The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KMUTT Office of Sustainability, 2021-09-23 02:49:19

ISTRS Annual Report 2018

ISTRS Annual Report 2018

ทดสอบความล้ารางรถไฟ (Fatigue Testing)

ทดสอบขนาดและมิติของแผ่นปูทางผ่านรถไฟ

ทดสอบความต้านทานไฟฟ้าของแผ่นปทู างผ่าน (Electrical Resistance Testing)

ทดสอบการรบั น้ำหนักของแผ่นปทู างผ่าน (Static Load Test)

1I 01

ทดสอบการรบั น้ำหนกั ของหมอนรางรถไฟ (Static Load Testing)

งานทดสอบ Pull-out หมอนคอนกรีตอัดแรง

1I 02

งานวิเคราะหท์ ดสอบด้านงานเชือ่ ม การทดสอบทางกลและทดสอบโดยไมท่ ำลาย
การทดสอบโดยไมท่ ำลาย

การตรวจสอบด้วยวิธีพินิจงานเชือ่ ม (Visual Inspection)

การตรวจสอบด้วยคลืน่ เสียงความถี่สูง (Ultrasonic Testing)

การตรวจสอบด้วยกระแสไหลวน (Eddy Current Testing)

1I 03

การตรวจสอบด้วยการถ่ายภาพรงั สี (Radiographic Testing)
การเป็นประจักษพ์ ยานการสอบชา่ งเชื่อมและการทดสอบทางกล

การเปน็ ประจกั ษ์พยานการสอบช่างเชือ่ มและการทดสอบทางกล

การทดสอบแรงดึง

1I 04

ศนู ย์บูรณาการเทคโนโลยีเพื่ออตุ สาหกรรมไทย

THAI INDUSTRY TECHNOLOGY INTEGRATING CENTER : TITEC

วสิ ยั ทศั น์ เปน็ องค์กรสร้างงานวิจัยในเชิงบูรณาการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ
พนั ธกจิ
- สรา้ งงานวจิ ยั เชงิ บรู ณาการเพอื่ สนบั สนนุ พฒั นาและถา่ ยทอดเทคโนโลยี
แกภ่ าคอตุ สาหกรรมและเกษตรกรรม
- สร้างศักยภาพและความเข้มแข็งในการดำเนินธุรกิจให้แก่นักศึกษาที่ต้องการเป็น
ผู้ประกอบการ
- สง่ เสรมิ เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั กบั ทอ้ งถนิ่ และผปู้ ระกอบการ
- ดำเนนิ กจิ กรรมสนบั สนนุ งานของมหาวทิ ยาลยั กบั การพฒั นาโรงเรยี นและชมุ ชน

ขอ้ มูลหน่วยงาน

ศูนย์บูรณาการเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมไทย (Thai Industry Technology Integrating Center) หรือ Titec
สังกัดสำนักวิจัยและบริการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดตั้งขึ้นตามมติสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 83
วันที่ 14 ตุลาคม 2548 ด้วยศักยภาพ และเป้าหมายในการทำงานให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล
โดยเน้นการสร้างงานวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี และถ่ายทอดเทคโนโลยีที่มีใน
สถาบนั อดุ มศกึ ษาใหแ้ กบ่ คุ คลทว่ั ไป ผปู้ ระกอบการ รวมทงั้ ภาคอตุ สาหกรรม โดยเลอื กใชเ้ ทคโนโลยใี หเ้ หมาะกบั
บรบิ ททางเศรษฐกจิ และสงั คมไทย อนั จะนำไปสปู่ ระโยชนส์ งู สดุ สง่ ผลใหเ้ กดิ การปฏสิ มั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งมหาวทิ ยาลยั
กบั หนว่ ยงานราชการและภาคเอกชน

บคุ ลากร โกสลาทิพย์ หวั หน้าศนู ย์
คัมภีระพนั ธ์ุ ที่ปรึกษาศูนย์บูรณาการฯ
1. ดร.วรวิทย์ บุลลาบุดิน เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ
2. ผศ.ดร. ทัศวัลย์ คงอินทร์ นักบริหารจัดการเทคโนโลยีเชิงธรุ กิจ
3. นางมาเรียมบี นพรตั น์ไพบูลย์ เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ
4. นางสาวหนึง่ หทยั สุวรรณสิงห์ เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ
5. นางสาวธนาพร ชูชัยยะ พนักงานบริการ
6. นางสาวชามายา
7. นางสาวสุทธิดา

สถานที่ติดต่อ

ศูนย์บูรณาการเทคโนโลยีเพือ่ อตุ สาหกรรมไทย
ตึกอาคารจอดรถช้ัน 3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เลขที่ 126 ถนน ประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กทม. 10140

โทร 02-4709297 แฟกซ์ 02-4709298

I105

โครงการที่ดำเนินการ

งานทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในศนู ยบ์ รู ณาการเทคโนโลยเี พอื่ อตุ สาหกรรมไทยในปี 2561 ไดร้ บั งบประมาณสนบั สนนุ มาจาก
หน่วยงานจากภาครัฐให้ดำเนินกิจกรรมขับเคลื่อนประเทศ โดยการเผยแพร่องค์ความรู้ที่มีในมหาวิทยาลัย

รวมทั้งเป็นพีเ่ ลี้ยงให้แก่นกั ศึกษา บุคคลทวั่ ไปที่ต้องการมีธุรกิจเป็นของตัวเอง โดยได้เข้าร่วมและดำเนินงาน
ตามโครงการตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ งานบม่ เพาะผปู้ ระกอบการ งานจดั อบรมเผยแพรค่ วามรู้ ซงึ่ โครงการทดี่ ำเนนิ การ
สามารถสรุปตามลักษณะงานที่ดำเนินการได้ดังนี้

1. งานส่งเสริมพัฒนา บ่มเพาะผู้ประกอบการใหม่หรือนักศึกษาในมหาวิทยาลยั ที่ต้องการทำธรุ กิจ

2. งานส่งเสริม พัฒนาผู้ประกอบการ OTOP (ผลิตภณั ฑ์อาหาร)
3. งานเผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยีในสถาบนั ศึกษา
4. งานบริการให้คำปรึกษาด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ให้แก่ชุมชนและผู้ประกอบการทว่ั ไป

5. ชมรมผู้ประกอบการในสถาบนั อุดมศึกษา

สามารถแบ่งงานตามโครงการที่ดำเนินการโดยมีรายละเอียดของโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน และ
งบประมาณที่ได้รับ ซึ่งรายละเอียดได้แสดงดงั ตารางในหัวข้อถัดไป

รายชือ่ โครงการ หวั หน้า หนว่ ยงานทีว่ า่ จา้ ง ระยะเวลา งบประมาณ
กิจกรรมบ่มเพาะวิสาหกิจ โครงการ ดำเนนิ การ โครงการ
คลินิกเทคโนโลยี (บาท)
ดร.วรวิทย์ กองสง่ เสรมิ ผปู้ ระกอบการและธรุ กจิ ใหม่ 19 ธนั วาคม 2560
โกสลาทิพย์ 535,000

กรมส่งเสริมอตุ สาหกรรม ถงึ

กระทรวงอตุ สาหกรรม 30 มถิ นุ ายน 2561

ดร.วรวิทย์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ ปี 2561 274,000
โกสลาทิพย์

