บทท่ี 1
บทนำ
ศูนย์การจัดการด้านพลังงาน ส่ิงแวดล้อม ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย(EESH) ได้ถูกมอบหมายจาก
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ใี หท้ าหนา้ ทดี่ ้านการพัฒนาระบบและคู่มือปฏิบัตดิ า้ นการบริหารจัดการ
ควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัยด้านต่างๆ ท่ีสอดคล้องกับกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ธนบุรี ตลอดจนการจัดกิจกรรมเพ่ือให้เกิดการปฏิบัติตามระบบท่ีได้พัฒนาข้ึน ทั้งน้ีเพื่อให้เกิดความเข้าใจถึง
ข้ันตอนการปฏิบัติการและมั่นใจในการประสานงานและปฏิบัติการระงับเหตุฉุกเฉินจากอุบัติภัยในด้านต่างๆ
เพ่ือให้เกิดความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของนักศึกษาและบุคลากรท่ีปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัยอย่าง
แทจ้ ริง
ระบบบริหารจัดการควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีน้ีได้
กล่าวถึง การจัดแผนผังองค์กรด้านการบริหารจัดการควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัย พร้อมบทบาทหน้าที่ความ
รบั ผดิ ชอบ และกล่าวถึงรายละเอียดของการจัดการควบคุมภาวะฉุกเฉนิ และประสานงานด้านการระงับเหตฉุ ุกเฉิน
ในระดับปฏิบัติการท่ีพัฒนาขึ้นตามมาตรฐานสากล ตลอดจนข้ันตอนหลักของการปฏบิ ัติการควบคุมและระงับเหตุ
ฉุกเฉินทั้งน้ี เพ่ือให้ทราบถึงหลักในการปฏบิ ัติการดา้ นการควบคุมและระงับเหตุฉุกเฉินเบื้องต้น พร้อมข้ันตอนการ
เตรียมพร้อมและวิธีการปฏิบัติ เพ่ือให้เข้าใจในการเตรียมพร้อมและจัดตั้งทีมระงับเหตุฉุกเฉินขึ้นภายใน
มหาวิทยาลัย
ระบบบริหารจัดการควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีที่
พฒั นาขึ้นน้ีไดน้ าระบบการระงับเหตุฉุกเฉนิ จากอัคคีภัยของ NFPA และระบบการควบคุมและระงบั เหตฉุ ุกเฉินจาก
สารเคมีของ EPA และการระงับอุบัติภัยของกรมบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทยมาปรับใช้ให้เข้ากับ
กิจกรรมของมหาวิทยาลัย ท้ังน้ีเพื่อให้เกิดระบบที่มีความร่วมมือและประสานการทางานกับองค์กรภายใน
มหาวิทยาลัยและหน่วยงานภายนอกท่ีเก่ียวข้องเพื่อช่วยเหลือในการควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัยภายใน
มหาวทิ ยาลัยตอ่ ไป ระบบบรหิ ารจดั การควบคมุ ภาวะฉกุ เฉินจากอุบัติภัย 2563
ระบบบริหารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 1
บทท่ี 2
กำรจดั ตั้งคณะกรรมกำรควบคุมภำวะฉุกเฉินจำกอุบัตภิ ัย มจธ.
ในการบริหารจัดการควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภยั ภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี
ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัย มจธ. และทีมงานระงับเหตุฉุกเฉิน มจธ. ขึ้น โดย
แผนผังองคก์ รและบทบาทหนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบของคณะกรรมการควบคุมภาวะฉุกเฉนิ จากอุบัตภิ ยั มจธ. เปน็ ดงั น้ี
คณะกรรมกำรควบคุมภำวะฉุกเฉินจำกอุบตั ภิ ัย
มจธ.
ผอู้ ำนวยกำรควบคุมภำวะฉุกเฉนิ
อธกิ ารบดี
หัวหนำ้ ฝ่ำยควบคุมกำรสั่งกำร หวั หน้ำฝำ่ ยประสำนงำนควบคมุ ภำวะ
รองอธกิ ารฉบกุ ดเีฝฉ่านิ ยบรหิ าร
คณบดี/ผู้อานวยการคณะสานกั งานท่เี กดิ
เหตุ หน่วยประสำนงำนดำ้ นวชิ ำกำรและเทคนคิ
หน่วยประสำนงำนดำ้ นปฏิบตั ิกำร ศนู ย์ EESH
สานกั บรหิ ารอาคารและสถานที่ เครอื ขำ่ ยสนับสนุนควบคุม/ระงับเหตจุ ำกภำยนอก
- ศูนยป์ ้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
- ศูนยน์ เรนทร
- อาสาสมัครกภู้ ัย
หน่วยปฏบิ ตั ิกำรควบคุม/ระงบั หน่วยสนบั สนนุ ชว่ ยเหลือทำงกำรแพทยแ์ ละพยำบำล หน่วยสนบั สนนุ หลกั ดำ้ นข้อมลู
- ทีมงานระงับเหตุฉเุกหเตฉุนิ มจธ. - หวั หนา้ ภาควขิช่ำาว/สหำัวรหน้าฝ่ายที่เกิดเหตุ
- สว่ นงานพยาบาล มจธ.
- เครือข่ายสนับสนนุ การควบคุม/ระงบั เหตจุ าก - โรงพยาบาลบางปะกอก - เลขานุการคณะ/สานกั ทเ่ี กิดเหตุ
ภายนอก - โรงพยาบาลพระรามสอง - ทีมงานระงับเหตฉุ กุ เฉนิ ประจาอาคาร
- ตารวจในทอ้ งท่ี
ระบบบรหิ ารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 2
บทบำทหน้ำทีร่ บั ผิดชอบของคณะกรรมกำรควบคุมภำวะฉุกเฉนิ จำกอบุ ัติภัย มจธ. เป็นดังน้ี
1. ผอู้ ำนวยกำรควบคมุ ภำวะฉกุ เฉนิ
โดยอธิการบดี มบี ทบาทหน้าทีร่ บั ผดิ ชอบดังนี้
1.1. วางแผนอานวยการควบคมุ ภาวะฉกุ เฉนิ และมีอานาจตดั สินใจสง่ั การ กาหนดแนวทางการดาเนนิ การ
1.2. มอบหมายหน้าที่การทางานและสนับสนุนการทางานของฝ่ายปฏิบัติการ เพื่อให้สามารถควบคุม
สถานการณไ์ ด้อยา่ งรวดเร็วและมีประสทิ ธภิ าพ
1.3.ประเมินสถานการณ์เพื่อตัดสินใจขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานอ่ืน ทั้งภายนอกและภายใน
มหาวทิ ยาลยั ในกรณที ่ไี มส่ ามารถควบคมุ ได้เพื่อป้องกนั ความเสยี หายท่ีอาจเกดิ ขึ้น
2. หวั หน้ำฝ่ำยประสำนงำนควบคมุ ภำวะฉกุ เฉิน
โดยรองอธิการบดฝี ่ายบรหิ ารท่ีไดร้ บั มอบหมาย มบี ทบาทหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบดงั น้ี
2.1. จัดการประสานงานเพื่อให้เกิดการปฏิบัติตามแผนอานวยการ แนวทางการดาเนินการและการสั่งการ
จากผูอ้ านวยการควบคมุ ภาวะฉุกเฉิน
2.2. ประสานการทางานกับฝ่ายต่างๆ เพ่ือให้เกิดการควบคุมภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพ และสามารถ
ควบคุมสถานการณ์ไดภ้ ายในระยะเวลาอนั สั้น
2.3. ทาหน้าทอี่ น่ื ๆ ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมายจากผูอ้ านวยการควบคมุ ภาวะฉุกเฉนิ
2.4. ทาหน้าทเ่ี ฉพาะด้านการส่ือสาร และแถลงขา่ วต่อส่อื มวลชน
3. หัวหน้ำฝำ่ ยควบคุมกำรสง่ั กำร
โดยคณบดีหรอื ผ้อู านวยการของคณะ/สานักทีเ่ กดิ เหตุ มีบทบาทหนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบดงั นี้
3.1. ประเมนิ สถานการณ์รว่ มกับผู้อานวยการควบคุมภาวะฉกุ เฉนิ และเปน็ ผคู้ วบคมุ การส่ังการ
3.2. ประสานงานกับทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินภายใน มจธ. และเครือข่ายสนับสนุนการระงับเหตุฉุกเฉินจาก
หน่วยงานภายนอก และหน่วยสนับสนุนเพื่อให้ความช่วยเหลือในการควบคุมสถานการณ์ กาหนด
เสน้ ทางการจราจรในพ้นื ท่ี การอพยพและการระงับอบุ ตั ิภยั
3.3. ประสานงานและให้ข้อมูลในการสนับสนุน อานวยความสะดวกในการปฏิบัติการควบคุมสถานการณ์
และระงบั เหตุ เพ่ือให้เกิดความเสยี หายนอ้ ยทส่ี ุด
3.4. จดั ทารายงานการเกดิ อบุ ัติภัยนาเสนอตอ่ อธกิ ารบดหี ัวหนา้ ฝา่ ยประสานงานควบคุมภาวะฉุกเฉิน
4. หน่วยประสำนงำนดำ้ นวชิ ำกำรและเทคนคิ
โดยศูนย์ EESH มีบทบาทหน้าทร่ี บั ผิดชอบดงั น้ี
4.1. กาหนดแผนการการเตรียมความพร้อมและแผนฝึกอบรม/ฝึกซ้อมการควบคุมภาวะฉุกเฉินและการ
ระงับเหตเุ บื้องตน้
ระบบบริหารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 3
4.2. ให้ขอ้ มลู ดา้ นสารเคมี/สารอันตรายที่อยู่ในบริเวณที่เกดิ เหตุ ตลอดจนแก๊สและความเป็นอันตรายดา้ นต่าง
ๆ
4.3. ให้ข้อมูลด้านวิชาการในการป้องกัน/จัดการ ตลอดจนการใช้อุปกรณ์ป้องกันท่ีถูกต้องตามมาตรฐาน
ให้กบั ฝา่ ยระงบั เหตุในเบื้องต้น
4.4. ประสานในการให้ข้อมูลด้านวิชาการ/ด้านเทคนิค ตลอดจนข้อมูลของหน่วยสนับสนุนตามการร้องขอ
ของฝา่ ยควบคุมสัง่ การ
4.5 ช่วยประเมินสถานการณ์ โดยส่งผู้เช่ียวชาญเข้าร่วมในการตัดสินใจเข้าระงับเหตุเองหรือขอความ
ช่วยเหลอื จากหน่วยงานภายนอก
5. หน่วยประสำนงำนดำ้ นปฏิบัตกิ ำร
โดยสานักบรหิ ารอาคารและสถานที่ มบี ทบาทหนา้ ที่รบั ผดิ ชอบดังน้ี
5.1 เป็นศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน ซ่ึงเม่ือได้รับการแจ้งเหตุต้องดาเนินการส่งหน่วยประสานงานเข้าตรวจสอบ
พื้นที่
5.2 ทาหน้าท่ีประสานงานกับทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคารและทีมงานระงับเหตุฉุกเฉิน มจธ. เพื่อ
เตรยี มรับสถานการณ์
5.3 ประสานงานกับผู้ควบคุมการส่ังการเพ่ือร่วมกับทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินในการควบคุมพ้ืนท่ีและควบคมุ
สถานการณ์
5.4 รับการส่ังการและประสานให้เกิดการดาเนินงาน/ปฏิบัติตามการสั่งการอย่างเคร่งครัดและเป็นไปตาม
ข้นั ตอนปฏิบตั ิการ
5.5 ประสานกับเครือข่ายสนับสนุนการควบคุมและระงับเหตุฉุกเฉินภายนอก และอานวยความสะดวกใน
การเข้าปฏิบตั ิการ
5.6 ประสานด้านการตรวจสอบพื้นที่หลังเกิดเหตุ และจัดทารายงานนาเสนอต่อหัวหน้าฝ่ายประสานงาน
ควบคมุ ภาวะฉกุ เฉิน
6. เครอื ขำ่ ยสนับสนุนควบคมุ /ระงบั เหตุจำกภำยนอก
โดยศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย , ศูนย์นเรนทร , ตารวจดับเพลิง ,พนักงานตารวจจราจรและ
หนว่ ยงานอน่ื ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง มีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบดงั นี้
6.1 เขา้ ป้องกันชว่ ยเหลอื และสนบั สนนุ ในการควบคมุ และระงบั เหตฉุ ุกเฉนิ ตามสถานการณ์ท่ีเกดิ ข้นึ
6.2 เข้าช่วยเหลือในการประเมินสถานการณ์และตรวจสอบพื้นท่ีขณะเกิดเหตุและหลังเกิดเหตุ เพ่ือให้เกิด
ความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพย์สนิ
6.3 ช่วยเหลอื ด้านการฝึกอบรม/ฝึกซอ้ มการควบคุมอุบัติภัยและระงบั เหตุฉกุ เฉนิ
ระบบบริหารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 4
7. หน่วยปฏิบตั กิ ำรควบคุม/ระงบั เหตุ
โดยทีมงานระงบั เหตุฉุกเฉิน มจธ. มบี ทบาทหนา้ ที่รบั ผิดชอบดงั น้ี
7.1 จดั ทาแผนควบคุมภาวะฉกุ เฉินประจาอาคารทรี่ ับผิดชอบ โดยทมี งานระงบั เหตฉุ กุ เฉนิ ประจาอาคารและ
มีการแบ่งบทบาทหน้าท่ีรบั ผดิ ชอบในการประสานงานและขั้นตอนปฏิบัติการเพ่ือจัดทาเส้นทางและกน้ั
บรเิ วณพืน้ ที่ การอพยพคนสทู่ ี่ปลอดภัย ตลอดจนการฝกึ ซอ้ มเพอ่ื เตรยี มการ
7.2 ประสานกับทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินของอาคารอื่นภายใน มจธ. และหน่วยประสานงานด้านปฏิบัติการ
ในการดาเนินการวางแผนปฏิบัติการ ร่วมกับผู้ควบคุมการสั่งการในการดาเนินการควบคุมสถานการณ์
และระงบั เหตุเบอ้ื งต้น
7.3 ปฏิบัติการตรวจสอบพื้นท่ีหลังเกิดเหตุและจัดทารายงานนาเสนอต่อหัวหน้าฝ่ายประสานควบคุมภาวะ
ฉุกเฉินและหวั หนา้ ฝา่ ยควบคุมการสง่ั การ เพื่อรวบรวมสรปุ ให้กับอธกิ ารบดตี ่อไป
8. หนว่ ยสนับสนนุ หลักดำ้ นข้อมูลข่ำวสำร
โดยหัวหน้าภาควิชา/หวั หน้าฝา่ ยท่ีเกิดเหตุ/เลขานกุ ารของคณะ/สานักที่เกดิ เหตุและทีมงานระงับเหตุฉุกเฉิน
ประจาอาคาร มบี ทบาทหนา้ ที่รบั ผิดชอบดงั น้ี
8.1 ให้ข้อมลู /จัดเตรยี มขอ้ มูลดา้ นพ้นื ท/ี่ สารอันตราย/อุปกรณ์ป้องกนั ภัยท่ีมีอยู่ภายในพ้นื ทบ่ี ริเวณตลอดจน
อุปกรณร์ ะงบั เหตเุ บือ้ งตน้
8.2 อานวยความสะดวกให้กับทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคารของ มจธ. และหน่วยงานภายนอกใน
การเขา้ ควบคมุ พ้ืนท่ีและควบคมุ สถานการณ์ ตลอดจนการจดั การเสน้ ทางเพื่อใหเ้ กดิ ความสะดวกในการ
ปฏิบัตงิ าน
8.3 ปฏิบัติงานตามการสั่งการหรือตามที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าฝ่ายควบคุมการส่ังการเพื่อให้การ
ดาเนินการควบคุมภาวะฉุกเฉินและการระงับเหตุจากอุบัติภัยเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมี
ประสทิ ธิภาพ
8.4 จัดทารายงานการปฏบิ ัตกิ ารนาเสนอตอ่ หวั หน้าฝา่ ยควบคุมการส่ังการเพ่ือรวบรวมนาเสนออธิการบดี
9. หนว่ ยสนบั สนนุ /ชว่ ยเหลอื ทำงกำรแพทยแ์ ละพยำบำล
โดยสว่ นงานพยาบาล มจธ. มีบทบาทหน้าที่รบั ผิดชอบดังนี้
9.1 จัดเตรยี มสถานท่แี ละความพร้อมในการเขา้ ชว่ ยเหลือดา้ นการปฐมพยาบาลและงานพยาบาลเบ้อื งต้น
9.2 ประสานหน่วยบริการการแพทย์เคล่ือนที่/โรงพยาบาลเครือข่ายภายนอกในการจัดรถบริการพยาบาล
เพ่ือช่วยเหลอื ผู้บาดเจบ็ และนาสง่ โรงพยาบาล
9.3 จัดทารายงานสรุปการบาดเจ็บและการดาเนินการในการสนับสนุนช่วยเหลือทางการแพทย์และ
พยาบาลนาเสนอตอ่ หัวหนา้ ฝ่ายควบคุมการสั่งการและหวั หน้าฝา่ ยประสานงานควบคุมภาวะฉุกเฉินเพ่ือ
รวบรวมนาเสนอต่ออธิการบดีตอ่ ไป
ระบบบรหิ ารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 5
บทที่ 3
กำรจดั ต้ังทีมงำนระงบั เหตุฉุกเฉนิ ประจำอำคำรและทมี งำนระงับเหตฉุ ุกเฉิน มจธ.
