทแ่ี อคทฟี ตลอดเวลา เปน คนทม่ี องรรู วั่
เวลาไปทํางาน ทํากิจกรรมกับเพ่ือน คือเราไมไดเปนคนที่พยายาม
นําหนา แตถอยหลังมาแลวเห็นรูรั่ว แลวก็เดินเขาไปชวยเหลือเพ่ือน
ก็เลยคิดวา Do Something ไมด ูดาย เปน ส่ิงท่ตี รงกบั เรามากทส่ี ดุ ”

นายณพงศ์ วิริยะอัครเดชา
(ป้ ัน) “ในยุคนี้เหมือนทุกคนมีไอเดียท่ีจะชวยสังคมหมด แต

คนที่ไมดูดายกลับมีนอย ผมคิดวาถามีคนเร่ิมแลวก็
จะมคี นตาม ถา มคี นเรม่ิ เยอะๆ มนั จะไปไดไ กลมากครบั ”

นางสาวภารดี อมรวิทยาชาญ
“ตัวเองเนนวา do something ไมดูดาย งายๆ ไมตองถึงขั้น (หลีถ่ ิง)
จิตอาสาก็ได สมมติเห็นเพื่อนคนหนึ่งกําลังจะติด F กําลังใชชีวิต
ไปในทางสุมเส่ียง มันตองเริ่มเตือนกันแลว มองงายๆ แคน้ีกอน
แตถ า เราคดิ วา ชา ง เรอื่ งของเขาไมใ ชเ รอื่ งของเรา นกี่ เ็ ปน การดดู าย
ถาขยายไปใหญกวานั้น ถาเราดูแลววานี่คือปญหา เราไมดูดาย
ก็คือเรอื่ งของจิตอาสา”

นายกฤษดา รัตนมาลัย
(เบียร์)“ทมี KMUTT EMS Volunteer ของเราคอื do something ไมด ดู ายครบั

เพราะวาการท่ีเราเห็นผูปวย เราไมใชแคไทยมุงทั่วไป แตวาเราสามารถ
ไปชว ยเขาไดอ ยา งถกู วธิ ตี ามกระบวนการทางการแพทยเ พอ่ื ลดการบาดเจบ็
และลดการเสียชีวิตของผูปวย แลวเวลาท่ีชวยเขาไดก็เปนความภูมิใจท่ีได
ชวยเหลอื ผูอ น่ื ”

48 มดอาสา บันทกึ บทเรียนการพฒั นาการศึกษา

สำนักงานกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี
126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรงุ เทพฯ 10140
โทรศัพท์ 0 2470 8000 โทรสาร 0 2427 8412


Click to View FlipBook Version