บ่มเพาะวิสาหกิจ ดร.วรวิทย์ สำนักงานคณะกรรมการ ปี 2560-2561 1,900,000

โกสลาทิพย์ การอุดมศึกษา

ส่งเสริมการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ ดร.วรวิทย์ สำนักงานคณะกรรมการ ปี 2561 1,100,000
และผู้ประกอบการ OTOP 61 โกสลาทิพย์ การอดุ มศึกษา

การพฒั นาและสรา้ งผปู้ ระกอบการ ดร.วรวิทย์ สำนักงานคณะกรรมการ ปี 2561 700,000
โดยใชค้ วามรใู้ นสถาบนั อดุ มศกึ ษา โกสลาทิพย์ การอุดมศึกษา
เปน็ พื้นฐาน (ทักษะอาชีพ)

โครงการทปี่ รกึ ษากอ่ สรา้ งโรงงาน ดร.วรวิทย์ องค์การเภสชั กรรม ปี 2554-2561 2,819,231.33
ผลิตวคั ซีนป้องกนั ไข้หวดั ใหญ่, โกสลาทิพย์ กระทรวงสาธารณสขุ
ไข้หวัดนก ปี2561 (ต่อเนื่อง)

รวม 7,328,231.33

1I 06

สรปุ ผลการดำเนินงาน

สรุปผลการทำงานของศนู ย์บรู ณาการเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมไทย ตามลกั ษณะงานในหัวข้อที่ 2 ได้ดังนี้
กิจกรรมสง่ เสริม พฒั นา บ่มเพาะ ผู้ประกอบการใหม่
กจิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ พฒั นา บม่ เพาะ นกั ศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั ทตี่ อ้ งการทำธรุ กจิ หรอื ผปู้ ระกอบการใหม่
โดยกจิ กรรมดงั กลา่ วมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหห้ นว่ ยงานทำหนา้ ทบี่ ม่ เพาะผปู้ ระกอบการใหม่ โดยการใหค้ ำปรกึ ษา
การฝกึ อบรม ซงึ่ จะดำเนนิ การพฒั นาแนวคดิ ของผปู้ ระกอบการดว้ ยการเพมิ่ พนู ความรู้ ความสามารถ รวมทง้ั เสรมิ สรา้ ง
ศักยภาพท้ังทางด้านธุรกิจและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสู่การจัดตั้งบริษัทได้สำเร็จ รวมทั้งพัฒนาต่อยอดธุรกิจ
ใหด้ ำเนนิ กจิ การไดอ้ ยา่ งมนั่ คง ลดอตั ราความลม้ เหลว โดยในปี 2561 นน้ั มผี เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมดงั กลา่ วมมี ากกวา่
10 ธุรกิจ ซึง่ ธรุ กิจทีอ่ ยู่ในโครงการมีทั้งอาหาร เทคโนโลยี และ เกษตรกรรม มีภาพการดำเนินกิจกรรมดงั นี้
กิจกรรมการรับสมัครผู้ประกอบการ
ไดเ้ ปดิ รบั สมคั รผปู้ ระกอบการเพอื่ เขา้ มาอยใู่ นการดแู ลของหนว่ ยงาน ซงึ่ จะมคี ณะกรรมการจากหนว่ ยงานตา่ งๆ
ของภาครฐั เข้ามาร่วมประเมิน

1I 07

กิจกรรมการให้คำปรึกษา
เมือ่ ได้ผู้ประกอบการทีอ่ ยู่ในโครงการแล้วจะนัดพบผู้ประกอบการอย่างสมำ่ เสมอ เพอื่ รายงานความกา้ วหนา้
ในการดำเนนิ ธรุ กจิ ของตวั เอง แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ รวมทง้ั มอี าจารยผ์ เู้ ชยี่ วชาญในเรือ่ งทีต่ รงกับธุรกิจของ
ผู้ประกอบการเข้าร่วมรับฟงั และให้คำแนะนำ

1I 08

กิจกรรมการลงสำรวจสถานประกอบการเพื่อพัฒนาสถานประกอบการให้มีคุณภาพมาตรฐาน
นอกจากมีการให้คำปรึกษาแนะนำแล้ว ทีมอาจารย์ผู้เชีย่ วชาญได้ลงสำรวจพื้นที่จริง เพือ่ ช่วยให้เข้าใจปญั หา
และให้คำแนะนำในการแก้ปญั หาของผู้ประกอบการได้อย่างตรงประเดน็ มากยิง่ ขึ้น

I109

กิจกรรมการประชาสัมพนั ธธ์ รุ กิจของผปู้ ระกอบการ โดยการพาไปออกบธู
เมือ่ ผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการมีการผลิตขึ้นจริงแล้ว ได้นำผู้ประกอบการไปร่วมประชาสัมพันธ์แสดงสินค้า
ของตนเองตามงานตา่ งๆ เพอื่ ใหเ้ ปน็ ทรี่ จู้ กั ของตลาดมากยงิ่ ขนึ้ นอกจากนนั้ ยงั ไดม้ กี ารประชาสมั พนั ธใ์ นรปู แบบ
ของการจัดงานอบรมเผยแพร่ความรู้ให้แก่บคุ คลทัว่ ไป

ศนู ยบ์ รู ณาการฯ แสดงผลงานในงาน SME Transform โดยกระทรวงอตุ สาหกรรม ระหวา่ งวนั ที่ 18-20 พฤษภาคม 2561

ศนู ย์บรู ณาการฯ พาผู้ประกอบการไปแสดงผลงานในงาน SME Transform

1I 10

ศูนย์บรู ณาการฯ พาผู้ประกอบการไปแสดงผลงานในงาน SME Transform

ศนู ย์บูรณาการฯ ให้การสนบั สนุนและช่วยเหลือการจดั งานอบรมของผู้ประกอบการ
ที่อยู่ในโครงการบ่มเพาะวิสาหกิจ วนั ที่ 14 มิถุนายน 2561

1I 11

กิจกรรมการพฒั นาผลิตภัณฑ์
1I 12

การรายงานความก้าวหน้า
เมอื่ ใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำในการประกอบธรุ กจิ ใหแ้ กผ่ ปุ้ ระกอบการแลว้ หลงั จากนน้ั มกี ารประเมนิ ผลการรบั คำปรกึ ษา
โดยผู้ประกอบการจะเปน็ ผู้รายงานผลความก้าวหน้าของกิจกรรมแก่คณะกรรมการจากหน่วยงานของรฐั