เพ่ือเป็นการป้องกันและเตรียมความพร้อมในการรับมือการเกิดอุบัตเิ หตุฉุกเฉินและอุบัติภัยร้ายแรงท่ีคาด
ไม่ถงึ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีจึงได้จดั ต้ังทีมงานระงบั เหตุฉกุ เฉนิ ประจาอาคารและประสานการ
ทางานระหว่างอาคารใหเ้ กิดทีมงานระงับเหตุฉกุ เฉนิ ภายใน มจธ. ขึน้ ท้งั นีเ้ พือ่ เป็นการพฒั นาบุคลากรทีม่ ีอยู่เดิมให้
มีบทบาทหนา้ ท่ีรับผิดชอบในการปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉนิ และระงับเหตุฉุกเฉินเบ้ืองต้น โดยมกี ารมอบหมาย
ภาระงานบางส่วนให้เกิดทีมงานที่สามารถควบคุมพื้นท่ีสถานการณ์และจัดการภาวะฉุกเฉินได้ภายในอาคารที่
ตนเองรับผิดชอบ ตลอดจนมีเครือข่ายเช่ือมโยงกับทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินจากอาคารอื่น หน่วยประสานงานด้าน
ปฏิบัติการในการเข้าปฏิบัติงานเพื่อดาเนินการแทน หรือเข้าช่วยเหลือเพ่ือสามารถควบคุมและระงับเหตุได้ภายใน
ระยะเวลาอันส้ัน ซึง่ ทีมงานระงับเหตุฉุกเฉนิ ประจาอาคารและทีมงานระงับเหตุฉุกเฉนิ ภายใน มจธ. ทพ่ี ฒั นาข้ึนน้ัน
ต้องผ่านการฝกึ อบรมด้านการระงับเหตุฉกุ เฉินเบ้ืองต้นเพ่ือจัดทาข้อมลู และแผนปฏิบัติการควบคุมภาวะเหตุฉุกเฉิน
ประจาอาคาร และการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการควบคุมภาวะฉุกเฉินและการระงับเหตุฉุกเฉินเบ้ืองต้น
ตลอดจนดาเนินการจัดการฝึกซ้อมการควบคุมภาวะฉุกเฉินและการระงับเหตุฉุกเฉินเบื้องต้นภายในอาคารท่ี
รับผิดชอบ เพื่อให้เกิดระบบการเตรียมความพร้อมที่สามารถปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉินและระงับเหตุฉุกเฉิน
ภายใน มจธ. ได้ทันท่วงทีเมื่อเกิดอุบัติภัยข้ึน โดยผลของการปฏิบัติการจะก่อให้เกิดประโยชน์ท้ังในด้านของความ
ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของนักศึกษาและบุคลากรเป็นหลัก ตลอดจนสามารถขยายผลและเผยแพร่ไปยัง
หนว่ ยงานอืน่ ทมี่ กี ารดาเนินงานคลา้ ยคลงึ กนั ได้ต่อไปในอนาคต
รูปแบบขององคก์ รและบทบำทหนำ้ ทีร่ ับผิดชอบของทีมงำนระงับเหตุฉกุ เฉนิ ประจำอำคำร
การจัดระบบและรูปแบบของทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคาร ได้ประยุกต์จาก Incident
Command System (ICS) และการดาเนินงานควบคมุ ภาวะฉุกเฉินโดยวธิ ีการตามมาตรฐานจาก ICS Operation
Guidelines โดยประยุกต์ให้เข้ากับการดาเนินกิจกรรมของ มจธ. โดยทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคารมี
บทบาทหนา้ ทรี่ ับผิดชอบดงั น้ี
1. จัดทาข้อมูลแผนผังของอาคารแต่ละช้ันในสถานภาพปัจจุบัน โดยระบุถึงทางออก, ระบบเตือนภัย,
ตาแหน่งของอุปกรณ์ระงับเหตุเบื้องต้นและหมายเลขโทรศัพท์แจ้งเหตุฉุกเฉินติดประจาและเส้นทางหนีไฟหรือ
อพยพคนในกรณฉี ุกเฉิน
2. จัดระบบระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคารพร้อมคู่มือและขั้นตอนปฏิบัติการแจ้งเหตุให้กับบุคลากรและ
หนว่ ยงานในอาคารพร้อมจัดกิจกรรมให้เกิดการรบั รู้และปฏบิ ัติตามข้ันตอน
3. กรณีการปฏิบัติงานควบคุมและระงับเหตุฉุกเฉินตามแผนปฏิบัติงานตามท่ีได้รับมอบหมายจะต้องเข้า
ดาเนินการในระบบ Buddy คือ ทางานเป็นคู่เสมอเพื่อที่จะสามารถสร้างความม่ันใจในความปลอดภัยของผู้เข้า
ปฏบิ ตั ิงาน
ระบบบรหิ ารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 6
4. การปฏิบัติงานต้องคานึงถึงความปลอดภัยของตนเองเป็นหลัก โดยต้องหยุดดาเนินการทันทีในกรณีที่
เกดิ ภาวะไมป่ ลอดภัยสาหรบั การเข้าปฏบิ ตั ิงานหรอื กรณมี เี คร่ืองมืออุปกรณ์ท่ีไม่เพียงพอ
5. ต้องผ่านการฝึกอบรมเร่ืองระบบระงับเหตุฉุกเฉินและการฝึกซ้อมการป้องกันและระงับอุบัติภัย
เบื้องตน้ เพ่อื ให้สามารถดาเนินการเพื่อควบคมุ และระงับเหตุฉุกเฉินได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
ทีมงำนระงบั เหตุฉกุ เฉนิ ประจำอำคำร มจธ.
ผู้จัดการทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคาร
Incident Command (Commander)
ฝา่ ยแผนงานและข้อมลู การใช้อาคารพนื้ ทขี่ อง มจธ. ศนู ย์ EESH
สานักบริหารอาคารและสถานที่
รว่ มกับพนกั งานรักษาความปลอดภยั
ฝา่ ยแผนงานและขอ้ มูลอาคาร ฝ่ายสวสั ดิการ และสนับสนุนให้บริการ ฝ่ายปฏบิ ตั งิ านควบคุมและระงบั เหตุเบอื้ งต้น ฝ่ายการเงนิ วิเคราะห์และประเมนิ ผล
Planning Section Logistics Section Operations Section Financial/Administration Section
บทบำทหน้ำทีร่ ับผิดชอบของทีมระงบั เหตฉุ ุกเฉินประจำอำคำร เป็นดงั นี้
1. ผู้จัดกำรทมี ระงับเหตฉุ ุกเฉินประจำอำคำร (Incident Command, Commander)
มบี ทบาทหนา้ ที่รับผดิ ชอบดังน้ี
1.1 ควบคมุ ดูแลในการจดั ทาแผนปฏิบตั กิ ารควบคมุ ภาวะฉุกเฉนิ และระงบั เหตเุ บ้อื งต้นประจาอาคาร
1.2 เป็นหัวหน้าทีมในการระดมสมองวางแผนปฏิบัติงาน และส่ังการตามข้ันตอนการปฏิบัติงานควบคุม
ภาวะฉกุ เฉิน และระงับเหตฉุ กุ เฉินเบ้ืองต้นภายในอาคาร
1.3 ประสานงานด้านการจัดทาข้ันตอนปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉิน และระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคาร
และกาหนดเสน้ ทางอพยพคน
1.4 ประสานงานด้านการจดั ทาแผนฝกึ ซอ้ ม การควบคุม และระงับเหตุฉุกเฉนิ ประจาอาคาร
1.5 ประสานงานกับหน่วยประสานงานด้านปฏิบัติการ และหัวหน้าฝ่ายควบคุมการสั่งการในการวางแผน
เขา้ ควบคมุ ภาวะฉกุ เฉิน และระงบั เหตุฉกุ เฉนิ เบ้ืองตน้ ในการเกิดเหตุฉุกเฉนิ และอบุ ัตภิ ยั
1.6 เข้ารว่ มเป็นกรรมการ และทมี ระงับเหตฉุ ุกเฉนิ ประจามหาวทิ ยาลัย
ระบบบรหิ ารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 7
2. ศูนย์ EESH โดยฝำ่ ยจัดกำรควำมปลอดภัยและระงับเหตฉุ กุ เฉิน มบี ทบาทหน้าทร่ี ับผดิ ชอบดงั น้ี
2.1 ประสานด้านการจดั ทาแผนฝึกอบรม จัดทาคู่มือระงับเหตุฉุกเฉนิ ประจาอาคาร และฝึกซอ้ มการควบคุม
และระงบั เหตฉุ กุ เฉิน
2.2 ประสานด้านการจัดหาป้ายประกาศวัสดุอุปกรณ์ท่ีจาเป็นเบื้องต้นในการจัดเตรียมระบบควบคุม และ
ระงบั เหตฉุ ุกเฉนิ ประจาอาคาร
2.3 ทาหน้าท่ีประเมินอันตราย และภาวะที่ไม่ปลอดภัย และพัฒนาระบบตรวจสอบเพ่ือให้เกิดความ
ปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน และเพิม่ ความมั่นใจวา่ ผูเ้ ขา้ ปฏิบัตงิ านควบคมุ และระงบั เหตุตอ้ งปลอดภยั
2.4 ให้ข้อมูลกับผู้มีอานาจตัดสินใจในกรณีฉุกเฉินที่จะหยุดการกระทาในภาวะที่ไม่ปลอดภัย หรือ
ดาเนินการใดๆ เพ่ือปอ้ งกนั การเกดิ อันตราย
2.5 ในการเกดิ ภาวะฉุกเฉินหรืออุบัตภิ ยั ต้องมีพนักงานความปลอดภัยของศูนย์ EESH ถูกมอบหมายให้เข้า
มาปฏิบตั ิงานและประสานงานด้านเทคนคิ และวิชาการ
3. สำนักบริหำรอำคำรและสถำนท่ีรว่ มกับพนกั งำนรกั ษำควำมปลอดภยั มบี ทบาทหนา้ ท่ีรับผิดชอบดังน้ี
3.1 ประสานงานในการจัดหาข้อมลู แผนผงั อาคาร และร่วมในการตรวจสอบตาแหนง่ ของสัญญาณเตือนภัย
และอุปกรณร์ ะงับเหตุเบอ้ื งตน้ ประจาอาคาร
3.2 ประสานงานดา้ นการรบั แจ้งเหตุ และการตรวจสอบพื้นทท่ี ไ่ี ดร้ บั แจง้ เหตุ เพอื่ ร่วมประเมนิ สถานการณ์
3.3 จดั หารายชอื่ และหมายเลขโทรศัพทข์ องผเู้ ชีย่ วชาญด้านการจัดการระบบต่างๆเตรยี มไว้
3.4 ให้ข้อมูล และร่วมระดมสมองในการจัดทาแผนปฏิบัติการ และข้ันตอนการปฏิบัติงาน ตลอดจน
หมายเลขโทรศพั ท์ติดตอ่ ในกรณีฉุกเฉนิ
3.5 เป็นฝ่ายรวบรวม และสรุปข้อมูล เพื่อจัดทารายงานและวิเคราะห์สาเหตุของการเกิด และแนวทางการ
ป้องกนั แก้ไข เพอื่ รายงานตอ่ คณะและมหาวิทยาลยั
3.6 เข้ารว่ มเป็นกรรมการ และทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินประจามหาวทิ ยาลัย
4. ฝำ่ ยแผนงำนและขอ้ มูลกำรใช้อำคำร และพน้ื ที่ มจธ. มบี ทบาทหน้าทร่ี ับผดิ ชอบดงั น้ี
4.1 ประสานงานในการให้ข้อมูลด้านการใช้อาคาร และพื้นทใี่ นสถานภาพปัจจุบนั
4.2 เปน็ แหลง่ ข้อมูลและฐานข้อมูลดา้ นรปู แบบอาคาร, แผนผังของพืน้ ท่ีแตล่ ะชน้ั ของอาคาร พร้อมรปู แบบ
การใช้อาคาร เพ่ือเป็นข้อมูลในการระงับเหตฉุ ุกเฉิน
4.3 เป็นแหล่งข้อมูลด้านระบบความปลอดภยั ภายในอาคาร โดยรวบรวมจากสานักบริหาร อาคารและ
สถานท่ี เพือ่ นามาจดั ทาฐานข้อมูลของมหาวิทยาลยั
4.4 เป็นฝ่ายรวบรวมข้อมูลอุบัติเหตุภาวะฉุกเฉินและอุบัติภัยท่ีเกิดขึ้นตลอดจนสรุป วิเคราะห์ รายงาน
ขอ้ มลู ก่อนเผยแพรไ่ ปยังหนว่ ยงานและสอ่ื อนื่ ๆ
ระบบบรหิ ารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 8
5. ฝ่ำยแผนงำนและขอ้ มูลประจำอำคำร (Planning Section) มบี ทบาทหน้าที่รบั ผิดชอบดงั นี้
5.1 จัดทาแผนงาน และระบบการจัดการด้านการเตรียมการเพื่อป้องกันภยั ควบคุมภาวะฉุกเฉิน และระงับ
เหตุฉุกเฉินเบ้ืองต้นประจาอาคาร ที่สอดคล้องและเป็นระบบเดียวกันทั่วมหาวิทยาลัย โดยประสานนา
ข้อมลู ดา้ นระบบแผนงาน และระบบการจัดการจากศนู ย์ EESH
5.2 จัดทาข้อมูลด้านพ้ืนที่แผนผังอาคาร เคร่ืองหมายทางหนีภัย และศูนย์ระงับเหตุ สัญญาณเตือนภัยใน
สภาพปัจจุบัน ติดประจาทุกชั้นให้มองเห็นง่าย และทาข้อมูลให้กับส่วนกลางเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูล ซึ่ง
จะนาไปใช้ในกรณีเกิดเหตุฉุกฉินหรืออุบัติภัย และควรมีการตรวจสอบข้อมูล เพื่อจัดทาเป็นข้อมูล
ปัจจุบนั ทุกๆ 3 เดอื น
5.3 จดั หารายช่อื และหมายเลขโทรศัพทข์ องผเู้ ชยี่ วชาญด้านการจัดการระบบตา่ งๆเตรียมไว้
5.4 ให้ข้อมูล และร่วมระดมสมองในการจัดทาแผนปฏิบัติการ และขั้นตอนการปฏิบัติงาน ตลอดจน
หมายเลขโทรศัพทต์ ดิ ตอ่ ในกรณีฉกุ เฉิน
5.5 เป็นฝ่ายรวบรวม และสรุปข้อมูล เพื่อจัดทารายงานและวิเคราะห์สาเหตขุ องการเกิด และแนวทางการ
ปอ้ งกันแก้ไข เพ่ือรายงานตอ่ คณะและมหาวทิ ยาลยั
5.6 เขา้ รว่ มเป็นกรรมการ และทีมงานระงับเหตุฉุกเฉนิ ประจามหาวิทยาลยั
6. ฝำ่ ยสวสั ดิกำรและสนบั สนุนใหบ้ ริกำร (Logistics Sections) มีบทบาทหน้าที่รับผดิ ชอบดังนี้
6.1 จัดเตรียมสถานที่บัญชาการการระงับเหตุ เตรียมเคร่ืองมืออุปกรณ์การระงับเหตุตามแผนปฏิบัติการ,