I113

กิจกรรมส่งเสริม พัฒนาผู้ประกอบการ OTOP (ผลิตภณั ฑอ์ าหาร)
กิจกรรมส่งเสริมพฒั นาผู้ประกอบการ OTOP ได้รบั งบประมาณสนับสนุนจาก สกอ. มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อช่วย
พฒั นาและเพมิ่ ศกั ยภาพในการดำเนนิ ธรุ กจิ ใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการโอทอป ซงึ่ ในปี 2561 มผี ปู้ ระกอบการโอทอป
ผลติ ภณั ฑอ์ าหารเขา้ รว่ มโครงการทง้ั สนิ้ 50 ผลติ ภณั ฑ์ โดยมกี ารฝึ กอบรมดา้ นธรุ กจิ เปน็ ระยะเวลา 3 วนั 2 คื น
ระหวา่ งวนั ที่ 25-28 พฤษภาคม 2561 ณ ธรี มาคอจเทจ รสี อรท์ จงั หวดั ราชบรุ ี นอกจากนนั้ ไดค้ ดั เลอื กผลติ ภณั ฑ์
รอ้ ยละ10 เพอื่ นำมาพฒั นาตอ่ ยอดใน 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ผลติ ภณั ฑ์ บรรจภุ ณั ฑ์ มาตรฐานการผลติ และเครอื่ งหมายการคา้
ซงึ่ กระบวนการทำงานขณะนอี้ ยใู่ นระยะการพฒั นาตอ่ ยอดผลติ ภณั ฑ์ มกี ำหนดแลว้ เสรจ็ ประมาณเดอื นมกราคม 2562
กจิ กรรมทเี่ กดิ ขนึ้ ในโครงการมดี งั ตอ่ ไปนี้
กิจกรรมการฝึกอบรมใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการโอทอปจำนวน 50 รายกิจการ

I114

กิจกรรมการลงสำรวจสถานประกอบการผลิตภณั ฑ์ OTOP
คณะทำงานไดส้ ำรวจสถานประกอบการ 20 ราย เพอื่ คดั เลอื ก 5 รายสดุ ทา้ ยเขา้ สกู่ ระบวนการพฒั นาตอ่ ยอด
ผลติ ภณั ฑโ์ อทอปทงั้ 4 ดา้ น

I115

กิจกรรมพัฒนาผลิตภณั ฑ์
หลงั จากลงพนื้ ทสี่ ำรวจสถานประกอบการแลว้ ทำการคดั เลอื กสนิ คา้ โอทอป จำนวนรอ้ ยละ 10 และไดพ้ ฒั นาสนิ คา้
โดยผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นตา่ งๆ 4 ดา้ น ซงึ่ ในปจั จบุ นั อยรู่ ะหวา่ งกระบวนการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ คาดวา่ จะแลว้ เสรจ็ ประมาณ
เดอื นมกราคม 2562

งานเผยแพร่องคค์ วามรู้และเทคโนโลยีในสถาบนั ศึกษา

สำหรบั งานเผยแพรอ่ งคค์ วามรแู้ ละเทคโนโลยใี นสถาบนั ศกึ ษาทหี่ นว่ ยงานไดจ้ ดั ขนึ้ ในปี 2561 มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ เผยแพร่
เทคโนโลยแี ละองคค์ วามรทู้ มี่ ใี นมหาวทิ ยาลยั แกผ่ ปู้ ระกอบการ เกษตรกร นกั ศกึ ษา เจา้ หนา้ ทแี่ ละบคุ คลทว่ั ไปที่
มคี วามสนใจ ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจทง้ั ทางดา้ นทฤษฎแี ละดา้ นปฏบิ ตั ิ รวมทง้ั สามารถเกดิ แนวความคดิ ใหมน่ ำมาตอ่ ยอด
ธรุ กจิ ได้ ซงึ่ ในการจดั อบรมดงั กลา่ วไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย โดยในปี 2561 ทางหนว่ ยงานไดจ้ ดั การอบรมทง้ั สนิ้ 3 หลกั สตู ร ไดแ้ ก่

1I 16

1. หลกั สตู รการทำธรุ กจิ การแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตรดว้ ยเทคนคิ อบแหง้ แบบอณุ หภมู ติ่ ำ่ พรอ้ มชอ่ งทาง
จำหนา่ ย จดั ขนึ้ ระหวา่ งวนั ที่ 2-4 เมษายน 2561

2. หลักสตู รการปลูกผกั ไฮโดรโปนิกส์แบบปลอดสารเคมีพร้อมระบบ Smart farming จัดขึ้นระหว่าง
วันที่ 11-13 มิถุนายน 2561

3. หลกั สตู รการทำธรุ กจิ การแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตรดว้ ยเทคนคิ อบแหง้ แบบอณุ หภมู ติ่ ำ่ พรอ้ มชอ่ งทาง
จำหน่าย (ต่อยอด) จดั ขนึ้ ระหวา่ งวนั ที่ 21-24 สงิ หาคม 2561
ผลจากการจดั อบรมได้รับผลการตอบรับ และมีผู้สมคั รเข้าร่วมเป็นจำนวนมาก จากเดิมทีต่ ้ังเป้าหมายไว้ว่า
มีผู้เข้าอบรมไม่เกิน 40 รายตอ่ หลกั สตู ร แตม่ ผี เู้ ขา้ มาอบรมมากถงึ 50-60 ราย โดยในปถี ดั ไปไดเ้ ตรยี มวางแผนหวั ขอ้
หลกั สตู รทจี่ ะจดั อบรมสอดคลอ้ งกบั การขบั เคลอื่ นประเทศไทยในยคุ 4.0 ตอ่ ไป
รปู บรรยากาศการจดั อบรมทผี่ า่ นมาทงั้ 3 หลกั สตู ร

หลกั สตู รการทำธรุ กจิ การแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตรดว้ ยเทคนคิ อบแหง้ แบบอณุ หภมู ติ่ ำ่ พรอ้ มชอ่ งทางจำหนา่ ย

1I 17

หลกั สตู รการปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ สแ์ บบปลอดสารเคมพี รอ้ มระบบ Smart farming

1I 18

หลกั สตู รการทำธรุ กจิ การแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตรดว้ ยเทคนคิ อบแหง้ แบบอณุ หภมู ติ ำ่ พรอ้ มชอ่ งทางจำหนา่ ย (ตอ่ ยอด)
I119

งานบรกิ ารใหค้ ำปรกึ ษาดา้ นอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี ใหแ้ กช่ มุ ชนและผปู้ ระกอบการทวั่ ไป

งานบรกิ ารมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหค้ ำปรกึ ษา คำแนะนำ แกไ้ ขปญั หา รวมทงั้ เปน็ แหลง่ รวบรวมขอ้ มลู ทางเทคโนโลยี
โดยทางหาวทิ ยาลยั ยงั เปน็ ตวั กลางในการถา่ ยทอดความรทู้ างดา้ นเทคโนโลยใี หแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการและวสิ าหกจิ ชมุ ชน
เพอื่ ไปสกู่ ลมุ่ เปา้ หมาย นอกจากนน้ั ผปู้ ระกอบการยงั สามารถรบั คำปรกึ ษาจากชอ่ งทางตา่ งๆ อาทิ โทรศพั ท์ อเี มล
การตดิ ตอ่ เขา้ มาภายในศนู ยบ์ รู ณาการฯ หรอื การใบรกิ ารนอกสถานทหี่ รอื เพอื่ ขอรบั บรกิ ารกบั อาจารยผ์ เู้ ชยี่ วชาญดา้ นตา่ ง ๆ

1I 20

ชมรมผปู้ ระกอบการในสถาบนั อดุ มศกึ ษา

นอกจากศนู ยบ์ รู ณาการฯ จะทำหนา้ ทใี่ หบ้ รกิ ารแกบ่ คุ คลภายนอกแลว้ ยงั ไดจ้ ดั พนื้ ทใี่ หแ้ กน่ กั ศกึ ษาเพอื่ ทำกจิ กรรมชมรม
ผปู้ ระกอบการ โดยกลมุ่ นกั ศกึ ษาทสี่ นใจในดา้ นธรุ กจิ สามารถมารวมตวั แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ เสรมิ สรา้ งความคดิ