เคร่ืองมอื สื่อสาร, อาหารน้าดื่ม เพือ่ ให้การควบคุมระงับเหตุเปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว และมปี ระสทิ ธิภาพ
6.2 จัดหาเครือข่ายและแหล่งสนับสนุนด้านเครื่องมืออุปกรณ์การควบคุมและระงับเหตุฉุกเฉินและอุบัติภัย
และติดต่อประสานงานใหเ้ กิดการเตรียมพร้อมสาหรับการปฏิบตั ิงาน
6.3 ประสานงานเพื่อขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานภายในและภายนอกในการเข้าระงับเหตุและ
ชว่ ยเหลอื เช่น หน่วยบรกิ ารทางการแพทยแ์ ละพยาบาล, ระบบติดตอ่ ส่ือสาร, ยานพาหนะขนย้าย, รถ
บริการพยาบาล , อาหารน้าดื่ม, วัสดุอปุ กรณ,์ เครอื่ งมือเชือ้ เพลิงตลอดจนอุปกรณ์ชว่ ยบารงุ โดยจัดทา
Check list และสถานท่ีจัดเก็บทห่ี ยิบไดง้ ่ายและปลอดภยั
6.4 จัดหาวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือ สถานท่ี และบุคลากรจากหน่วยงานภายในและพนักงานทาความสะอาด
เพือ่ เข้ามาสนับสนนุ โดยจดั สถานท่ีใหเ้ ปน็ สัดส่วนและจัดให้เป็นโซนตามระบบมาตรฐาน
6.5 เป็นตัวการสาคัญในการควบคุมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโดยต้องมีส่วนร่วมในการระดมสมองในการ
จัดทาแผนการควบคุมและระงบั เหตฉุ กุ เฉินเบื้องตน้ เพ่ือเตรียมการดา้ นการสนบั สนุนตา่ ง ๆ
ระบบบริหารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 9
7. ฝำ่ ยปฏบิ ตั ิงำนควบคุมและระงบั เหตเุ บอ้ื งตน้ (Operation Section) มีบทบาทหน้าทรี่ ับผิดชอบดงั น้ี
7.1 ดาเนินการปฏิบัติงานควบคุมและระงับเหตุฉุกเฉินตามแผนปฏิบัติงานตามท่ีได้รับมอบหมายและต้อง
เขา้ ดาเนนิ การในระบบ Buddy คอื เขา้ ปฏบิ ตั งิ านเป็นคู่ เพอื่ ใหม้ ่ันใจในความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
7.2 การปฏิบัติงานต้องคานึงถึงความปลอดภัยของตนเองเป็นหลัก โดยต้องหยุดดาเนินการทันทีในกรณีที่
เกดิ ภาวะไมป่ ลอดภัยสาหรับการเขา้ ปฏบิ ตั งิ านหรือมเี คร่อื งมืออุปกรณ์ทไี่ ม่เพียงพอ
7.3 ต้องผ่านการฝึกอบรมเรื่องระบบระงับเหตุฉุกเฉินและการฝึกซ้อมการป้องกันและระงับอุบัติภัย เพ่ือ
สามารถดาเนินการควบคมุ และระงบั เหตฉุ ุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7.4 เลือกใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงานและประสานกับฝ่ายสวัสดิการในการจัดเตรียมอุปกรณ์,
เคร่อื งมอื เพอ่ื ควบคุมและระงบั เหตุ
7.5 ต้องฟังคาส่ังตามสายงานบัญชาการและปฏิบัติการตามข้ันตอนต่าง ๆ อย่างเคร่งครัดเพื่อให้การ
ปฏบิ ัตกิ ารเปน็ ไปอย่างปลอดภยั และมปี ระสิทธภิ าพ
7.6 จัดทารายงานตามผลการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง นาเสนอต่อคณบดีและอธิการบดีเพื่อ
จัดทารายงานในภาพรวมต่อไป
8. ฝำ่ ยกำรเงนิ วิเครำะห์และประมวลผล (Financial / Admin Section) มีบทบาทหนา้ ทร่ี ับผิดชอบดังนี้
8.1 ทาหน้าที่วิเคราะหเ์ วลาและบคุ ลากรที่ใชใ้ นการควบคมุ และระงับเหตุฉกุ เฉนิ เพื่อสรปุ คา่ ใช้จา่ ยท่เี กิดขึ้น
อย่างแทจ้ ริงในการควบคมุ และระงบั เหตุแต่ละคร้ัง
8.2 ทาหน้าที่จัดทางบประมาณ / และการเบิกจ่ายในการระงับเหตุฉุกเฉิน ตลอดจนประสานงานด้านการ
จัดซื้อ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ระงับเหตุฉุกเฉิน แล้วบันทึกค่าใช้จ่ายออกมาเป็นราคาวัสดุที่ใช้หรือค่าเส่ือม
ราคาเครอ่ื งมอื เพือ่ สรปุ ค่าใช้จ่ายในภาพรวมของการควบคมุ และระงับเหตฉุ ุกเฉนิ ต่อไป
8.3 ประสานงานกบั ประกันอบุ ัติเหตุ อุบัติภัย อคั คภี ัยและภัยอนื่ ๆ เพอื่ ประเมินความเสียหายและเรยี กร้อง
ค่าเสียหายและค่าทดแทนในการเกิดอุบัติเหตุและอุบัติภัยรวมถึงค่าใช้จ่ายด้านส่ิงแวดล้อม อาคาร
สถานที่
8.4 ประเมนิ ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลการบาดเจ็บและการเจบ็ ปว่ ยของบุคลากร และค่าเสียเวลา และ
เสียโอกาสในการทางาน เพอื่ รวบรวมและประเมินค่าใช้จ่ายในการเกิดอุบตั ิเหตุและอบุ ัตภิ ยั
8.5 จัดทารายงานสรปุ วเิ คราะห์และประเมินผลด้านการเงนิ และค่าใช้จ่ายในการเกิดอุบัตเิ หตุหรืออบุ ัติภัยใน
แต่ละคร้ังที่เกิด เพื่อนาเสนอต่อคณบดีและอธิการบดี และรวบรวมเป็นรายงานอุบัติเหตุของ
มหาวิทยาลยั ในรายงานประจาปีตอ่ ไป
ระบบบริหารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 10
รปู แบบขององค์กรและกำรจดั ตัง้ ทมี งำนระงับเหตฉุ กุ เฉนิ มจธ.
การจัดระบบและรูปแบบของทีมงานระงับเหตุฉุกเฉิน มจธ. เป็นการจัดระบบและรูปแบบเช่นเดียวกันกับ
การจัดระบบและรูปแบบของทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคาร โดยทีมงานระงับเหตุฉุกเฉิน มจธ. มีบทบาท
หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบดงั น้ี
1. ประสานด้านการจัดทาแผนผังอาคารแต่ละช้นั ของทุกอาคารในสถานภาพปัจจุบัน โดยระบุถึงทางออก
ระบบเตือนภัย ตาแหนงของอุปกรณ์ระงับเหตุเบื้องต้นและเส้นทางหนีไฟ/อพยพคนในกร ณีฉุกเฉิน โดย
ประสานงานกบั ผู้จัดการทมี ระงับเหตฉุ ุกเฉินประจาอาคารและฝา่ ยแผนงานและข้อมลู การใช้อาคารและพ้ืนที่ มจธ.
เมื่อเกิดการจัดทาเสร็จสิ้นแล้ว จะดาเนินการนาข้อมูลมาจัดทาเป็น ฐำนข้อมูลแผนผังอำคำรในกำรจัดกำร
ควบคุมภำวะฉุกเฉิน มจธ. เพ่ือใช้ในการดาเนินการวางแผนและประสานการปฏิบัติการระงับเหตุฉุกเฉินภายใน
มจธ. และนาขึน้ web page ของ มจธ. เพ่ือความสะดวกในการใช้งานต่อไป
2. จัดทาข้ันตอนและวิธีปฏิบัติเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉินจากอุบัติภัยชนิดต่าง ๆ โดยประสานงานกับ
คณะกรรมการระงับเหตุฉุกเฉินประจามหาวิทยาลัย และศูนย์ EESH และรวบรวมคู่มือระงับเหตุฉุกเฉินประจา
อาคาร และขนั้ ตอนปฏบิ ัตกิ ารแจง้ เหตจุ ากผจู้ ัดการทีมระงบั เหตฉุ ุกเฉนิ ประจาอาคาร เพื่อจัดทาเป็นฐานข้อมูลและ
นาขนึ้ web page ของ มจธ. เพอื่ เผยแพรแ่ ละเพื่อความสะดวกในการใชง้ าน
3. ต้องเข้ารับการฝึกอบรมเรื่องระบบระงับเหตุฉุกเฉินและเข้ารับการฝึกอบรม/ฝึกซ้อมเรื่องการระงับ
อุบัติเหตุ/อุบัติภัยเบื้องต้น เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของระบบ ข้ันตอนวิธีปฏิบัติเพื่อให้สามารถนามา
ปฏิบตั กิ ารระงบั เหตุภายใน มจธ. ได้
4. จัดการและประสานงานด้านฝึกอบรมและจัดฝึกซ้อมการระงับเหตุฉุกเฉินจากอุบัติภัยให้กับทุกอาคาร
ตลอดจนการฝึกซ้อมระงับเหตุฉุกเฉินประจาปีท่ีทุกคนในมหาวิทยาลัยมีส่วนร่วม ทั้งน้ีต้องดาเนินการอย่างน้อยปี
ละหนง่ึ คร้ัง
5. ปฏิบัติงานระงับเหตุฉุกเฉินเบื้องต้นภายใน มจธ. โดยต้องยึดถือระบบความปลอดภัย โดยการเข้า
ปฏบิ ัติการตอ้ งคานึงถึงกฎระเบยี บ ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิการ ขอบเขตขดี ความสามารถและความปลอดภัยของตนเอง
เปน็ หลัก โดยต้องหยดุ ดาเนนิ การทนั ทีในกรณีทเ่ี กดิ ภาวะไมป่ ลอดภัยสาหรบั การเข้าปฏิบตั ิงานหรือกรณมี เี คร่ืองมือ
อุปกรณท์ ไี่ ม่เพียงพอ
6. สร้างเครอื ขา่ ยการประสานกบั หน่วยงานสนับสนุนและชว่ ยเหลอื ภายนอก เมื่อเกิดอุบัติภยั ร้ายแรงและ
ดาเนินการเพื่ออานวยความสะดวกให้กับหน่วยกู้ภัยและการให้การช่วยเหลือจากตารวจ, หน่วยบรรเทาสาธารณ
ภยั , โรงพยาบาล, ศูนย์นเรนทร, อปพร., อาสาสมัครกู้ภยั
7. จัดต้ังศนู ยแ์ จ้งเหตุ โดยดาเนินการรว่ มกบั พนักงานรกั ษาความปลอดภัย โดยจดั ระบบให้เกดิ การบันทึก
การแจ้งเหตุฉุกเฉิน พร้อมรายงานการเกิดอุบัติเหตุ/ระงับเหตุตามรายงานอุบัติเหตุ/อุบัติภัยตามระบบของ มจธ.
โดยศูนยแ์ จง้ เหตฉุ กุ เฉินจะมกี ารแจ้งทีมระงับเหตุฉุกเฉนิ มจธ. เขา้ ดาเนินการระงบั เหตุทนั ทีตลอด 24 ช่วั โมง
ระบบบริหารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 11
ทีมงำนระงับเหตุฉกุ เฉิน มจธ.
ผูจ้ ัดการทีมระงับเหตุฉุกเฉนิ มจธ.
Incident Command (Commander)
ฝ่ายแผนงานและขอ้ มลู การใช้อาคารพื้นทขี่ อง มจธ. ศูนย์ EESH
สานกั บริหารอาคารและสถานท่ี
ทมี ระงบั เหตุฉุกเฉนิ ประจาอาคาร พนกั งานรักษาความปลอดภยั
ทกุ อาคารภายใน มจธ.
ฝา่ ยแผนงานและข้อมูลอาคาร ฝ่ายสวสั ดิการ และสนับสนุนให้บรกิ าร ฝา่ ยปฏบิ ัติงานควบคมุ และระงบั เหตุเบื้องต้น ฝ่ายการเงินวิเคราะห์และประเมนิ ผล
Planning Section Logistics Section Operations Section Financial/Administration Section
บทบำทหนำ้ ทร่ี บั ผิดชอบของทมี ระงับเหตุฉกุ เฉินประจำอำคำร เปน็ ดงั นี้
1. ผู้จัดกำรทีมระงับเหตุฉุกเฉิน มจธ. (Incident Command, Commander) มีบทบาทหน้าท่ีรับผิดชอบ
ดงั นี้
1.1 ควบคมุ ดแู ลในการจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารควบคมุ ภาวะฉกุ เฉนิ และระงับเหตุเบือ้ งต้นภายใน มจธ.
1.2 เป็นหัวหน้าทีมในการระดมสมองวางแผนปฏิบัติงาน และสั่งการตามข้ันตอนการปฏิบัติงานควบคุม
ภาวะฉุกเฉนิ และระงับเหตฉุ ุกเฉนิ เบื้องต้นของ มจธ. โดยประสานงานกบั ฝา่ ยตา่ ง ๆ
1.3 ประสานงานด้านการจัดทาข้ันตอนปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉิน และระงับเหตุฉุกเฉินภายใน มจธ.
และกาหนดเสน้ ทางอพยพคนและพน้ื ท่ปี ลอดภัย
1.4 ประสานงานด้านการจัดทาแผนฝึกซอ้ ม การควบคมุ และระงับเหตุฉุกเฉนิ ภายใน มจธ.
1.5 ประสานงานกับหน่วยประสานงานด้านปฏิบัติการ และหัวหน้าฝ่ายควบคุมการส่ังการในการวางแผน
เขา้ ควบคุมภาวะฉกุ เฉิน และระงบั เหตุฉกุ เฉินเบอื้ งต้นในการเกิดเหตฉุ กุ เฉนิ และอุบัตภิ ัย
1.6 จดั การและประสานงานดา้ นการฝึกอบรมและฝึกซ้อมระงับอุบัติภยั รว่ มกับศูนย์ EESH
2. ศูนย์ EESH โดยฝำ่ ยจดั กำรควำมปลอดภยั และระงบั เหตุฉกุ เฉนิ มีบทบาทหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบดังน้ี
2.1 ประสานด้านการจัดทาแผนฝึกอบรม จัดทาคู่มือระงับเหตุฉุกเฉิน และฝึกซ้อมการควบคุม และระงับ
เหตฉุ ุกเฉนิ
ระบบบริหารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 12
2.2 ประสานด้านการจัดหาป้ายประกาศวัสดุอุปกรณ์ท่ีจาเป็นเบื้องต้นในการจัดเตรียมระบบควบคุม และ
ระงับเหตุฉกุ เฉนิ ภายใน มจธ.
2.3 ทาหน้าที่ประเมินอันตราย และภาวะท่ีไม่ปลอดภัย และพัฒนาระบบตรวจสอบเพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และเพ่ิมความม่ันใจวา่ ผเู้ ข้าปฏิบัตงิ านควบคุมและระงบั เหตุตอ้ งปลอดภยั
2.4 ให้ข้อมูลกับผู้มีอานาจตัดสินใจในกรณีฉุกเฉินที่จะหยุดการกระทาในภาวะที่ไม่ปลอดภัย หรือ
ดาเนินการใดๆ เพ่ือป้องกันการเกิดอันตราย
2.5 ในการเกิดภาวะฉุกเฉินหรืออบุ ัตภิ ัย ต้องมีพนักงานความปลอดภัยของศูนย์ EESH ถกู มอบหมายให้เข้า
มาปฏิบตั งิ านและประสานงานด้านเทคนคิ และวชิ าการ
3. ทมี ระงบั เหตฉุ ุกเฉนิ จำกทุกอำคำรภำยใน มจธ. มบี ทบาทหน้าที่รบั ผิดชอบดังนี้
3.1 ทาหน้าท่ีเป็นเครือข่ายในการเข้าร่วมควบคุมภาวะฉุกเฉินและระงับเหตุฉุกเฉินเบ้ืองต้น โดยมีการ
วางแผนร่วมและแบง่ ทางานตามบทบาทหน้าที่รบั ผดิ ชอบ
3.2 ทาหน้าท่ีเป็นทีมงานระงับเหตุฉุกเฉิน มจธ. ท่ีเข้าดาเนินและร่วมประสานในการระงับเหตุตามบทบาท
หนา้ ที่ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
3.3 ประสานการทางานกับหน่วยสนับสนุนหลักและฝ่ายระงับเหตุกู้ภัยจากภายนอก โดยเป็นฝ่ายอานวย
ความสะดวกและอพยพคนไปยงั สถานท่ีปลอดภัยและไม่รบกวนการทางานของหน่วยระงับเหตหุ รือกภู้ ยั
3.4 การทางานและเข้าปฏบิ ัตงิ านตอ้ งคานึงถงึ ความปลอดภัยของตนเองและเพ่ือนร่วมทีมเปน็ หลัก
4. สำนักบรหิ ำรอำคำรและสถำนที่ร่วมกบั พนกั งำนรักษำควำมปลอดภยั มบี ทบาทหน้าท่รี บั ผดิ ชอบดงั นี้
4.1 ประสานงานในการจัดหาข้อมูลแผนผังอาคารภายใน มจธ. และจัดระบบตรวจสอบตาแหน่งของ
สัญญาณเตอื นภยั และอุปกรณร์ ะงบั เหตุเบือ้ งตน้ ของ มจธ. ส่วนกลางในการระงบั เหตุ
4.2 ประสานงานด้านการรับแจง้ เหตุ และการตรวจสอบพื้นทที่ ี่ได้รับแจ้งเหตุ เพ่ือรว่ มประเมินสถานการณ์
4.3 จัดหารายช่ือและหมายเลขโทรศัพท์ของผู้เช่ยี วชาญดา้ นการจดั การระบบต่างๆเตรยี มไว้
4.4 ให้ข้อมูล และร่วมระดมสมองในการจัดทาแผนปฏิบัติการ และขั้นตอนการปฏิบัติงาน ตลอดจน
หมายเลขโทรศัพท์ตดิ ตอ่ ในกรณีฉุกเฉิน
4.5 เป็นฝ่ายรวบรวม และสรุปข้อมูล เพื่อจัดทารายงานและวิเคราะห์สาเหตขุ องการเกิด และแนวทางการ
ปอ้ งกนั แกไ้ ข เพอ่ื รายงานตอ่ คณะและมหาวทิ ยาลัย
4.6 เป็นฝ่ายจัดหางบประมาณและครภุ ณั ฑร์ ะงับเหตฉุ ุกเฉนิ เบ้ืองตน้
5. ฝ่ำยแผนงำนและข้อมลู กำรใช้อำคำร และพน้ื ท่ี มจธ. มบี ทบาทหน้าทรี่ ับผิดชอบดงั น้ี
5.1 ประสานงานในการใหข้ อ้ มลู ด้านการใชอ้ าคาร และพื้นที่ในสถานภาพปัจจุบัน
5.2 เป็นแหล่งข้อมูลและฐานข้อมลู ดา้ นรูปแบบอาคาร, แผนผงั ของพน้ื ท่ีแต่ละชน้ั ของอาคาร พร้อมรูปแบบ
การใชอ้ าคาร เพ่อื เป็นข้อมูลในการระงับเหตุฉุกเฉิน
ระบบบริหารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 13
5.3 เป็นแหล่งข้อมูลด้านระบบความปลอดภัยภายในอาคาร โดยรวบรวมจากส่วนงานอาคาร และสถานที่
เพื่อนามาจดั ทาฐานขอ้ มูลของมหาวิทยาลยั
5.4 เป็นฝ่ายรวบรวมข้อมูลอุบัติเหตุภาวะฉุกเฉินและอุบัติภัยที่เกิดขึ้นตลอดจนสรุป วิเคราะห์ รายงาน
ข้อมลู ก่อนเผยแพร่ไปยงั หน่วยงานและส่อื อนื่ ๆ
6. ฝ่ำยแผนงำนและขอ้ มูลด้ำนกำรควบคุมภำวะฉกุ เฉนิ (Planning Section) มีบทบาทหนา้ ทร่ี ับผิดชอบดงั น้ี
6.1 จัดทาแผนงานและระบบการจัดการด้านการเตรียมการเพ่ือป้องกันภัย ควบคุมภาวะฉุกเฉิน และระงับ
เหตุฉุกเฉินเบ้ืองต้น ที่สอดคล้องและเป็นระบบเดียวกันทั่วมหาวิทยาลัย โดยประสานนาข้อมูลด้าน
ระบบแผนงาน และระบบการจดั การจากศนู ย์ EESH
6.2 จัดทาข้อมูลด้านพ้ืนที่แผนผังอาคาร เครื่องหมายทางหนีภัย และศูนย์ระงับเหตุ สัญญาณเตือนภัยใน
สภาพปัจจุบัน ติดประจาทุกช้ันให้มองเห็นง่าย โดยดาเนินการประสานกับฝ่ายแผนงานและข้อมูล
ประจาอาคารต่าง ๆ เพื่อจัดทาฐานข้อมูล ซ่ึงจะนาไปใช้ในกรณีเกิดเหตุฉุกฉินหรืออุบัติภัย และควรมี
การตรวจสอบขอ้ มลู เพื่อจดั ทาเป็นข้อมูลปัจจบุ ันทกุ ๆ 3 เดือน
6.3 จัดหารายชื่อและหมายเลขโทรศัพท์ของผู้เชี่ยวชาญภายในมหาวิทยาลัยและหน่วยงานระงับอุบัติภัย
ภายนอกด้านการจดั การระบบต่างๆเตรียมไว้
6.4 ให้ข้อมูล และร่วมระดมสมองในการจัดทาแผนปฏิบัติการ และขั้นตอนการปฏิบัติงาน ตลอดจน
หมายเลขโทรศัพทต์ ดิ ต่อในกรณีฉกุ เฉิน
6.5 เป็นฝ่ายรวบรวม และสรุปข้อมูล เพื่อจัดทารายงานและวิเคราะห์สาเหตขุ องการเกิด และแนวทางการ
ป้องกนั แกไ้ ข เพ่อื รายงานต่อคณะและมหาวทิ ยาลยั
6.6 เข้ารว่ มเปน็ กรรมการ และทีมงานระงบั เหตฉุ ุกเฉนิ ประจามหาวทิ ยาลยั
7. ฝ่ำยสวัสดกิ ำรและสนับสนุนให้บริกำร (Logistics Sections) มีบทบาทหน้าทีร่ ับผดิ ชอบดังนี้
7.1 จัดเตรียมสถานท่ีบัญชาการการระงับเหตุ เตรียมเคร่ืองมืออุปกรณ์การระงับเหตุตามแผนปฏิบัติการ,
เครื่องมือส่อื สาร, อาหารนา้ ดม่ื เพอ่ื ใหก้ ารควบคุมระงบั เหตเุ ปน็ ไปอย่างรวดเร็ว และมปี ระสิทธิภาพ
7.2 จัดหาเครือข่ายและแหล่งสนับสนุนด้านเครื่องมืออุปกรณ์การควบคุมและระงับเหตุฉุกเฉินและอุบัติภัย
และตดิ ต่อประสานงานใหเ้ กิดการเตรยี มพร้อมสาหรับการปฏบิ ตั ิงาน
7.3 ประสานงานเพ่ือขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานภายในและภายนอกในการเข้าระงับเหตุและ
ชว่ ยเหลอื เช่น หน่วยบริการทางการแพทยแ์ ละพยาบาล, ระบบตดิ ตอ่ สื่อสาร, ยานพาหนะขนย้าย, รถ
บริการพยาบาล , อาหารนา้ ดม่ื , วสั ดุอุปกรณ,์ เครอื่ งมอื เชอ้ื เพลงิ ตลอดจนอุปกรณ์ช่วยบารุงโดยจัดทา
Check list และสถานทีจ่ ดั เก็บทีห่ ยิบได้ง่ายและปลอดภัย
7.4 จัดหาวัสดุอุปกรณ์เคร่ืองมือ สถานท่ี และบุคลากรจากหน่วยงานภายในและพนักงานทาความสะอาด
เพือ่ เขา้ มาสนับสนนุ โดยจัดสถานท่ีให้เปน็ สดั สว่ นและจัดให้เป็นโซนตามระบบมาตรฐาน
ระบบบรหิ ารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 14
7.5 เป็นตัวการสาคัญในการควบคุมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโดยต้องมีส่วนร่วมในการระดมสมองในการ
จัดทาแผนการควบคุมและระงบั เหตุฉกุ เฉนิ เบ้ืองต้น เพอ่ื เตรียมการดา้ นการสนบั สนนุ ต่าง ๆ
8. ฝำ่ ยปฏบิ ตั ิงำนควบคมุ และระงบั เหตเุ บื้องตน้ (Operation Section) มีบทบาทหนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบดังนี้
8.1 ดาเนินการปฏิบัติงานควบคุมและระงับเหตุฉุกเฉินตามแผนปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายและต้อง
เขา้ ดาเนนิ การในระบบ Buddy คอื เข้าปฏิบัติงานเป็นคู่ เพอื่ ให้มน่ั ใจในความปลอดภยั ขณะปฏิบัติงาน
8.2 การปฏิบัติงานต้องคานึงถึงความปลอดภัยของตนเองเป็นหลัก โดยต้องหยุดดาเนินการทันทีในกรณีที่
เกดิ ภาวะไม่ปลอดภยั สาหรับการเขา้ ปฏบิ ตั ิงานหรอื มีเครอ่ื งมืออปุ กรณ์ทไ่ี ม่เพียงพอ
8.3 ต้องผ่านการฝึกอบรมเรื่องระบบระงับเหตุฉุกเฉินและการฝึกซ้อมการป้องกันและระงับอุบัติภัย เพื่อ
สามารถดาเนินการควบคุมและระงบั เหตฉุ ุกเฉินได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
8.4 เลือกใช้อุปกรณ์ท่ีเหมาะสมกับการปฏิบัติงานและประสานกับฝ่ายสวัสดิการในการจัดเตรียมอุปกรณ์,
เครอื่ งมือเพอื่ ควบคุมและระงับเหตุ
8.5 ต้องฟังคาสั่งตามสายงานบัญชาการและปฏิบัติการตามข้ันตอนต่าง ๆ อย่างเคร่งครัดเพ่ือให้การ
ปฏบิ ัตกิ ารเป็นไปอยา่ งปลอดภัย และมปี ระสิทธภิ าพ
8.6 จัดทารายงานตามผลการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง นาเสนอต่อคณบดีและอธิการบดีเพ่ือ
จดั ทารายงานในภาพรวมตอ่ ไป
9. ฝำ่ ยกำรเงนิ วเิ ครำะห์และประมวลผล (Financial / Admin Section) มบี ทบาทหนา้ ท่รี บั ผดิ ชอบดังน้ี
9.1 ทาหน้าที่วเิ คราะห์เวลาและบุคลากรทีใ่ ชใ้ นการควบคุมและระงับเหตฉุ กุ เฉนิ เพือ่ สรปุ คา่ ใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึ้น
อย่างแทจ้ รงิ ในการควบคมุ และระงบั เหตแุ ต่ละครั้ง
9.2 ทาหน้าท่ีจัดทางบประมาณ / และการเบิกจ่ายในการระงับเหตุฉุกเฉิน ตลอดจนประสานงานด้านการ
จัดซื้อ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ระงับเหตุฉุกเฉิน แล้วบันทึกค่าใช้จ่ายออกมาเป็นราคาวัสดุที่ใช้หรือค่าเส่ือม
ราคาเครื่องมอื เพ่อื สรปุ ค่าใชจ้ า่ ยในภาพรวมของการควบคุมและระงบั เหตุฉุกเฉนิ ต่อไป
9.3 ประสานงานกบั ประกนั อุบัติเหตุ อุบัตภิ ัย อคั คีภัยและภัยอน่ื ๆ เพอื่ ประเมินความเสียหายและเรยี กร้อง
ค่าเสียหายและค่าทดแทนในการเกิดอุบัติเหตุและอุบัติภัยรวมถึงค่าใช้จ่ายด้านส่ิงแวดล้อม อาคาร
สถานท่ี
9.4 ประเมินค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาลการบาดเจบ็ และการเจ็บป่วยของบุคลากร และคา่ เสียเวลา และ
เสยี โอกาสในการทางาน เพ่ือรวบรวมและประเมนิ คา่ ใชจ้ ่ายในการเกิดอบุ ตั เิ หตุและอบุ ัติภัย
9.5 จัดทารายงานสรุปวิเคราะห์และประเมินผลด้านการเงินและค่าใช้จ่ายในการเกิดอุบตั ิเหตุหรืออบุ ัติภัยใน
แต่ละคร้ังที่เกิด เพ่ือนาเสนอต่อคณบดีและอธิการบดี และรวบรวมเป็นรายงานอุบัติเหตุของ
มหาวทิ ยาลัยในรายงานประจาปีต่อไป
ระบบบริหารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 15
บทท่ี 4
ระบบบรหิ ำรจัดกำรกำรควบคุมภำวะฉุกเฉินจำกอบุ ตั ิภยั
มจธ.
ระบบบริหารจัดการการควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีได้
พัฒนาขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ท่ีต้องการจัดระบบการควบคุมภาวะฉุกเฉินและระงับเหตุฉุกเฉินเบ้ืองต้นข้ึนภายใน
มหาวทิ ยาลัย เพื่อใหเ้ กิดการเตรยี มการและเตรียมพร้อมในการควบคมุ และระงบั เหตุจากอุบัติเหตุและอุบัติภัยท่ีไม่
คาดฝนั อันก่อใหเ้ กดิ ความม่ันใจในความปลอดภยั ต่อชวี ิตและทรัพยส์ ินของนักศึกษาและบุคลากรของมหาวทิ ยาลัย
และลดความเส่ียงต่อการเกิดอุบัตเิ หตุ ซ่ึงการพฒั นาระบบบริหารจัดการการควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอุบตั ภิ ยั มจธ.
น้ีไดก้ าหนดแนวทางการดาเนินงานที่คานึงถงึ ท้ังทางดา้ นเทคนิควิธีปฏิบัติงานและผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม โดยได้
แบ่งข้ันตอนการดาเนินงานออกเปน็ ข้ันตอน คือ
1. การวางนโยบายจัดทาขอ้ กาหนดและระเบียบ
2. การจัดทาแผนงานวิธปี ฏิบัติการและเอกสาร
3. การจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการระงับเหตฉุ ุกเฉนิ และการควบคุมภาวะฉกุ เฉินจากอบุ ตั ภิ ยั
4.1 นโยบำยข้อกำหนดและกฎระเบยี บด้ำนกำรควบคุมภำวะฉุกเฉนิ จำกอบุ ัตภิ ยั มจธ.
นโยบายของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีด้านการจัดการควบคุมภาวะฉุกเฉินจาก
อบุ ัติภยั ดังน้ี
1. มจธ. มีนโยบายอย่างชัดเจนท่สี นบั สนุนให้เกดิ การสรา้ งระบบควบคุมป้องกันและระงับเหตุเบ้ืองต้น
ในอุบตั ภิ ัยทกุ ชนดิ ทอ่ี าจเกิดขน้ึ ภายในมหาวทิ ยาลยั
2. มจธ. มอบหมายให้ศูนย์การจัดการด้านพลังงานส่ิงแวดล้อมความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เป็น
ผู้นาเสนอแนวทางและวางมาตรการในการป้องกันและเตรียมความพร้อมในการควบคุมและระงับเหตุเบ้ืองต้น
พรอ้ มระบบการจัดการภาวะฉกุ เฉิน เพ่อื ใหเ้ กิดการยึดถือและปฏิบตั เิ ป็นแนวทางเดยี วกันท้ังมหาวทิ ยาลยั
3. มจธ. กาหนดให้นักศึกษา บุคลากรและพนักงานที่ให้บริการภายใน มจธ. ทุกระดับมีบทบาทหน้าท่ี
รับผิดชอบและมีส่วนร่วมด้านการจัดการควบคุมป้องกัน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติการระงับ
เหตุฉุกเฉินจากอุบัติภัย ท้ังนี้เพื่อให้เกิดความมั่นใจในความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของนักศึกษา บุคลากร
ตลอดจนผ้ใู หบ้ ริการภายใน มจธ. ทกุ คน
4. มจธ. สนับสนุนให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัย มจธ. โดยมีบทบาท
หน้าท่ีรับผิดชอบด้านอานวยการควบคุมภาวะฉุกเฉินและประสานงานสั่งการด้านการปฏิบัติการระงับเหตุฉุกเฉิน
โดยคานงึ ถงึ ความปลอดภัยตอ่ ชีวิตและทรพั ยส์ นิ ของ มจธ. เป็นสาคัญ
5. มจธ. สนับสนุนให้ทุกหน่วยงานภายใน มจธ. แต่งตั้งทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคาร และร่วมมือ
กับทุกหน่วยงานภายใน มจธ. ในการจัดตั้งทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจา มจธ. โดยมีการมอบหมายหน้าท่ีรับผิดชอบ
ด้านการเตรียมความพร้อม การเข้าร่วมฝึกอบรม ตลอดจนการป้องกันและปฏบิ ัตกิ ารระงับเหตุฉุกเฉินจากอุบัติภยั
เบื้องตน้ ตามภาระหน้าทท่ี ่ไี ดร้ บั มอบหมายอย่างครบถว้ น
ระบบบริหารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 16
6. มจธ. กาหนดใหท้ ุกหนว่ ยงานมีแผนปฏิบตั ิการระงับเหตุประจาอาคารและมกี ารจัดฝึกซ้อมด้านการ
ควบคมุ และระงับเหตุฉุกเฉินจากอุบัตภิ ยั โดยนกั ศึกษาและบุคลากรมสี ่วนรว่ มปีละไม่น้อยกว่าหนึ่งคร้ัง ท้ังนเ้ี พื่อให้
เกิดการฝึกปฏิบัติการควบคุมป้องกันและปฏิบัติการระงับเหตุฉุกเฉินจากอุบัติภัยเบ้ืองต้น และสามารถปฏิบัติการ
ได้ทันทีเมอื่ เกิดเหตฉุ กุ เฉนิ จากอุบัตภิ ยั ขน้ึ จริง
7. มจธ. สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือและสร้างเครือข่ายระหว่างหน่วยงานภายใน มจธ. และองค์กร
ภายนอกท่ีมีศักยภาพในการช่วยระงับเหตุฉุกเฉิน และการจัดเตรียมความพร้อมและการฝึกซ้อมระงับอุบัติภัยท่ี
เกิดขน้ึ ภายใน มจธ.
8. มจธ. ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณและทรัพยากรอ่ืน ให้เกิดการจัดเตรียมความพร้อม ป้าย ,
เครื่องหมายเตือนภัยตามระบบการควบคุมและระงับเหตุฉุกเฉินที่เป็นไปตามมาตรฐานและเป็นไปตามความ
ต้องการพ้ืนฐาน ท้ังนี้เพื่อให้การปฏิบัติงานตามระบบการควบคุมภาวะฉุกเฉินและการระงับเหตุฉุกเฉินเบ้ืองต้น
เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายท่ีวางไว้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
4.2 กำรจัดทำแผนงำนวิธีปฏิบตั กิ ำรและเอกสำร
ระบบบริหารจัดการการควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีมี
ขัน้ ตอนการดาเนินงานดงั นี้
1. การสารวจพื้นทแ่ี ละจัดทาขอ้ มลู /แผนผังของอาคาร/พ้นื ท่ี
2. การจดั เตรียมพนื้ ทีแ่ ละเตรียมความพรอ้ ม
3. การจัดเตรียมบุคคลากร/ทมี งาน
4. การจัดทาเอกสาร/คู่มอื /รายงาน/ระบบฐานข้อมลู และขน้ั ตอนปฏบิ ตั ิกรณีฉุกเฉิน
5. การฝกึ อบรมและหลกั สูตรฝึกอบรม
6. การฝึกซอ้ ม/ฝกึ ปฏบิ ัติการ
7. การตรวจสอบทบทวนระบบ/แกไ้ ข
1. กำรสำรวจพ้ืนที่และจดั ทำข้อมูล/แผนผังของอำคำร/พน้ื ที่
ในขั้นตอนนี้เป็นการดาเนินการเพื่อสารวจพ้ืนที่และอาคารเพื่อใหไ้ ด้ข้อมูลของอาคารในแต่ละชั้น
ในลักษณะของการใช้ห้อง ชนิดของความเป็นอนั ตรายและวัสดุก่อให้เกิดอันตราย บันไดหนีไฟ อุปกรณ์ปอ้ งกันและ
ตาแหน่งติดตั้ง สัญญาณเตือนภัย ลิฟท์ บันไดปกติ เพ่ือจัดทาแผนผังของอาคารตดิ ใหเ้ ห็นในบรเิ วณท่ีเด่นชดั พรอ้ ม
แสดงหมายเลขโทรศัพท์ฉกุ เฉินเพือ่ แจ้งเหตุ
2. กำรจัดเตรียมพื้นท/ี่ เตรยี มควำมพร้อมเบอ้ื งตน้
การจดั เตรยี มพื้นท่ีและเตรียมความพร้อมในการป้องกันและควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอุบัตภิ ัยเป็น
การดาเนินการเตรียมการตามความจาเป็นขัน้ พืน้ ฐาน โดยดาเนินการติดตงั้ สัญญาณเตือนภยั ระบบปอ้ งกนั อุบัติภัย
ป้าย/เครื่องหมายเตือนภัย เครื่องหมายแสดงบันไดหนีไฟ ระบบประกาศฉุกเฉิน แผนผังแสดงการหนีไฟและ
ระบบบริหารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 17
จัดเตรียมอุปกรณ์ระงับเหตุเบื้องต้น/อุปกรณ์กู้ภัย จัดเตรียมอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น ซึ่งการจัดเตรียมพ้ืนท่ี
และเตรียมความพร้อมเหล่าน้ี เป็นการจัดทา check list และสารวจข้อมูลเพื่อจัดหาเพิ่มเติมในส่วนท่ีขาดเพ่ือให้
พร้อมในการฝึกซอ้ มและปฏบิ ัตกิ ารระงบั อุบัตภิ ยั
3. กำรจัดเตรียมบุคลำกรและทมี งำน
เป็นการจัดเตรียมบุคลากรตามระบบบริหารจัดการที่พัฒนาขึ้น โดยมีการกาหนดแต่งต้ังบุคลากร
และทีมงานในการจัดเตรียมความพร้อมในการป้องกันและควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัยและทีมงานระงับเหตุ
ฉุกเฉินท้ังในระดับบริหาร ระดับปฏิบัติการภายใน มจธ. และระดับปฏิบัติการประจาอาคาร ซ่ึงต้องมีการแต่งตั้ง
บุคลากรเข้ามาเป็นทีมงานด้านการควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัยและระงับเหตุฉุกเฉินในคณะกรรมการควบคมุ
ภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัย ทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคารและทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจา มจธ. ซ่ึงมีการกาหนด
บทบาทหน้าที่รบั ผดิ ชอบของแตล่ ะฝา่ ยและแตล่ ะคนอย่างชัดเจน
4. กำรจัดทำเอกสำร/คมู่ ือ
ในการจดั ระบบบรหิ ารจัดการการควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอุบัตภิ ัย มจธ. ต้องมกี ารจัดทาเอกสาร
ด้านนโยบายและระบบ คู่มือด้านการระงับอุบัติภัยและเหตุฉุกเฉินในแต่ละด้าน เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติการ
ภาวะฉกุ เฉินในแตล่ ะสภาวะ เอกสารข้ันตอนการแจ้งเหตุ เอกสารข้ันตอนการอพยพคนและเอกสารการรายงานผล
ตลอดจนแบบฟอร์มการรายงานอบุ ตั ิเหตุ/อบุ ตั ภิ ยั และเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ ภายใน มจธ. และการรายงานผลประจาปี
ทั้งนี้เพ่ือให้นักศึกษา บุคลากรและผู้ให้บริการท่ีปฏิบัติงานภายใน มจธ. ได้ทราบถึงข้ันตอนการปฏิบัติการที่เป็นไป
ในรูปแบบเดียวกันหมดท้ังมหาวทิ ยาลัย
5. กำรฝกึ อบรมและหลกั สตู รฝกึ อบรม
การฝึกอบรมและหลักสูตรฝึกอบรมในระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัยน้ัน นักศึกษา
และบุคลากรรวมท้ังผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการปฏิบัติการระงับเหตุฉุกเฉิน ทุกคนต้องได้รับการฝึกอบรมที่เหมาะสมกับ
หนา้ ทรี่ บั ผิดชอบทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ซึ่งการฝึกอบรมและหลักสูตรฝกึ อบรมประกอบด้วย
กำรฝึกอบรมเรอ่ื งระบบบริหำรจัดกำรกำรควบคมุ ภำวะฉกุ เฉินจำกอบุ ัตภิ ยั
เป็นการฝึกอบรมความรู้ทั่วไปเร่ืองระบบบริหารจัดการควบคุมการฉุกเฉินจากอุบัติภัย มจธ.
ให้กับผู้ที่เก่ียวข้องท้ังหมดทราบ ตั้งแต่ผู้บริหารจนถึงระดับปฏิบัติงาน โดยแบ่งระดับตามลักษณะของการทางาน
และความรบั ผิดชอบ ซง่ึ การทีผ่ ู้เก่ียวข้องมีความรู้ความเขา้ ใจอย่างถูกต้อง ซ่งึ จะสามารถลดความเสี่ยงจากอุบัติภัย
ได้เปน็ อย่างมาก ซง่ึ หลักสูตรฝกึ อบรมต้องจดั ทาข้ึนเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเขา้ ใจและคุ้นเคยกบั อุบัตภิ ัยที่อาจเกิด
รวมถงึ ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ เกีย่ วกับการดาเนินการเม่ือเกดิ อบุ ัติเหตุ/อุบัติภัยข้ึน
ระบบบรหิ ารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 18
กำรฝกึ อบรมพิเศษเฉพำะดำ้ น
เป็นการฝึกอบรมเฉพาะ เช่น สาหรับผู้ระงับเหตุจากอุบัติเหตุ/อุบัติภัยเฉพาะ เช่น อุบัติภัยจาก
สารเคมี ซึ่งต้องผ่านการฝกึ อบรมการระงับเหตุฉุกเฉินจากสารเคมเี บื้องต้นในระดับปฏิบัตกิ ารเบ้ืองต้น ซึ่งผทู้ เี่ ข้ารับ
การฝึกอบรมเฉพาะจาเป็นจะต้องมีความร้คู วามเข้าใจพิเศษตามหนา้ ทท่ี ่ไี ด้รับมอบหมาย
กำรฝกึ อบรมกำรปอ้ งกนั และระงับอบุ ตั ิภยั เบื้องตน้
เป็นการฝึกอบรมให้กับเฉพาะทีมระงับเหตุฉุกเฉินเฉพาะกลุ่มที่ มจธ. มอบหมายภาระหน้าท่ีให้
ปฏิบัติ โดยต้องมีการมอบหมายภาระหน้าท่ีไวอ้ ย่างชัดเจน และต้องกาหนดให้มีการฝึกซ้อมรว่ มกับหน่วยกู้ภัยของ
พื้นท่ี และซ้อมการประสานแผนระหว่าง มจธ. กับหน่วยกู้ภัย/บรรเทาสาธารณภัยของ กทม. และเขตทุ่งครุ/เขต
ราษฎร์บูรณะ ซ่ึงหากพบขอ้ บกพร่องจะได้ดาเนนิ การแก้ไขได้ทนั ทว่ งที
กำรฝกึ อบรมด้ำนควำมปลอดภยั
เป็นการฝึกอบรมให้ผู้เก่ียวข้องทั้งหมดทราบถึงความเส่ียงท่ีอาจเกิดขึ้น ซึ่งหลักสูตรจะเก่ียวข้อง
กบั อันตรายทอ่ี าจเกดิ ขึน้ พร้อมวิธีการป้องกันและข้ันตอนเพ่ือหลกี เลยี่ งตลอดจนวธิ ีปฏบิ ตั งิ านเบอื้ งตน้
6. กำรฝกึ ซอ้ ม/ฝกึ ปฏิบตั กิ ำร
ระบบที่พัฒนาข้ึนกาหนดให้มีการฝึกซ้อม/ฝึกปฏิบัติการสาหรับบุคลากรทุกระดับ โดยมีการ
ฝึกซอ้ ม/ฝกึ ปฏบิ ัติตามแผนปฏิบัตกิ ารระงบั เหตุฉกุ เฉิน ซ่ึงการฝกึ ซอ้ ม/ฝึกปฏิบัติการแต่ละระดับจะแตกต่างกนั แต่
อย่างไรก็ตามควรมีการฝึกซ้อมแบบจาลองสถานการณ์ ซ่ึงมีการนาหน่วยบรรเทาสาธารณภัย/องค์กรสนับสนุน
ภายนอกเข้ามาร่วมในการฝกึ ซ้อมภายในมหาวิทยาลยั โดยกาหนดให้ทุกระดับเขา้ ร่วม
7. กำรตรวจสอบทบทวนระบบ/แก้ไข
ระบบที่พัฒนาขึ้นควรมีการตรวจสอบโดยคณะกรรมการ/องค์กรหน่วยงานภายนอก และควรมี
การทบทวนระบบเพ่ือแก้ไขเมื่อดาเนินการฝึกซ้อมร่วมกับหน่วยงานอ่ืนภายใน/ภายนอก มจธ. แล้ว พบว่ามี
จดุ บกพร่อง ซ่งึ การตรวจสอบทบทวนระบบควรดาเนินการทกุ ปี
ระบบบริหารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 19
บทที่ 5
กำรจัดทำแผนปฏิบตั ิกำรควบคุมภำวะฉกุ เฉิน (Emergency Action
Plan)
การจดั ระบบบรหิ ารจัดการการควบคุมภาวะฉุกเฉิน มจธ. เพอ่ื ให้เกิดรูปแบบและการปฏิบัติท่เี ป็นไปอย่าง
มรี ะบบและมขี ้นั ตอนปฏิบัติทชี่ ดั เจนนนั้ จาเป็นทจ่ี ะต้องจัดทาแผนปฏิบตั ิการควบคุมภาวะฉุกเฉนิ ภายใน มจธ. ขนึ้
เพ่ือจัดส่ง/สร้างการรับรู้ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ในการประสานงานและขอความช่วยเหลือ ใน
กรณีเกิดอุบัติภัย/ภาวะฉุกเฉิน โดยมุ่งหวังที่จะจากัดความเสียหายจากอุบัติเหตุ/อุบัติภัยน้ัน ๆ และลดความเสี่ยง
ภัยใหก้ บั นักศกึ ษาและบคุ ลากรทกุ ระดับทีด่ าเนินการปฏบิ ตั ิงานภายใน มจธ.
แผนปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉินชุดน้ีจะกล่าวถึงแนวทางปฏิบัติข้ันพื้นฐานในการควบคุมหรือจัดการ
ภาวะฉุกเฉินสาหรับนักศึกษาและบุคลากรทุกระดับภายใน มจธ. ซึ่งไม่รวมรายละเอียดวิธีปฏิบัติเพ่ือระงับเหตุ
ฉุกเฉินซ่ึงต้องดาเนินการโดยทีมระงับเหตุฉุกเฉินที่ผ่านการฝึกอบรมระงับเหตุฉุกเฉินเบื้องต้นแล้ว และไม่รวม
แผนการอพยพนักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกรณีเกิดอุบัติภัยร้ายแรง ซ่ึงบุคลากรของ มจธ. ท่ีถูก
มอบหมายให้มีภาระหน้าที่เข้าร่วมเป็นทีมระงับเหตุฉุกเฉินน้ันจะต้องผ่านการฝึกอบรมระงับเหตุฉุกเฉินและ
ฝึกอบรมด้านการบรรเทาสาธารณภัยตามบทบาทหนา้ ท่ีรับผิดชอบ ทั้งนี้เพ่ือให้การปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉนิ
จากอุบัติภัยภายใน มจธ. เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงความปลอดภัยในชีวิต
ทรัพย์สินของนกั ศึกษาและบุคลากรทป่ี ฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี น มจธ. เป็นหลกั
กำรจำแนกภำวะฉุกเฉิน
ภาวะฉุกเฉินทีเ่ กิดขึ้นสามารถจาแนกไดต้ ามความรุนแรงของอบุ ัตเิ หตุและการจัดการเปน็ 5 ชนิด ดังน้ี
1. ภำวะฉุกเฉินขนำดเล็ก
เป็นภาวะฉุกเฉินทีเ่ กิดจากอุบัติเหตุขนาดเล็กหรือสถานการณ์อ่ืนใด ซึ่งโอกาสในการขยายตัวหรือมี
การลกุ ลามของอุบัติเหตุที่กระทบต่อการปฏิบัติงานภายใน มจธ. มนี ้อยหรอื ไม่มีเลย เวลาท่ใี ช้ในการควบคมุ /ระงับ
เหตุ/กู้ภัยไม่เกินหน่ึงช่ัวโมง สามารถใช้ทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคาร หรือทีมระงับเหตุฉุกเฉินภายใน มจธ.
เพียงหน่วยงานเดียว โดยไม่ต้องการการสนับสนุนจากแหล่งภายนอก มีผู้บาดเจ็บเล็กน้อยหรือไม่มีเลย เช่น
สารเคมีร่ัวไหล(ไม่มีไฟ) , น้ารั่วไหลนอง ซึ่งกรณีพบเห็นการเกิดภาวะฉุกเฉินขนาดเล็กน้ีต้องรับแจง้ เหตุไปยังศูนย์
รับแจ้งเหตุฉุกเฉินหมายเลข มจธ.บางมด 02-470-8207,02-470-9090, 02-470-9090, มจธ.บางขุนเทียน 02-
470-7333 ทันที
ระบบบริหารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 20
2. ภำวะฉุกเฉินขนำดกลำง
เป็นภาวะฉุกเฉินที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุขนาดกลางหรืออุบัติภัยสถานการณ์อ่ืนใดที่กระทบต่อการ
ดาเนินการภายในอาคาร ซ่ึงอาจส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานบางส่วนภายในมหาวทิ ยาลัย มีโอกาสเสี่ยงต่อการ
ขยายตวั หรือลุกลามอันก่อให้เกดิ ความรุนแรงต่อพืน้ ท่เี สียหายรัศมีไมเ่ กิน 100 เมตร ใชเ้ วลาในการกภู้ ัยไมเ่ กินสาม
ช่ัวโมง ซ่ึงต้องใช้ทีมระงับเหตุฉุกเฉินภายใน มจธ. ประสานกับหน่วยระงับเหตุฉุกเฉินจากภายนอกและหน่วย
สนับสนุนช่วยเหลืออ่ืน ๆ อาจมีผู้บาดเจ็บจานวนมาก และอุบัติเหตุน้ันมีผลกระทบต่อทรัพย์สินและส่ิงแวดล้อม
กรณีพบเห็นเหตุฉุกเฉินขนาดกลางน้ีต้องรีบกด Emergency call และโทรแจ้ง มจธ.บางมด 02-470-8207,02-
470-9090, มจธ.บางขุนเทียน 02-470-7399 และ ศูนย์ EESH 02-470-8293-4 ต้องใช้คณะกรรมกำรควบคุม
กำรระงับเหตุในระดับนโยบำย/บริหำร เข้ำมำสั่งกำร เพื่อควบคุมสถานการณ์ ตัวอย่างของภาวะฉุกเฉินเหล่าน้ี
ไดแ้ ก่ ไฟไหมห้ อ้ งปฏบิ ตั กิ ำร/โรงประลอง
3. ภำวะฉุกเฉนิ ขนำดใหญ่
เป็นภาวะฉุกเฉินที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุขนาดใหญ่หรืออุบัติภัยจากสถานการณ์อื่นใดท่ีกระทบต่อ
การดาเนนิ การของอาคารหน่ึงอาคารใด และส่งผลกระทบตอ่ การปฏบิ ัติงานทั้งหมดภายในมหาวิทยาลัย ท่มี ีโอกาส
เส่ียงต่อการขยายความรุนแรงสูงมาก พื้นท่ีเสียหายมีขนาดกว้าง ใช้เวลาในการกู้ภัยนานกว่า 3 ชั่วโมง ต้องการ
ทีมงานสนันสนุน/ช่วยเหลือจานวนมาก มีผู้บาดเจ็บมาก มีผลกระทบต่อชีวิตทรัพย์สินและส่ิงแวดล้ อม ซ่ึงการ
ควบคุม/ภาวะฉกุ เฉินในระดับนต้ี ้องใช้คณะกรรมกำรบรหิ ำรในระดับนโยบำยด้ำนกำรควบคมุ ภำวะฉุกเฉนิ เข้ำมำ
สง่ั กำร และมกี ารประสานความร่วมมือระหวา่ งทีมงานระงบั เหตุ/ระงบั อุบตั ิภัยภายใน มจธ. และหน่วยสนันสนุนห
ลักภายนอกเพื่อเข้ามาช่วยระงับเหตุ และควบคุมสถานการณ์ กรณีน้ีผู้ประสบเหตุต้องรีบกด Emergency call
และโทรแจ้ง มจธ.บางมด 02-470-8207, 02-470-9090, มจธ.บางขุนเทียน 02-470-7399 และ ศูนย์ EESH 02-
470-8293-4 เพ่ือเข้ามาดาเนนิ การรว่ มกบั ทมี งาน ตวั อยา่ งของภาวะฉุกเฉนิ เหล่านี้ไดแ้ ก่ หม้อแปลงไฟระเบดิ , ไฟ
ไหม้ , กำรวำงระเบดิ , กำรหกรั่วไหลของสำรอันตรำยภำยใน มจธ.
4. อุบัตภิ ยั
เป็นภาวะฉกุ เฉินท่ีเกดิ จากสถานการณ์ทีเ่ ป็นภยั ธรรมชาติ เช่น แผน่ ดนิ ไหว , ตึกถลม่ , น้าทว่ ม หรอื
การก่อการร้าย , สงคราม ซ่ึงก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงในการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย ซึ่งในบาง
กรณอี าจกอ่ ใหเ้ กดิ การบาดเจบ็ อยา่ งรา้ ยแรงและอาจมผี ู้เสยี ชีวิต รวมถึงมคี วามเสยี หายอยา่ งรา้ ยแรงต่ออาคารและ
ทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย การควบคุมสถานการณ์และภาวะฉุกเฉินในกรณีนี้ต้องการการประสานงานและความ
ร่วมมือของบุคลากรภายใน มจธ. ท้ังหมดในการควบคุมสถานการณ์ให้มีประสิทธภิ าพ หน่วยกู้ภัย หน่วยสนบั สนุน
ช่วยเหลือกรณีฉุกเฉินภายนอก ต้องเข้ามาช่วยควบคุมสถานการณ์และช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน ในทุกกรณีของ
อุบตั ิภยั ต้องมีการจัดตงั้ ศูนยส์ ่งั กำรควบคุมภำวะฉุกเฉนิ และต้องมีการวางแผนงานรว่ มกันระหว่างหนว่ ยระงับเหตุ
ฉุกเฉินภายใน มจธ. และหนว่ ยงานภายนอกท่เี ขา้ มาชว่ ยเหลอื เพ่ือควบคุมสถานการณ์ โดย มจธ. เป็นฝ่ายสนบั สนนุ
ด้านขอ้ มูลและการอพยพบุคลากร กรณีนผ้ี ปู้ ระสบเหตุต้องรีบโทรแจง้ มจธ.บางมด 02-470-8207,02-470-9090,
ระบบบริหารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 21
มจธ.บางขนุ เทยี น 02-470-7399 และ ศนู ย์ EESH 02-470-8293-4 และกด Emergency call เพื่อส่งขอ้ มลู ไปยัง
ศูนย์ระงบั เหตุฉุกเฉนิ มจธ. เพ่อื ดาเนินการต่อ
5. สถำนกำรณ์ฉุกเฉินอ่ืนทีค่ กุ คำมตอ่ ชวี ิตและทรพั ยส์ ิน
เป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของบุคลากรภายใน
มหาวิทยาลัยอ่ืน เช่น การลวนลามทางเพศหรือข่มขืนใจ , การฆาตกรรม , การประสงค์ร้ายต่อทรัพย์ และ
เหตุการณช์ กต่อยทะเลาะววิ าทภายในมหาวทิ ยาลยั เปน็ สถานการณ์ฉกุ เฉนิ เฉพาะกจิ ซ่ึงหากพบเหน็ กรณีนี้ต้องรีบ
กด Emergency call และโทรแจ้ง มจธ.บางมด 02-470-8207,02-470-9090, มจธ.บางขุนเทียน 02-470-7399
เพ่ือเข้ามาดาเนินการและประสานงานต่อ ซึ่งศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน มจธ. หมายเลขโทรศัพท์ มจธ.บางมด 02-
470-8207,02-470-9090, มจธ.บางขุนเทียน 02-470-7399 น้ี เปิดทาการ 24 ช่วั โมงทุกวนั ไมม่ ีวนั หยดุ
กำรประกำศภำวะฉุกเฉินของมหำวิทยำลยั
การประกาศภาวะฉุกเฉนิ ของ มจธ. เป็นอานาจของอธิการบดีหรือรองอธิการบดี/ผู้แทนที่ไดร้ ับมอบหมาย
หรือรองอธกิ ารบดฝี า่ ยบริหาร โดยมขี ้อควรคานึงดงั น้ี
1. ในช่วงของการเกิดภาวะฉุกเฉิน ศูนย์ EESH พร้อมด้วยอธิการบดีหรือรองอธิการบดี ผู้ได้รับ
มอบหมายจะต้องมาถึงบริเวณเกิดเหตุทันทีเพื่อตัดสินใจดาเนินการตามข้ันตอนที่เหมาะสม โดยวางแผนและได้
ข้อมูลจากทีมระงับเหตุฉุกเฉินและฝ่ายรักษาความปลอดภัยและส่วนงานอาคารและสถานท่ี ผู้อานวยการศูนย์
EESH หรือผู้แทนที่ได้รับมอบหมายต้องให้คาปรึกษาหรือข้อเสนอแนะกับอธิการบดีหรือรองอธิการบดีผู้ได้รับ
มอบหมายถึงสถานการณ์ที่แท้จริงของภาวะฉุกเฉินและความจาเป็นในการประกาศภา วะฉุกเฉินของมหาวิทยาลัย
โดยส่วนงานประชาสัมพันธ์เป็นหน่วยงานเดียวเท่าน้ันท่ีรับผิดชอบด้านการให้ข่าวสารของภาวะฉุกเฉินออกสู่
หนว่ ยงานภายนอกมหาวทิ ยาลัย
2. เมื่อมีการประกาศภาวะฉุกเฉินแล้ว ผู้มีสิทธิอยู่ภายในอาณาบริเวณของมหาวิทยาลัยจะมีเฉพาะ
นักศึกษาที่ลงทะเบียนปัจจุบัน บุคลากรท่ีดาเนินการในคณะ/สานักและใน มจธ. เท่าน้ัน บุคคลอ่ืนใดท่ีไม่สามารถ
แสดงตนได้ว่าเป็นนักศึกษา/บุคลากรของมหาวิทยาลัย ซึ่งเช็คได้จากบัตรนักศึกษาหรือบัตรเจ้าหน้าที่/พนักงาน
แล้วจะถูกขอร้องให้ออกนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งหากผู้ไม่มีสิทธิยังคงด้ือดึงที่จะอยู่ในอาณาบริเวณของมหาวิทยาลัย
อาจถกู จับคมุ ขงั และดาเนินการตามกฎหมาย โดยเจ้าหนา้ ท่ีตารวจในขอ้ หาบกุ รุกสถานที่
3. ไม่อนุญาตให้บุคคลอ่ืนใดเข้าไปยังบริเวณท่ีเกิดเหตุฉุกเฉิน ยกเว้นบุคลากรของคณะ/สานักและ
ทมี งานระงบั เหตฉุ ุกเฉินทไี่ ด้ผา่ นการฝึกอบรมด้านการระงบั เหตเุ บ้ืองต้นและได้รับอนุญาตจาก มจธ. แล้วเท่าน้ัน
4. ในกรณเี กิดอุบตั ภิ ัย เช่น แผ่นดินไหว , after shock ไฟไหม้ พายกุ ระหน่า หรือเกดิ มหันตภยั ทไ่ี มค่ าด
ฝันเกิดข้ึน ในมหาวิทยาลัยหรือจะเข้ามามีสว่ นรว่ มกับการดาเนินงาน หรือพ้ืนท่ีของมหาวิทยาลยั ศูนย์ EESH ต้อง
ช่วยประเมินสถานการณแ์ ละสรปุ แนวทางเพ่อื ช่วยเหลอื และเพื่อป้องกนั ใหเ้ กิดความเสียหายน้อยทสี่ ดุ ต่อไป
5. บทบาทหน้าที่รับผิดชอบในการควบคุมการระงับเหตุฉุกเฉิน เป็นไปตามแผนผังองค์กรท่ีกล่าวไว้
เบือ้ งตน้
ระบบบรหิ ารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 22
ขอบเขตของแผนปฏิบตั กิ ำร
“แผนปฏิบัติกำรควบคุมภำวะฉุกเฉิน” (EAP) ฉบับน้ีมีเน้ือหาครอบคลุมถึงเหตุฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้นได้
จากธรรมชาติ และจากกิจกรรมของมนุษย์ ซ่ึงอาจทาลายหรือขัดขวางกิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริมต่าง ๆ ของ
มหาวิทยาลัยหรอื ภายในอาคารตอ่ ไปน้ี อาคารเรยี นรวม 1 – 5, อาคารวศิ วกรรมเคม,ี อาคารเอนกประสงค์, อาคาร
เรียนคณะพลังงานและวัสดุ, อาคารปฏิบัติการทางวิศวกรรมอุตสาหการ 1–5, อาคารพระจอมเกล้าราชานุสรณ์
190 ปี (โรงอาหาร), อาคารไฟฟ้าแรงสูง, อาคารเรยี นคณะศิลปศาสตร์, อาคารคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ, อาคาร
สานักหอสมุด, อาคารวิศววัฒนะ, อาคารสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม(FIBO), อาคารหอพักนักศึกษาชาย
และหญิง, อาคารสัมมนา, อาคารสานักงานอธิการบดี, อาคารภาควิชาเคมี, อาคารภาควิชาจุลชีววิทยา, อาคาร
ภาควิชาคณิตศาสตร์-ฟิสิกส์, อาคารศูนย์เคร่ืองมือวิทยาศาสตร์ ฯ, อาคารปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์,
คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี, อาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ, อาคารโครงการร่วม
บริหารหลักสูตรฯ (มีเดีย), สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ, โรงงานต้นแบบผลิตยาชีววัตถุแห่งชาติ,
อาคารหอพักนักศึกษาชายหญิง มจธ.บางขุนเทียน, อาคารหอพักห้องเรียนวิศว์-วทิ ย์ (โครงการ วมว.), อาคารวิจัย
และนวตั กรรมกระบวนการชีวภาพ (อาคาร BRI), อาคารศนู ยพ์ ัฒนามาตรฐานและทดสอบระบบเซลลแ์ สงอาทติ ย์
นโยบำยปฏิบตั ิกำรเมื่อเกิดเหตฉุ ุกเฉนิ
นโยบายของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี (มจธ.) คือ บคุ ลากรทุกคนจะต้องอพยพออกจาก
อาคารหรือบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ หรอื เกดิ เหตุฉุกเฉนิ อืน่ ๆ
กำรเข้ำถึงขอ้ มูลของบุคลำกร
บุคลากรและนักศึกษาทุกคนสามารถรับทราบถึงรายละเอียดของแผนปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉนิ จาก