ในการสร้างสรรค์ธุรกิจใหม่เพื่อเตรียมพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการที่มีความเข้าใจในธุรกิจอย่างแท้จริง
ซงึ่ กจิ กรรมทผี่ า่ นมาไดม้ กี ารรบั สมคั รสมาชกิ ชมรม และพานกั ศกึ ษาทอี่ ยใู่ นชมรมรว่ มเขา้ คา่ ย yes idea camp เพอื่ พฒั นา
นกั ศกึ ษาใหม้ ศี กั ยภาพในการเปน็ ผปู้ ระกอบการ นอกจากนน้ั ยงั จะมกี ารฝกึ อบรมแกส่ มาชกิ ตอ่ ไป

การรบั สมคั ร และประชมุ วางแผนงานของชมรมนกั ศกึ ษา

Young entrepreneur students (YES idea camp)

1I 21

ศูนย์วิศวกรรมอณุ หภาพ

THERMAL ENGINEERING CENTER : TEC

วสิ ยั ทศั น์ นำหนา้ ดา้ นวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการดา้ นความรอ้ นประยกุ ต์
พนั ธกจิ
ศนู ยว์ ศิ วกรรมอณุ หภาพ (Thermal Engineering Center) เปน็ สถาบนั วจิ ยั และวศิ วกรรมชน้ั นำ

ดา้ นเทคโนโลยอี ณุ หภาพ ความรอ้ นประยกุ ต์ ทำหนา้ ทถี่ า่ ยทอดเทคโนโลยแี ละบรกิ าร
ทปี่ รกึ ษาใหแ้ กอ่ ตุ สาหกรรมไทย ศนู ยว์ ศิ วกรรมอณุ หภาพมงุ่ มนั่ ในการทำงานวจิ ยั คดิ คน้
พฒั นาเทคโนโลยดี า้ นความรอ้ นประยกุ ต์ เพอื่ เปลยี่ นสภาพของประเทศจาก
"ผรู้ บั " มาเปน็ "ผสู้ รา้ ง" เทคโนโลยี

หลักการและเหตผุ ล

เนื่องจากพลงั งานและสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยสำคญั ในการดำรงอยู่ของชีวิตมนษุ ย์ และมีปริมาณการใช้เพิม่ ขึ้น
อย่างรวดเรว็ ทกุ ขณะตามปริมาณของประชากรและวิวฒั นาการทางเทคโนโลยี ซึง่ ปัจจุบันพลังงานส่วนใหญ่ที่
ไดจ้ ากการเผาไหม้ ไม้ ถา่ นหนิ และนำ้ มนั เชอื้ เพลงิ จะลดนอ้ ยลงตามลำดบั ทรพั ยากรเหลา่ นไี้ มส่ ามารถจะหาทดแทน
ได้ในเวลาอนั รวดเร็ว จึงส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาคอตุ สาหกรรม ที่มีความต้องการในการใช้พลงั งานมากขนึ้
ตามความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี และดว้ ยสภาวการณผ์ นั ผวนดา้ นราคานำ้ มนั เชอื้ เพลงิ ทปี่ ระเทศไทยกำลงั ประสบอยู่
ขณะนี้ส่งผลให้อุตสาหกรรมประเทศไทยไม่สามารถแข่งขนั เชิงต้นทุนการผลิตในตลาดโลกได้

นอกเหนือจากความสำคัญด้านพลงั งานแล้ว ภาคอตุ สาหกรรมยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนยงั มีความ
ตอ้ งการใหห้ นว่ ยงานจากภาครฐั เขา้ มาสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ในการพฒั นาดา้ นการผลติ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ
โดยการถา่ ยทอดความรทู้ างเทคโนโลยตี า่ งๆ การปรบั แตง่ อปุ กรณ์ เครอื่ งจกั รใหม้ คี วามทนั สมยั ลดการใชพ้ ลงั งาน
และลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ส่งเสริมให้ตระหนักความสำคัญของความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีเป็นหน่วยงานการศึกษาที่ทำวิจัยในด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี
ไดใ้ หค้ วามสำคญั แกป่ ญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ นี้ จงึ มกี ลมุ่ นกั วชิ าการรว่ มกนั ทำการวจิ ยั สรา้ งเครอื ขา่ ย เพอื่ ใหเ้ กดิ การวจิ ยั
อนั จะนำไปสกู่ ารบรกิ ารวชิ าการ ถา่ ยทอดเทคโนโลยี เพอื่ สนบั สนนุ ใหภ้ าคอตุ สาหกรรมไดม้ กี ารพฒั นาในดา้ นการผลติ
ใหเ้ กดิ ประสทิ ธสิ งู สดุ ตลอดจนสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารลดการใชพ้ ลงั งาน และสรา้ งขอ้ มลู ใหป้ ระเทศในการนำไปใชส้ นบั สนนุ การ
ออกข้อบังคับได้ต่อไป

วัตถุประสงค์

- เปน็ ศนู ยฝ์ กึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารใหบ้ คุ ลากรจากภาคอตุ สาหกรรมจนเกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจเรอื่ งการเผาไหม้
(Combustion) และสามารถปรบั แตง่ หวั เผา (Burners) ไดอ้ ยา่ งถกู วธิ ี เพอื่ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพใกลเ้ คยี งกบั ของใหมอ่ ยเู่ สมอ
และสามารถบำรงุ รกั ษาหมอ้ ไอนำ้ ตลอดจนอปุ กรณเ์ กบ็ ความรอ้ น รวมทงั้ อปุ กรณแ์ ลกเปลยี่ นความรอ้ นเพอื่ การ
ประหยัดพลงั งาน

- สร้างผู้นำกลุ่มจากภาคอตุ สาหกรรมเพื่อทำหน้าทีแ่ ละบทบาทในข้อ 1
- เพอื่ สนบั สนนุ การถา่ ยทอดเทคโนโลยี ผลการวจิ ยั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความแพรห่ ลาย และมกี ารนำไปใชป้ ระโยชน์
ในภาคอตุ สาหกรรม เอกชน และภาคราชการทเี่ กยี่ วขอ้ งใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ

I122

- เพื่อส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือด้านงานวิจัยและพัฒนา ระหว่างหน่วยงานราชการ
อตุ สาหกรรม และนกั วจิ ยั เพอื่ จดั ตง้ั เปน็ Center of Excellence in Thermal Engineering

- หารายไดเ้ พอื่ สนบั สนนุ งานวจิ ยั และกจิ กรรมตา่ งๆ ของศนู ยไ์ ด้ โดยขอรบั การสนบั สนนุ ทนุ จากหนว่ ยงานตา่ งๆ
ทงั้ ภาครฐั และเอกชน

- ถา่ ยทอดเทคโนโลยดี า้ นพลงั งานและการเผาไหมท้ เี่ ปน็ ผลงานวจิ ยั ทมี่ อี ยแู่ ลว้ ของนกั วจิ ยั และคณาจารย์
ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ แี กภ่ าคอตุ สาหกรรม ตลอดจนผทู้ สี่ นใจ

ขอบเขตงาน

ศนู ยว์ ศิ วกรรมอณุ หภาพ มคี วามพรอ้ มทจี่ ะทำการวจิ ยั พฒั นา และถา่ ยทอดเทคโนโลยดี า้ นวศิ วกรรม พลงั งาน
ในระดบั ภาคอตุ สาหกรรม ซงึ่ มคี วามสำคญั และสง่ ผลตอ่ เศรษฐกจิ หลกั ประเทศไทย โดยมกี ารดำเนนิ งานหลกั ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้

- สรา้ งงานวจิ ยั และองคค์ วามรดู้ า้ นเทคโนโลยี วศิ วกรรม พลงั งาน ในกระบวนการผลติ ระบบบรหิ าร
ความปลอดภยั ความเสยี่ งในการปฏบิ ตั งิ านทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั อปุ กรณ์ เครอื่ งจกั ร

- จดั การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารใหบ้ คุ ลากรจากภาคอตุ สาหกรรม จนเกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจเรอื่ งการเผาไหม้
(Combustion) และสามารถปรบั แตง่ หวั เผา (Burners) ไดอ้ ยา่ งถกู วธิ ี เพอื่ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพใกลเ้ คยี งกบั ของใหมอ่ ยเู่ สมอ
และสามารถบำรงุ รกั ษาหมอ้ ไอนำ้ ตลอดจนอปุ กรณเ์ กบ็ ความรอ้ น รวมทงั้ อปุ กรณแ์ ลกเปลยี่ นความรอ้ นเพอื่ การ
ประหยดั พลงั งาน

- ส่งเสริมความร่วมมือ ประสานระหว่าง มหาวิทยาลัย ภาคเอกชน และภาคราชการ เพื่อเกิดความ
เชอื่ มโยงดา้ นความรว่ มมอื การวจิ ยั พฒั นา ตลอดจนการนำองคค์ วามรไู้ ปถา่ ยทอดและประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งเหมาะสม

- สง่ เสรมิ การพฒั นาบคุ คลากรในหนว่ ยงานเอกชนและราชการ โดยการวจิ ยั พฒั นารว่ มกนั กบั เครอื ขา่ ย
ทเี่ กยี่ วขอ้ ง การแลกเปลยี่ นนกั ศกึ ษา/นกั วจิ ยั กบั หนว่ ยงานในเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ทงั้ ในและตา่ งประเทศ

จำนวนบคุ ลากร

18 คน

สถานทตี่ ดิ ตอ่

ศนู ยว์ ศิ วกรรมอณุ หภาพ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี
อาคารวศิ ววฒั นะ 8 ชน้ั ภาควชิ าวศิ วกรรมเครอื่ งกล ชน้ั 8
126 ถ.ประชาอทุ ศิ แขวงบางมด เขตทงุ่ ครุ กทม. 10140
โทร 02-4709658 มอื ถอื 087-5198787 แฟกซ์ 02-4709109

ผลการดำเนนิ งานในดา้ นตา่ งๆ

ดา้ นงานวจิ ยั
- โครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพหมอ้ นำ้ ในภาคอตุ สาหกรรม (ภายใตค้ า่ ใชจ้ า่ ยในการพฒั นาประสทิ ธภิ าพการใช้

พลงั งานทเี่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม)
- โครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพระบบไอนำ้ สำหรบั โรงไฟฟา้ ชวี มวล
- โครงการตรวจวดั การใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ของเครอื่ งจกั รและเสนอแนวทางการปรบั ปรงุ คณุ ภาพของระบบไฟฟา้
- โครงการตรวจสอบประสทิ ธภิ าพเครอื่ งจกั รทใี่ ชใ้ นระบบหมกั ตะกอนนำ้ เสยี

I123

ดา้ นบรกิ ารวชิ าการ
- โครงการทดสอบการใชง้ านลฟิ ตไ์ ฟฟา้ สำหรบั ใชโ้ ดยสารบรรทกุ และสง่ ของขนาด (Load) 1,600 กโิ ลกรมั

ความเรว็ (Speed) 180 เมตร/นาที ตามเกณฑท์ กี่ ำหนด
- โครงการตรวจวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบขเี้ ถา้ เปยี ก และขเี้ ถา้ แหง้
- โครงการตรวจวดั กา๊ ซไอเสยี
- โครงการจา้ งทดสอบคณุ สมบตั ขิ องนำ้ มนั ผสมระหวา่ งนำ้ มนั ปาลม์ ดบิ กบั นำ้ มนั เตา
- โครงการอบรมหลกั สตู ร HRSG Life Management
- โครงการอบรมหลกั สตู ร Fundamental of Plant Efficiency
- โครงการอบรมหลกั สตู ร Physic for Power Plant (Heat Transfer)
- โครงการอบรมหลกั สตู ร Physic for Power Plant
- โครงการทดสอบคา่ ประสทิ ธภิ าพปม๊ั ความรอ้ น
- โครงการอบรมศกึ ษางานดา้ น Boiler
- อบรมหลกั สตู รผคู้ วบคมุ ประจำหมอ้ ไอนำ้

เปรยี บเทยี บผลการดำเนนิ งานกบั แผนทตี่ ง้ั ไว้

รายรับทีต่ ้งั ไว้ รายรับจริง
งานวิจยั
งบประมาณ - บาท งานวิจยั

งานบริการวิชาการ งบประมาณ 12,284,588 บาท
งบประมาณ 5,000,000 บาท
หน่วยงานทีร่ ับบริการ
- กรมโรงงานอุตสาหกรรม
- บริษัท อำพลฟู๊ด โพรเซสซิง่ จำกดั
- บริษทั ยทู ิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนนซ์ จำกดั

งานบริการวิชาการ

งบประมาณ 945,638 บาท

หน่วยงานทีร่ ับบริการวิชาการ
- บริษัท อมตะ บีกริม เพาเวอร์ จำกัด
- บริษัท ชมุ พรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกดั
- บริษัท กัลฟ์ยะลา จำกดั
- บริษัท สยามฮิตาชิ เอเลอเวเตอร์ จำกัด
- การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
- สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ุ่น)
- ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
- สมาคมสง่ เสรมิ ความปลอดภยั และอนามยั ในการทำงาน

1I 24

ภาพการดำเนนิ โครงการ

โครงการจา้ งทดสอบคณุ สมบตั ขิ องนำ้ มนั ผสมระหวา่ งนำ้ มนั ปาลม์ ดบิ กบั นำ้ มนั เตา

1I 25

โครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพระบบไอนำ้ สำหรบั โรงไฟฟา้ ชวี มวล
1I 26

โครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพหมอ้ นำ้ ในภาคอตุ สาหกรรม
1I 27

ศูนย์รับรองระบบมาตรฐานนานาชาติ

INTERNATIONAL STANDARD CERTIFICATION CENTER: ISCC

วสิ ยั ทศั น์ เปน็ หนว่ ยงานทใี่ หก้ ารรบั รองมาตรฐาน ทง้ั ระบบบรหิ ารงานและผลติ ภณั ฑต์ ามมาตรฐาน

และให้ความรู้ทางด้านคุณภาพแก่บคุ ลากร ทั้งภายในและภายนอก

พนั ธกจิ - เพมิ่ ศกั ยภาพของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ในการรบั รองระบบ