ระบบอินทราเน็ตของมหาวิทยาลัยและสามารถสาเนาแผนปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉิน ได้จากเจ้าหน้าท่ีความ
ปลอดภัยของหน่วยงาน สว่ นอาคารและสถานท่ี ศูนย์ EESH และรองอธกิ ารบดที ี่ได้รบั มอบหมายหรือผูร้ ับผิดชอบ
อ่ืนๆ ตามบทบาทหน้าท่ีรับผิดชอบที่กาหนดไว้ในเบื้องต้น หากมีคาถามเก่ียวกับแผนปฏิบัติการควบคุมภาวะ
ฉกุ เฉิน สอบถามโดยตรงไดท้ ่ี รองอธกิ ารบดีท่ีไดร้ ับมอบหมาย
กำรทบทวนและแกไ้ ขปรบั ปรุง
ต้องมีการทบทวนและแก้ไขปรับปรุงแผนปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉิน อย่างน้อยปีละคร้ังเพื่อให้
ทันสมยั อย่เู สมอมีข้อมูลปัจจบุ ันที่ถูกต้อง นอกจากนที้ ีมงานระงบั เหตฉุ ุกเฉินประจาอาคาร ควรมีการสารวจสภาพ
ท่ัว ๆ ไปของอาคารภายใน มจธ. ท่ีทีมงานรับผิดชอบ เพื่อให้แน่ใจว่าเส้นทางหนีไฟหรือทางออกไม่ถูกกีดขวาง มี
การตดิ ประกาศข้อมลู ต่างๆ เกี่ยวกับการเกิดเหตฉุ กุ เฉนิ ท่บี ุคลากรควรรบั รไู้ ว้ในทเี่ ปิดเผยอยา่ งแทจ้ ริง
ระบบบริหารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 23
ข้ันตอนกำรแจง้ เหตุและวิธปี ฏิบตั ิเมือ่ เกิดเหตฉุ ุกเฉนิ
1.นักศึกษาและบุคลากรของ มจธ. ทุกคนจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนระงับเหตุฉุกเฉินที่ระบุและติด
ประกาศไว้ทีละข้ันตอนอย่างเคร่งครัด โดยเร่ิมจากการแจ้งเหตุท่ีศูนย์แจ้งเหตุฉุกเฉิน มจธ. ที่หมายเลขโทรศัพท์
มจธ.บางมด 02-470-8207,02-470-9090, มจธ.บางขุนเทียน 02-470-7399 และในกรณีท่ีต้องการหรือมีความ
จาเป็นท่ีต้องมีตารวจนักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยสามารถแจ้งเหตุได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ที่เบอร์ 191,
เจ้าหน้าที่ดับเพลิงท่ีเบอร์ 199 หรือรถพยาบาล 1669 และติดต่อศูนย์ EESH ได้ท่ีหมายเลขโทรศัพท์ 02-470-
8293-4
2.หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน มจธ.บางมด 02-470-8207,02-470-9090, มจธ.บางขุนเทียน 02-470-
7399 เปน็ หมายเลขโทรศพั ทเ์ พื่อแจง้ เหตฉุ ุกเฉินเพยี งอย่างเดียวเทา่ นนั้ และเพือ่ ใชใ้ นการตดิ ต่อขอ้ มูลจากศูนย์ที่ให้
การช่วยเหลือ/สนับสนุนเพื่อระงับเหตุต่อ ดังน้ันไม่ควรใช้สายนานมากไปกว่าการอธิบายรายละเอียดของภาวะ
ฉุกเฉนิ ท่ีเกดิ ขึน้ และเพือ่ ขอรับคาแนะนาหรือขอ้ ปฏิบตั ติ ่อ
3. ในการติดต่อสอบถามอื่นใดท่ีไม่ใช่เหตุฉุกเฉิน และเพ่ือสอบถามข้อมูลด้านอ่ืนใดรวมถึงวิธปี ฏิบัติเม่ือ
เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ หรือข้นั ตอนระงบั เหตุฉกุ เฉิน 02-470-8000 สาหรบั การสอบถามจากโทรศพั ท์ภายนอก มจธ. ซงึ่ ไม่
ควรใชห้ มายเลขโทรศพั ท์ฉกุ เฉนิ อย่างเดด็ ขาด
4.ในการติดต่อทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินหรอื หน่วยงานอ่ืนใดที่เกี่ยวข้องกับการระงับเหตฉุ ุกเฉิน สามารถ
ใช้หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดไวป้ ระจาชน้ั ต่างๆ ของอาคารเพ่อื ติดตอ่ ได้โดยตรงในกรณจี าเปน็
5. ในกรณีเกิดภาวะฉุกเฉินจากอุบัติภัยที่ร้ายแรงต้องประสานงานกับผู้อานวยการ ควบคุมภาวะฉุกเฉิน
และผูอ้ านวยการสง่ั การ เพอื่ ประสานการแจง้ เหตแุ ละประกาศภาวะฉุกเฉินให้กบั ทกุ คนและหนว่ ยงานภายใน มจธ.
ให้ทราบโดยทั่วถึงกัน และต้องแจ้งให้ทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคารของ มจธ.และทีมงานระงับเหตุ
ส่วนกลาง มจธ. ทราบรวมถึงการประสานกับหน่วยงานเครือข่ายที่ให้ความช่วยเหลือ/สนับสนุนภายนอกเพ่ือ
ควบคมุ ภาวะฉกุ เฉินและระงับเหตุ
6.ห้ามไม่ให้นักศึกษา/บุคลากรใดๆ ของ มจธ. ให้ข่าวสารหรือให้สัมภาษณ์สื่อวิทยุ โทรทัศน์
หนังสือพิมพ์ใดๆทั้งสิ้นเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินภายใน มจธ. คาถาม/ข้อมูลหรือการติดต่อขอทราบข่าวของส่ือต่าง ๆ
ทางมหาวิทยาลัยมอบหมายให้ รองอธิการบดีฝ่ายบริหารเป็นผู้แถลงข่าวแต่เพียงผู้เดียวเท่านั้น โดยจะจัดบริเวณ
แถลงขา่ วท่สี านกั งานอธิการบดี หรือที่หนา้ บรเิ วณเกิดเหตฉุ ุกเฉินโดยจะแจง้ ใหท้ ราบเปน็ กรณีไป
ระบบบรหิ ารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 24
ข้นั ตอนกำรปฏิบตั เิ พอื่ อพยพเม่อื เกดิ เหตุฉกุ เฉนิ
ระบบสญั ญำณเตือนภยั
ระบบสัญญาณเตือนภัยจัดเป็นส่วนหนึ่งของระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน และเป็นวิธีแรกที่ใช้แจ้งให้
บคุ ลากรไดร้ ับรู้ถึงการเกิดเหตฉุ ุกเฉินเพื่อจะได้หลบหนีอยา่ งปลอดภยั
เสียงสัญญำณเตอื นภัย
ผู้ท่ีอยู่ในอาคารท้ังหมด ต้องอพยพออกจากอาคารทันที เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนภัยผู้
ประสานงานแผนปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉิน หรือเจ้าหน้าท่ีทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคารในแต่ละ
หนว่ ยงาน จะตอ้ งตรวจสอบพ้ืนทห่ี รอื หนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบว่าไดอ้ พยพบคุ ลากรออกไปหมดแลว้
ขน้ั ตอนกำรอพยพและเส้นทำงออกฉุกเฉนิ
ในสัปดาห์แรกของการเปิดภาคเรียน ผู้สอน/อาจารย์มีหน้าที่แจ้งให้นักศึกษาทราบถึงขั้นตอนการ
อพยพเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินขึ้น ทางหนีไฟ/ทางออกฉุกเฉินท่ีใกล้ท่ีสุดและเส้นทางการอพยพ โดยผู้สอน/อาจารย์จะ
เป็นผ้นู านกั ศกึ ษาเดินไปตามเสน้ ทางการอพยพจนถึงทางหนีไฟ/ทางออกฉกุ เฉนิ
เม่ือสัญญาณเตือนภัยดังข้ึน ผู้ท่ีอยู่ในอาคารทั้งหมดจะต้องออกจากอาคารทันที โดยใช้ทางหนีไฟ/
ทางออกฉุกเฉินท่ีใกล้ที่สุด โดยผู้สอนจะพานักศึกษาท้ังห้องออกจากอาคารโดยใช้ทางหนีไฟห้ามใช้ลิฟต์ เม่ือออก
จากอาคารแล้วให้ทุกคนมุ่งตรงไปยังจุดรวมพลหรือบริเวณท่ีกาหนดไว้แล้วขานช่ือรายงานตัวเพ่ือตรวจนับ ผู้สอน
จะต้องแน่ใจวา่ เมื่อเกิดเหตฉุ ุกเฉินขึน้ นักศึกษาทัง้ หมดจะทาตามข้นั ตอนการอพยพได้อยา่ งถูกต้อง
ให้ปิดประกาศแผนผังเส้นทางการอพยพเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินภายในแต่ละอาคารในบริเวณที่มีผู้คน
สัญจรจะเห็นกันได้ท่ัวทุกคน บุคลากรและนักศึกษาทุกคนจะต้องเข้ารับการฝึกอบรมเรื่องแผนการอพยพและ
ขัน้ ตอนการหลบหนี
ทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคารจะต้องคอยตรวจสอบทางออกและเส้นทางการหลบหนีอย่าง
สม่าเสมอ เพ่ือให้แน่ใจว่าเส้นทางอพยพไม่ถูกกีดขวางหรือถูกล็อค ประตูตามเส้นทางอพยพได้ติดป้ายไว้ชัดเจนว่า
ประตูใด “ไม่ใชท่ างออก” เมอ่ื ไดย้ ินเสียงเตือนภัย ซ่ึงบคุ ลากรท้ังหมดต้องเดินออกจากอาคารอยา่ งเงียบๆและเป็น
ระเบียบ
ถ้าประตูทางออกเดิมถูกล็อค ฝ่ายรักษาความปลอดภัยในส่วนของทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคาร
จะต้องเปลี่ยนเส้นทางการหนีใหม่ ภายใน 1 ช่ัวโมง ซ่ึงจะต้องแจ้งการเปล่ียนเส้นทางออกน้ีให้ผู้ที่อยู่ในอาคารทุก
คนทราบ และป้ายท่ีแสดงทางออกใหม่จะต้องวางให้ถูกตาแหน่งตามเส้นทางการหนีเส้นทางใหม่ที่เปล่ียนไปอย่าง
ถูกต้องและเหมาะสม
ในกรณีวันหยุดหรือนอกเวลาทางาน/ทาการของหน่วยงาน ประตูทางออกอาจถูกล็อคเพ่ือความ
ปลอดภัย จะต้องมีการกาหนดเส้นทางออกสารองโดยจะต้องประกาศ/แจ้งข้อมูล/รายละเอียดให้แก่บุคลากร
ทราบ นอกจากน้ีจะตอ้ งตดิ เคร่ืองหมายใหเ้ ห็นอยา่ งชัดเจนด้วย
ระบบบริหารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 25
กำรอพยพบุคคลท่มี ีปัญหำดำ้ นกำรเคลอื่ นไหวออกจำกอำคำรสูง
ในวันแรกของการเปิดเรียน อาจารย/์ ผู้สอนควรจะกาหนดผชู้ ว่ ย 2 คนต่อนกั ศึกษาที่มีปัญหาด้านการ
เคล่ือนไหวหนึ่งคน (และผู้ช่วยสารองด้วย) ซ่ึงผู้ช่วยทั้งสองจะคอยให้การช่วยเหลือในระหว่างการอพยพเม่ือเกิด
เหตุฉุกเฉนิ แต่ไมใ่ ช่ชว่ ยพาลงทางหนไี ฟ เพราะหน้าที่ดงั กลา่ วอยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของตารวจดับเพลงิ
หนำ้ ทข่ี องผชู้ ว่ ยควรปฏิบตั ิตำมแนวทำงเหลำ่ นี้
- ผชู้ ว่ ย ต้องช่วยพานกั ศกึ ษาทม่ี ปี ญั หาด้านการเคลื่อนไหวไปยงั ทางหนไี ฟท่ีใกล้ทีส่ ดุ
- เมื่อถึงประตูหนีไฟผู้ช่วยจะต้องวางนักศึกษาที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหวในพื้นท่ีท่ีปลอดภัยใกล้
ทางหนีไฟและต้องไม่ไปกีดขวางทางหนีไฟของผู้อ่ืน ควรปิดประตูไว้เพื่อกันไม่ให้ไฟลุกลามเข้ามา
ในบรเิ วณทางหนีไฟ
- ควรจะมีผ้ชู ่วยอยกู่ ับนักศึกษาที่มปี ัญหาด้านการเคล่ือนไหว หนงึ่ คน ในขณะท่ผี ูช้ ่วยอีกคนต้องไป
ขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ดับเพลิง/เจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัยท่ีได้รับมอบหมาย โดยบอก
ตาแหนง่ ทแ่ี นน่ อนของบุคคลที่ต้องการความชว่ ยเหลือ ก่อนแยกจากกันผูช้ ่วยทัง้ สองคนควรจะตก
ลงใหแ้ นน่ อน วา่ หลังจากการอพยพออกจากอาคารแล้วจะนดั พบกนั ทบ่ี ริเวณไหน
- หลังจากท่ีการอพยพประสบความสาเร็จแล้ว ผู้ช่วยทั้งสองคนควรจะมาพบกันในบริเวณท่ีได้นัด
หมายกันไว้เพ่ือให้แน่ใจว่าทั้งผู้ช่วยและบุคคลท่ีได้รับการช่วยเหลือได้อพยพออกจากอาคารอย่าง
ปลอดภัยแลว้
กำรตรวจสอบรำยช่ือบคุ ลำกรหลังจำกกำรอพยพ
หลังจากการอพยพแล้ว ทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคารที่รับผิดชอบประจาอาคาร/ประจาชั้นพ้ืนที่
ทเี่ กดิ เหตุฉุกเฉนิ (Floor Captain) จะต้องตรวจสอบรายชื่อบุคลากรทัง้ หมด สว่ นอาจารย์/ผ้สู อนจะต้องตรวจสอบ
รายชื่อนักศึกษาในช้ันเรียนของตนเองว่าอยู่ครบทุกคนหรือไม่ จากนั้นจะต้องรายงานผลการตรวจนับให้ผู้
ประสานงานปฏิบัติการควบคุมภาวะฉกุ เฉินทราบในทันที
กำรกลบั เข้ำไปในอำคำรใหม่ (Re – entry)
จะไม่อนุญาตให้ บุคลากรและนักศึกษาทุกคนที่อพยพออกจากอาคาร กลับเข้าไปในอาคารนั้นอีก
จนกว่าเจ้าหน้าท่ีดับเพลิงหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายได้ตรวจสอบอาคารแล้วแจ้งว่าปลอดภัยสามารถเข้าไปทางานได้
ตามปกติ
ระบบบริหารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 26
กำรสอ่ื สำรและกำรฝึกอบรม
กำรประกำศ
แผนปฏิบัติการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน เบอร์โทรศัพท์ที่ต้องติดต่อเพ่ือขอความช่วยเหลือและเส้นทาง
การอพยพ จะถกู ตดิ ประกาศไว้ในพนื้ ท่สี ญั จรหลักของอาคารเพือ่ ให้ทกุ คนได้รับทราบข้อมลู
กำรฝึกอบรม
นักศึกษำ
ระหว่างสัปดาห์แรกของภาคเรียน อาจารย์/ผู้สอนได้รับมอบหมายให้ประกาศแจ้งให้นักศึกษา
ทราบถึงเร่ืองการปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ทางหนีไฟที่ใกล้ที่สุดและเส้นทางการอพยพ โดยอาจารย์/ผู้สอนควร
เดนิ พานักศกึ ษาไปดดู ้วยตนเอง สว่ นการฝึกอบรมควรมีเนือ้ หาครอบคลุมถึง
- ประเภทของเหตฉุ กุ เฉินที่อาจเกิดในรศั มีหอ้ งเรียน
- การระมัดระวังเพื่อป้องกันภาวะฉุกเฉนิ
- แผนเฝา้ สังเกตการณ์เม่ือเกดิ เหตฉุ ุกเฉิน
- ระบบสัญญาณเตือนภยั ในอาคาร และแผนการอพยพเม่ือสัญญาณเตือนภัยดังขึ้น
- เสน้ ทางการอพยพ บริเวณทางออกทใี่ กลท้ ่สี ดุ และพ้ืนท่ีรวมพลที่เปน็ จุดนัดพบ
- การตรวจสอบรายชอ่ื ในบรเิ วณพืน้ ทรี่ วมพลและตรวจสอบอีกครง้ั เมื่อกลบั เข้าห้องเรียน
บุคลำกร
บุคลากรที่ได้รับการว่าจ้างจากมหาวิทยาลัยทุกระดับควรเข้ารับการฝึกอบรมอย่างน้อยปีละคร้ัง
ในเรื่องหลักๆ คือแผนปฏิบัติการเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉินท่ัวไป นโยบายการอพยพ วิธีการแจ้งเหตุเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน
ข้นั ตอนปฏิบัติในการหลบหนีและเส้นทางออก และพนื้ ท่ีท่รี วมพลเมอื่ มกี ารอพยพ
ทมี ระงับเหตฉุ กุ เฉินประจำอำคำร และทีมระงับเหตุฉุกเฉนิ มจธ.