มาตรฐานสากลต่อวิสาหกิจ เพือ่ ให้มีมาตรฐานระดับสากลในการแข่งขนั กบั คู่ค้า
จากตา่ งประเทศ
- พฒั นายกระดบั ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพของวสิ าหกจิ ทงั้ ดา้ นการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพ ฯลฯ
ใหเ้ ทยี บเทา่ มาตรฐานสากล
- เพื่อกระตุ้นให้วิสาหกิจเกิดการปรับปรงุ และเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขนั
ในเวทตี ลาดโลก และมกี ารจา้ งงานมากขนึ้
- เพอื่ สนองนโยบายของรฐั บาล ในการชว่ ยเหลอื วสิ าหกจิ ตามโครงการตา่ ง ๆ

ภารกจิ หลกั - ใหบ้ รกิ ารในการตรวจประเมนิ และใหก้ ารรบั รอง ตามมาตรฐาน แนวปฏบิ ตั ิ หรอื อนื่ ๆ

ภายใตก้ ารรบั รองของระบบงานระดบั ชาติ
- ปรับปรุงและพัฒนาระบบตรวจประเมินและการรับรอง และการสร้างมาตรฐาน
ในมหาวทิ ยาลยั ใหเ้ ทยี บเทา่ ในระดบั นานาชาติ
- สง่ เสรมิ และพฒั นาความสามารถของบคุ ลากรทางดา้ นมาตรฐานและความรอู้ นื่ ๆ
ทง้ั บคุ ลากรภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั รวมถงึ หนว่ ยงานอนื่ ๆ ใหผ้ า่ นการอบรม
โดยการใหค้ ำปรกึ ษา การประชมุ สมั มนา ตลอดจนการวจิ ยั
- เผยแพรผ่ ลงานทางดา้ นการศกึ ษาสภู่ าคปฏบิ ตั ิ และนำผลจากการปฏบิ ตั งิ านสู่
การถา่ ยทอดความรภู้ ายในหอ้ งเรยี น

1I 28

โครงสรา้ งองค์กร

บุคลากร 2 คน
4 คน
จำนวนบุคลากร 3 คน
9 คน
พนกั งาน
ลูกจ้างมหาวิทยาลัย
ลูกจ้างโครงการ
รวม

รายชือ่ บคุ ลากร ประธานทีป่ รึกษา
1. นายเกษมศกั ดิ์ ศรีธาราธร หวั หน้าศูนย์
2. นายองศา ศกั ดิ์ทอง แผนกตรวจรับรองระบบ
แผนกตรวจมาตรฐานฯ
3. นายกฤษดา พจน์ศิริศิลป แผนกตรวจมาตรฐานฯ
4. นายอภริ กั ษ์ วริ ยิ างกรู แผนกตรวจมาตรฐานฯ
แผนกตรวจมาตรฐานฯ
5. นายศวิ ะ เสารอง แผนกตรวจมาตรฐานฯ
แผนกตรวจมาตรฐานฯ
6. นายพลากร หอมสวสั ดิ์ แผนกบรหิ ารจดั การทว่ั ไป
7. นางสาวพสั วี สนิ พเิ ชธกร

8. นางสาวสวุ พชิ ญ์ ฉายศริ วิ ฒั นา

9. นางรตั ตกิ าล กลำ่ รศั มี
10. นางสาวศศปิ ระภา ดสิ ระ

1I 29

ผลการดำเนินงานปี 2561 ตามภารกิจหลักของหน่วยงาน

ดา้ นการวิจัยและพัฒนา : บทความวิจยั ตีพิมพเ์ ผยแพร่

ประเภท ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
แผน ผล แผน ผล
งานวิจัยที่ได้รบั การเผยแพร่ (เรือ่ ง) 11 2
วารสารระดับนานาชาติ 13 1 2
วารสารระดบั ประเทศ 1
การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 1
การประชมุ วิชาการระดับประเทศ 12
22 12
บุคลากรเพือ่ การวิจยั (คน) 23

ดา้ นการวิจัยและพัฒนา : โครงการวิจยั ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
ประเภท แผน ผล แผน ผล
11 2 2
โครงการวิจยั เชิงวิชาการ (โครงการ)
โครงการวิจยั เชิงอุตสาหกรรม (โครงการ) 11 22
อื่น ๆ (โปรดระบุ)

รวม

ด้านการใหบ้ ริการวิชาการ

ประเภท ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
แผน ผล แผน ผล
งานทดสอบ วิเคราะห์ (ครั้ง) -- - -
งานให้คำปรึกษา (โครงการ) 56 6 7
การจดั อบรม/บรรยาย (ครั้ง) 57 7 8
อื่นๆ เช่น ตรวจประเมินเพื่อให้การรบั รอง 65 68 70 75
75 81 83 90
รวม

I130

ดา้ นอื่นๆ
1. การตรวจประเมินเพือ่ ให้การรับรองระบบมาตรฐานนานาชาติ (ISO)
2. การตรวจประเมินเพือ่ ให้การรับรองตามมาตรฐานอื่น ๆ เช่น มาตรฐานการท่องเที่ยว ได้แก่

- มาตรฐานเรือรับจ้างนำเทีย่ ว (Tourist Boat Standard)
- มาตรฐานแพบริการเพื่อการท่องเทีย่ ว (Rafting Standard for Tourism)
- มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารในสถานทจี่ ำหนา่ ยสนิ คา้ ของทรี่ ะลกึ (สนิ คา้ ทวั่ ไป)(Souvenir Shop Services
Standard for Tourism)
- มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารในสถานทจี่ ำหนา่ ยสนิ คา้ ของทรี่ ะลกึ (สนิ คา้ อญั มณ)ี (Souvenir Shop Services
Standard for Tourism – Gem Stone Products)
- มาตรฐานบริการอาหารเพื่อการท่องเทีย่ ว (Food Services Standard)
- มาตรฐานหอ้ งนำ้ สาธารณะเพอื่ การทอ่ งเทยี่ วระดบั สากล (Public Restroom Standard for Tourism :
International Level)
- มาตรฐานที่พักเพื่อการท่องเทีย่ วแบบพำนักระยะยาว (Long Stay Standard for Tourism)
- มาตรฐานเรือรับจ้างนำเที่ยว (Tourist Boat Standard)
- มาตรฐานการบริการรถโดยสารเพื่อการท่องเทีย่ ว
- มาตรฐานศนู ย์บริการข้อมูลสำหรบั นักท่องเทีย่ ว (Tourism Information Standard)
- มาตรฐานการให้บริการและความปลอดภัยในศูนย์การค้าเพือ่ การท่องเที่ยว (Standard of Service
and Safety in Shopping Centers for Tourism)
- มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารรถตปู้ รบั อากาศสำหรบั นกั ทอ่ งเทยี่ ว (Van Service Standard for Tourism)
3. การตรวจประเมินสถานประกอบการผลิตเครื่องมือแพทย์ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิต
เครือ่ งมือแพทย์ พ.ศ. 2548 สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
4. การให้คำปรึกษาในการจดั ทำระบบบริหารงานคณุ ภาพท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
5. การเปน็ หน่วยงานในการให้คำปรึกษาแก่หน่วยตรวจประเมินแก่วิสาหกิจประเทศพม่า
6. การส่งบคุ ลากรของศนู ย์เข้าอบรมเพือ่ พัฒนาความรู้ความสามารถในหลกั สตู รได้แก่
- หลักสตู รข้อกำหนดสำหรบั หน่วยรบั รองผลิตภัณฑ์ กระบวนการและบริการ ตามมาตรฐาน ISO
17065:2012 และมาตรฐาน ISO 17067:2013 และผู้ตรวจประเมินภายใน
- หลักสูตรเทคนิคการตรวจประเมิน มาตรฐานสากล ISO 19011:2011
- ระบบบรหิ ารจดั การความเสยี่ งของเครอื่ งมอื และอปุ กรณท์ างการแพทย์ มาตรฐาน ISO 14971: 2007
- หลกั สตู รความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั ขอ้ กำหนดทวั่ ไปสำหรบั หนว่ ยตรวจ มาตรฐาน ISO 17020:2012
- หลกั สูตรข้อกำหนดทว่ั ไปสำหรับหน่วยรบั รองบุคลากร ISO 17024:2012
- การเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพในการพฒั นาดา้ นการทอ่ งเทยี่ วในแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาติ ประเภทถำ้

1I 31

รายงานเปรียบเทียบแผนและผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2561 และแผนดำเนินงาน
สำหรับ ปี 2562 และ ปี 2563

ประเภท ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
แผน ผล แผน ผล
งบประมาณรายรบั
เงินอุดหนุนจากรฐั (ถ้ามี) - - --
รายได้จากการศึกษา (ถ้ามี) - - --
รายรับจากงานวิจัย 0.5 0.58 0.6 0.6
รายรบั งานบริการวิชาการ 10.5 12.5 12.5 13.0
อื่น (โปรดระบ)ุ - - --

งบประมาณรายจ่าย 2.2 1.8 2.5 3.0
ค่าใช้จ่ายบุคลากร1 3.2 5.0 3.5 4.0
ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน2 0.2 0.95 0.85 0.90
ค่าครภุ ัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง 0.8 0.95 0.85 0.9
หักเข้ามหาวิทยาลยั (และ สวท.) 0.85 0.67 0.9 1.0
หักเข้าหน่วยงาน

หมายเหตุ
1. ค่าใช้จ่ายบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคล ได้แก่ เงินเดือน ค่าจ้างประจำ
ค่าจ้างช่ัวคราว และสวสั ดิการพนักงานใหม่ 12% และเงินชดเชยเมือ่ ถูกเลิกจ้าง (ถ้ามี)
2. ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่จ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ ได้แก่ ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย
ค่าวัสดุ ค่าสาธารณปู โภค เงินอดุ หนุน และรายจ่ายอื่น
3. งานวจิ ยั และโครงการวจิ ยั ดำเนนิ การโดย นายองศา ศกั ดทิ์ อง ตำแหนง่ หวั หนา้ ศนู ยร์ บั รองระบบมาตรฐานนานาชาติ
4. ตัวเลขโดยประมาณ - หน่วยล้านบาท

I132

ประมวลภาพกิจกรรม

การดำเนินการตรวจการรบั รองมาตรฐานการทอ่ งเที่ยว

มาตรฐานบริการอาหารเพือ่ การท่องเที่ยว (Food Services Standard)

มาตรฐานการให้บริการในสถานที่จำหน่ายสินค้าของทีร่ ะลึก (สินค้าทว่ั ไป)
(Souvenir Shop Services Standard for Tourism)

มาตรฐานเรือรับจ้างนำเทีย่ ว (Tourist Boat Standard)

มาตรฐานห้องน้ำสาธารณะเพือ่ การท่องเทีย่ วระดับสากล
(Public Restroom Standard for Tourism : International Level)


1I 33

การดำเนินงานอบรมให้ความรู้
งานตรวจระบบบริหารงานคณุ ภาพฯ และอืน่ ๆ

1I 34

ศูนย์ความปลอดภยั อาหาร

FOOD SAFETY CENTER : FSC

ความเปน็ มา

ในปี พ.ศ.2547 เปน็ ปที รี่ ฐั บาลประกาศใหเ้ ปน็ ปแี หง่ อาหารปลอดภยั เพอื่ ผลติ อาหารปลอดภยั สงู สกู่ ารเปน็ ครวั ของโลก
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวเิ คราะหค์ วามเสยี่ งและการตดั สนิ ใจ (รากาล) ไดเ้ รมิ่ กอ่ ตงั้ มาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2546 โดยดำเนนิ การวจิ ยั
เพอื่ แกป้ ญั หา พฒั นา และสรา้ งองคค์ วามรเู้ พอื่ พฒั นาอาหารปลอดภยั แกอ่ ตุ สาหกรรมเนอื้ ไก่ อาหารทะเล ตลอดจน
อาหารแปรรปู เพอื่ ในประทศและการสง่ ออก เพอื่ ใหก้ ารดำเนนิ งานมคี วามตอ่ เนอื่ งและสามารถผลติ งานไดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขนึ้ ไดม้ กี ารปรบั ขยายการดำเนนิ งานของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารสกู่ ารเปน็ ศนู ยค์ วามปลอดภยั อาหาร
ที่มีความสอดคล้องและสอดรับกับศูนย์อื่นๆ ในสำนักวิจัยและบริการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สวท.)
โดยมีวัตถุประสงค์และขอบเขตการดำเนินงานที่ชัดเจน คือ เพื่อสร้างงานด้านการวิจัย และพัฒนาด้านการ
ประเมนิ ความเสยี่ งตอ่ อนั ตรายดา้ นจลุ นิ ทรยี แ์ ละสารเคมใี นอาหาร ความปลอดภยั อาหาร และการปอ้ งกนั ความเสยี่ ง
เพอื่ สนบั สนนุ ใหอ้ าหารมคี วามปลอดภยั เปน็ ศนู ยฝ์ กึ อบรม วเิ คราะห์ ทดสอบ รบั รอง และใหก้ ารปรกึ ษาทเี่ ปน็ มาตรฐาน
เพอื่ ใหผ้ ผู้ ลติ อาหาร และผสู้ ง่ ออกอาหารไดร้ บั การรบั รองระบบการผลติ และความปลอดภยั อาหาร การถา่ ยทอด
เทคโนโลยี ผลการวจิ ยั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความแพรห่ ลาย และมกี ารนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นภาคอตุ สาหกรรม เอกชน และ
ภาคราชการที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการควบคุมความปลอดภัยอาหาร ส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือ
ดา้ นงานวจิ ยั และพฒั นา ระหวา่ งหนว่ ยงานราชการ อตุ สาหกรรม และ นกั วจิ ยั เพอื่ จดั ตง้ั เปน็ Center of Excellence in
Food Safety ตลอดจนหารายไดเ้ พอื่ สนบั สนนุ งานวจิ ยั และกจิ กรรมตา่ งๆ ของศนู ยไ์ ด้ โดยขอรบั การสนบั สนนุ ทนุ จาก
หน่วยงานต่างๆ ท้ังภาครฐั และเอกชน

วตั ถุประสงค์

- เพอื่ สรา้ งงานวจิ ยั และพฒั นาดา้ นการประเมนิ ความเสยี่ งตอ่ อนั ตรายดา้ นจลุ นิ ทรยี แ์ ละสารเคมใี นอาหาร
ความปลอดภยั อาหาร และการปอ้ งกนั ความเสยี่ ง เพอื่ สนบั สนนุ ใหอ้ าหารมคี วามปลอดภยั เพอื่ คมุ้ ครองตอ่ ผบู้ รโิ ภค
ทง้ั ในและตา่ งประเทศทปี่ ระเทศไทยสง่ ออกสนิ คา้ อาหาร ตลอดจนเพอื่ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การสง่ ออกอาหารของ
ประเทศไทย

- เปน็ ศนู ยฝ์ กึ อบรม วเิ คราะห์ ทดสอบ รบั รองผลติ ภณั ฑแ์ ละกระบวนการ และใหก้ ารปรกึ ษาทเี่ ปน็ มาตรฐาน
เพอื่ ใหผ้ ผู้ ลติ อาหารและผสู้ ง่ ออกอาหารไดร้ บั การรบั รองระบบการผลติ และความปลอดภยั อาหาร

- เพอื่ สนบั สนนุ การถา่ ยทอดเทคโนโลยี ผลการวจิ ยั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความแพรห่ ลาย และมกี ารนำไปใชป้ ระโยชน์
ในภาคอตุ สาหกรรม เอกชน และภาคราชการทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ผลติ ภณั ฑแ์ ละกระบวนการผลติ อาหารใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและ
ปลอดภยั

- เพอื่ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ดา้ นงานวจิ ยั และพฒั นา ระหวา่ งหนว่ ยงานราชการ อตุ สาหกรรม
และนกั วจิ ยั

- หารายไดเ้ พอื่ สนบั สนนุ งานวจิ ยั และกจิ กรรมตา่ งๆ ของศนู ยไ์ ด้ โดยขอรบั การสนบั สนนุ ทนุ จากหนว่ ยงานตา่ งๆ
ทงั้ ภาครฐั และเอกชน

- พฒั นาบคุ ลากรภายใน มจธ. เพอื่ ใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถดา้ นความปลอดภยั อาหาร และมาตรฐานสากล

I135

ขอบเขตงาน

ศนู ยค์ วามปลอดภยั อาหาร มคี วามพรอ้ มทจี่ ะทำการวจิ ยั พฒั นา และถา่ ยทอดเทคโนโลยดี า้ นความปลอดภยั อาหาร
การประเมนิ ความเสยี่ งตอ่ ความปลอดภยั ในอาหาร ตลอดจนการแทรกแซงเพอื่ ลดความเสยี่ ง เพอื่ ใหอ้ าหารมคี วาม
ปลอดภยั อันเปน็ ผลดีต่อสุขภาพประชาชน โดยมีการดำเนินงานหลกั ๆ ดังต่อไปนี้

1. สรา้ งงานวจิ ยั และองคค์ วามรดู้ า้ นความปลอดภยั ของอาหารจากกระบวนการผลติ แปรรปู ระบบบรหิ าร
ความปลอดภยั ความเสีย่ งของอาหาร และการแทรกแซงที่เหมาะสม

2. พฒั นาชดุ ทดสอบรวดเรว็ ทสี่ ามารถบง่ ชปี้ ญั หาและแนวทางการแกไ้ ขปญั หาความปลอดภยั และคณุ ภาพ
ในอตุ สาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนือ่ งได้รวดเร็ว

3. เปน็ ศนู ยฝ์ กึ อบรม ถา่ ยทอดเทคโนโลยี ดา้ นระบบการบรหิ ารความปลอดภยั อาหาร (Sanitation Standard
Operating Procedure (SSOP), Good Manufacturing Practices (GMP), Hazard Analysis and Critical Control
Point (HACCP), และระบบมาตรฐาน ISO ทีเ่ กีย่ วข้องกบั การผลิตอาหาร) อาทิ เช่น ISO 22000 (Food Safety
Management Systems, FSMS) และความเสยี่ งอาหาร ตลอดจนการมหี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารวเิ คราะหว์ จิ ยั ในองคป์ ระกอบที่
เกี่ยวข้องกับความปลอดภยั และความเสี่ยง

4. ส่งเสริมความร่วมมือ ประสานระหว่าง มหาวิทยาลัย ภาคเอกชน และภาคราชการ เพื่อเกิดความ
เชอื่ มโยงดา้ นความรว่ มมอื การวจิ ยั พฒั นา ตลอดจนการนำองคค์ วามรไู้ ปถา่ ยทอดและประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งเหมาะสม

5. สง่ เสรมิ การพฒั นาบคุ คลากรในหนว่ ยงานเอกชนและราชการ โดยการวจิ ยั พฒั นารว่ มกนั กบั เครอื ขา่ ย
ที่เกีย่ วข้อง การแลกเปลีย่ นนกั ศึกษา/นกั วิจัยกับหน่วยงานในเครือข่ายความร่วมมือท้ังในและต่างประเทศ

บุคลากร หวั หน้าศูนย์
นักวิจยั
1. รศ.ดร.ประเวทย์ ตุ้ยเต็มวงศ์ นกั วิจยั
2. นางสาวปิยะรตั น์ คนั ธวะโร ผู้ประสานงานโครงการ
3. นางสาวปาริฉตั ร รัตนผล ผู้ช่วยนักวิจัย
4. นางสมพร ไชยสมบตั ิ ผู้ช่วยนักวิจัย
5. นายพีระพนธ์ ไชยสลี
6. นางสาวพัชราภรณ์ ท้วมแก้ว

1I 36

โครงการทีด่ ำเนินการ

โครงการบริการวิชาการจากภายนอก

โครงการ หัวหน้าโครงการ ผวู้ ่าจา้ ง ระยะเวลา งบประมาณ


ดำเนินการ (บาท)

โครงการที่ปรึกษาดำเนินการ รศ.ดร.ประเวทย์ หจก. เอส แอนด์ 1 มีนาคม 2561 300,000
จัดทำระบบบริหารงานคุณภาพ ตุ้ยเตม็ วงศ์ เอ รีเอเจน็ ท์ แลบ็ ถึง
มาตรฐาน ISO13485:2016
31 กรกฎาคม 2561

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการ รศ.ดร.ประเวทย์ ศนู ยส์ ง่ เสรมิ 14 มิถนุ ายน 2561 4,219,000

ผลิตและการบริหารธุรกิจ ตุ้ยเต็มวงศ์ อตุ สาหกรรมภาคที่ 8 ถึง

อตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู พนื้ ที่ กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม 26 กันยายน 2561

จงั หวัดกาญจนบุรีและราชบรุ ี

โครงการกิจกรรมวิจัยและ รศ.ดร.ประเวทย์ สถาบนั อาหาร มกราคม 2560 299,000
ถึง
ประเมินความเสี่ยงด้านอาหาร ตุ้ยเตม็ วงศ์
ปลอดภยั (โลหะหนกั ) ภายใต้ มีนาคม 2561
โครงการพัฒนาอุตสาหกรรม
อาหารด้วยระบบมาตรฐานเพื่อ
เปน็ ครวั อาหารของโลก

งานรบั จา้ ง/งานทดสอบ หนว่ ยงานทีว่ ่าจ้าง ระยะเวลาดำเนินการ มูลค่างาน
งานรบั จ้าง/งานทดสอบ

บริการสอบเทียบเครื่องวัดความชื้นเมล็ดพนั ธ์ุ บริษทั เอกชน 1 ตลุ าคม 2560 371,600
ถึง 240,500
บริการตรวจสอบเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร บริษทั เอกชน
30 กนั ยายน 2561

1 ตุลาคม 2560
ถึง

30 กันยายน 2561

1I 37




















Click to View FlipBook Version