จะตอ้ งเขา้ รบั การอบรมอยา่ งน้อยปีละคร้ัง โดยมีหวั ข้อการอบรมดงั นี้
- ขน้ั ตอนการแจ้งเหตุและปฏิบตั กิ ารเม่ือเกิดเหตฉุ ุกเฉิน
- การระงบั เหตุฉกุ เฉนิ เบอื้ งตน้
- การประสานงานระหว่างเจ้าหน้าท่ีหน่วยฉุกเฉินจากภายนอกเพื่อให้การสนับสนุนและ
ชว่ ยเหลือ
- การตรวจสอบรายชือ่ บคุ ลากร
- การตรวจสอบเสน้ ทางการอพยพ ทางออกและอปุ กรณ์ปอ้ งกันเหตฉุ ุกเฉนิ
ระบบบรหิ ารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 27
กำรฝกึ ซ้อมกำรอพยพ
กาหนดการฝึกซ้อมการอพยพในช่วงเวลาทางานปกติให้เหมาะสม การประเมินผลหลังการฝึกซ้อมการ
อพยพควรจะมกี ารจัดเก็บใหเ้ ป็นระบบเพอ่ื ใช้เป็นขอ้ มูลสาหรบั ปรับปรุงแผนปฏบิ ัตกิ ารเม่ือเกิดเหตุฉกุ เฉนิ ต่อไป
วธิ กี ำรปฏิบัติเมื่อเกดิ เหตุฉกุ เฉิน
เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินจากอุบัติภัยชนิดต่าง ๆ ให้นักศึกษา บุคลากรทุกคนปฏิบัติตามข้ันตอนท่ีระบุไว้ใน
วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินในกรณีต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ โดยวิธีปฏิบัตกิ ารเหล่าน้ีสามารถนาไปติดประกาศไวใ้ น
พื้นที่เสี่ยงหรือจัดทาเป็นเอกสารเพ่ือติดประจาในทุกหน่วยงาน, ฝ่ายงาน, สานักงานหรือห้องปฏิบัติการ โดย
เพ่มิ เตมิ หมายเลขโทรศัพท์ของทมี ระงบั เหตุฉุกเฉินประจาอาคารได้
กำรสำรวจและเกบ็ ข้อมูลหลงั เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ
เม่ือเกิดอุบัติเหตุหรือเหตุฉุกเฉิน หลังจากที่ดาเนินการระงับเหตุและเหตุการณ์เข้าสู่สภาวะปกติแล้ว
คณะกรรมการระงับเหตุฉุกเฉินจะมอบหมายให้ทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคาร ทีมงานระงับเหตุฉุกเฉิน
มจธ. ร่วมกับทมี งานอาสาสมัครกู้ภัย หรือระงับอบุ ัตภิ ยั จากหนว่ ยงานภายนอกกรณรี ้ายแรง เข้าสารวจ บนั ทกึ เก็บ
ข้อมลู และประเมนิ ความเสยี หาย
กำรรำยงำนอบุ ัตเิ หตุและเหตฉุ ุกเฉนิ
การรายงานอุบัติเหตุและเหตุฉุกเฉินทุกคร้ัง ต้องดาเนินการตามแบบฟอร์มการรายงานอุบัติเหตุและเหตุ
ฉุกเฉิน ซึ่งเป็นรายงานเบื้องต้นที่ต้องจัดทาและส่งให้กับคณบดี/ผู้อานวยการเพื่อทราบและให้ข้อเสนอแนะ และ
ต้องจัดทารายงานอุบัติเหตุและเหตุฉุกเฉิน ในกรณีเกิดเหตุร้ายแรงท่ีเป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของ
นักศึกษา บุคลากรของมหาวิทยาลัย และก่อให้เกิดความเสียหายเป็นวงกว้าง โดยการจัดทารายงานเร่ิมจากทีม
ระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคาร และหน่วยประสานงานด้านปฏิบัติการจากส่วนงานอาคารและสถานที่ ร่วมกับ
พนักงานรักษาความปลอดภัย จัดทารายงานส่งให้คณบดี/ผู้อานวยการคณะ/สานักที่เกิดเหตุ ซ่ึงเป็นหัวหน้าฝ่า ย
ควบคุมการส่ังการ ต่อจากน้ันคณบดี/ผู้อานวยการสานักต้องรวบรวมข้อมูลจัดทารายงานต่ออธิการบดี หรือรอง
อธกิ ารบดีทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ซึ่งจะมีการจดั ทาแฟม้ ข้อมูลไว้เป็นกรณีศึกษาต่อไป
ระบบบรหิ ารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 28
แบบฟอรม์ รายงานอบุ ตั เิ หตุและเหตฉุ ุกเฉิน
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี
แบบฟอรม์ รำยงำนอบุ ตั ิเหตุ
มหำวิทยำลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลำ้ ธนบรุ ี
เรื่อง ....................................................................
หน่วยงำน/คณะ/สำนกั ................................................................. ภำควชิ ำ/ฝำ่ ย .....................................................
วันทีเ่ กดิ เหตุ ...................................... เวลำ............................... วนั ทร่ี ำยงำน ......................................................
1. รำยละเอียดของผู้ประสบเหตุ
ชอื่ -สกลุ
อายุ
ตาแหนง่
หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ
อายกุ ารปฏิบตั ิงาน
อ่ืน ๆ
2. ควำมร้ำยแรงของอุบัตเิ หตุ
บาดเจบ็ เลก็ น้อย
บาดเจ็บปานกลาง
บาดเจ็บสาหัส
พิการบางส่วน
ทพุ พลภาพ
ตาย
ทางานไมไ่ ด้ชว่ั คราว ตอ้ งหยดุ ……..… วนั
ส่วนของรา่ งกายทบี่ าดเจบ็ คือ ….............................................................................................
อาคารและสถานท/ี่ เครือ่ งมืออปุ กรณ์ ได้รบั ความเสียหาย ในพนื้ ที่ ...................................
ระบบบรหิ ารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 29
3. ควำมเสียหำย
ค่ารกั ษาพยาบาล/ตรวจเชค็ รา่ งกาย ......... บาท
ค่าซ่อมแซมเคร่ืองจักร/อุปกรณ์/ปรับปรุงพน้ื ท่ี ......... บาท
ค่าใชจ้ า่ ยในการระงับเหตุ ......... บาท
อื่น ๆ ......... บาท
4. รำยละเอยี ดของกำรเกดิ อุบัตเิ หตุ
ไฟไหม้ สารเคมีหกร่วั ไหล อบุ ัตเิ หตจุ ากเคร่ืองจักร อุบัติเหตุจากระบบไฟฟา้
อ่นื ๆ..................................................................................................................โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี
........................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................... ........................
.......................................................................................................................................
5. กำรวเิ ครำะห์
สำเหตุของอุบัติเหตุ
การปฏบิ ัตงิ านทไ่ี ม่ปลอดภยั
สภาพแวดลอ้ มทไ่ี มป่ ลอดภยั …………………..………………….……...……………
อน่ื ๆ ความประมาท เลนิ เลอ่
6. ข้อเสนอแนะสำหรับกำรแก้ไขปอ้ งกนั
................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………
ระบบบรหิ ารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 30
ผรู้ ำยงำน รบั ทรำบ
………………..…………………...... ………………..…………………..
(........................................................) (ผศ.สชุ าดา ไชยสวสั ดิ)์
ตาแหนง่ ผู้ชว่ ยรักษาการผอ.ศูนย์ EESH
ตาแหนง่ ..................................... ………. / …….… /………..
………. / …….… /……….
รับทรำบ
รบั ทรำบ
................................................
................................................ (ผศ.ดร.ประเสริฐ คนั ธมานนท์)
(รศ.ดร.โสฬส สุวรรณยนื ) รองอธกิ ารบดอี าวุโสฝ่ายบรหิ าร
ตาแหนง่ รกั ษาการ ผอ.ศนู ย์ EESH …….… / ……… / ………
…….… / ……… / ………
ระบบบรหิ ารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 31
7. กำรส่งั กำรหรือดำเนินกำรของฝ่ำยบรหิ ำร
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
ผสู้ งั่ กำร
...............................................
(...............................................................)
.............../.................../..................
ระบบบรหิ ารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 32
รปู ภำพประกอบกำรเกดิ อุบตั ิเหตุ
ระบบบรหิ ารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 33
กำรเก็บรักษำข้อมลู
ขอ้ มูลกำรฝึกอบรม
ข้อมูลของการฝึกอบรมได้แก่ หลักสูตรและหัวข้อ/เร่ืองที่อบรม วันเดือนปี รายชื่อผู้ฝึกสอน-ผู้เข้า
อบรม จะถูกจัดไว้อย่างน้อย 1 ปีโดยศูนย์ EESH ส่วนอาจารย์/ผู้สอนมีหน้าท่ีเก็บข้อมูลการฝึกอบรมของนักศึกษา
ไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 3 ปี
ข้อมูลรายงานอุบัติเหตุและเหตุฉุกเฉินจะถูกส่งเก็บไว้ที่ศูนย์ EESH และสาเนาไว้ท่ีฝ่ายแผนงานและ
ขอ้ มูลที่กองแผนงาน เพือ่ เปน็ หลกั ฐานการเกดิ อุบัตเิ หตุตอ่ ไป
กำรบำรงุ รักษำระบบสัญญำณเตอื นภยั
หัวหน้าส่วนอาคารเป็นผู้ดูแล/ซ่อมบารุงระบบสัญญาณเตือนภัยอย่างสม่าเสมอและต้องเก็บไว้อย่าง
นอ้ ย 1 ปี
ระบบบรหิ ารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 34
บทท่ี 6
วิธีกำรปฏิบตั ิเมอื่ เกดิ เหตุฉกุ เฉิน
6.1 วธิ ีปฏบิ ตั เิ มอื่ เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ จำกเพลิงไหมห้ รอื ไฟไหม้
1. เม่ือประสบเหตุเพลิงไหม้หรือไฟลุกไหม้ ให้ปิดประตูห้องที่ไฟไหม้อยู่ และกดปุ่มสัญญาณไฟไหม้
ประจาอาคารหรอื Fire alarm ทันที
2. โทรไปท่ีศูนย์แจ้งเหตุฉุกเฉิน มจธ. หมายเลขโทรศัพท์ มจธ.บางมด 02-470-8207,02-470-9090
และ มจธ.บางขุนเทียน 02-470-7399 หรือหมายเลขโทรศัพท์ทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคาร
บอกชือ่ ผู้แจ้ง หน่วยงานและตาแหนง่ พร้อมสาเหตุของไฟไหม้
3. ถ้าเกิดเพลิงลุกไหม้เพียงเล็กน้อย ทีมงานระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคารจะเข้าดาเนินการและ
ปฏิบัตงิ านระงับเหตเุ บื้องต้น
4. กรณเี กดิ เพลิงลกุ ไหม้ขนาดใหญ่ มคี วนั หนา หรือเพลิงลุกลามอย่างรวดเร็ว ใหท้ ีมงานระงับเหตุฉุกเฉิน
ประจาอาคารดาเนินการอพยพคนในอาคารทันที โดยใช้บันไดหนีไฟที่อยู่ใกล้ท่ีสุด และกดปุ่ม
สัญญาณไฟไหม้และประกาศโดยใช้ระบบประกาศแจ้งเตือนให้ทุกคนในอาคารอพยพทันที และห้าม
ไมใ่ ห้ผ้ทู ี่ไมเ่ ก่ยี วข้องกับการระงบั เหตเุ ขา้ ไปในอาคารอย่างเด็ดขาด
5. เปิดหน้าต่างและปิดประตูห้องทางานก่อนอพยพ เดินอย่ำงเป็นระเบียบห้ำมว่ิงไปยังบันไดหนีไฟที่
ใกล้ที่สุด ในกรณีผู้พิการให้รออยู่ท่ีบันไดหนีไฟท่ีใกล้ที่สุด และแจ้งผู้นาทีมอพยพเพ่ือให้คนมา
ช่วยเหลอื และรออยู่ท่นี น่ั
6. เมอ่ื สัญญาณเตอื นภัยดงั ขนึ้ ห้ามใชล้ ิฟต์โดยเด็ดขาด เพราะอาจไมท่ างานหรือหยุดเน่อื งจากเพลงิ ไหม้
7. ทีมอพยพต้องอพยพผู้คนไปยังจุดนัดหมายอพยพที่ห่างจากอาคารไม่น้อยกว่า 200 เมตร และต้องไม่
ขัดขวางการทางานของหน่วยระงับเหตุ ต้องไม่กลับเข้ำไปในอำคำรเด็ดขำด จนกว่าจะมีประกาศให้
กลบั เข้าไป
8. ในกรณีท่ีพบว่ามีผู้ติดอยู่ในอาคารหรือสูญหายในช่วงอพยพ ให้แจ้งทีมระงับเหตุ หน่วยบรรเทาสา
ธารณภัย หรือพนกั งานดับเพลิงทนั ที
9. เมอ่ื สัญญาณไฟไหม้ดังข้นึ เมอ่ื ไหร่ ทกุ คนในอาคารจะต้องอพยพออกจากอาคารไปยังจดุ รวมพลทันที
กรณีฉุกเฉินแจ้งศนู ย์แจ้งเหตุฉุกเฉิน มจธ. มจธ.บำงมด 02-470-8207,02-470-9090 และ มจธ.
บำงขุนเทียน 02-470-7399, ศูนย์ EESH 02-470-8293
ระบบบรหิ ารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 35
6.2 วธิ ปี ฏบิ ตั ิเมอื่ เกิดเหตุฉกุ เฉนิ จำกสำรเคมอี ันตรำยหรอื แก๊สรว่ั
เมื่อพบว่ามีสารอันตรายหรือแก๊สอันตรายรั่วหรืออยู่ในสภาวะที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคล
ใกล้เคียง ผู้ประสบเหตุต้องแจ้งผู้ควบคุมห้องปฏิบัติการหรือผู้รับผิดชอบเพื่อประเมินสถานการณ์ หากเป็น
สถานการณ์ทีร่ า้ ยแรงต้องดาเนนิ การดงั น้ี
1. จากัดบริเวณท่ีเกิดเหตุหรือควันไฟ โดยการอพยพคนออกให้หมดและปิดประตูห้องท่ีเกิดเหตุนั้น ถ้า
เป็นไปได้ให้ถอดปลั๊กและย้ายแหลง่ กาเนิดไฟออก
2. โทรไปท่ีศูนย์แจ้งเหตุฉุกเฉิน มจธ. หมายเลขโทรศัพท์ มจธ.บางมด 02-470-8207,02-470-9090
และ มจธ.บางขุนเทียน 02-470-7399 และหมายเลขโทรศัพท์ของทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคาร
เพื่อให้เข้ามาดาเนินการต่อ โดยระบุชื่อผู้แจ้ง หมายเลขโทรศัพท์ สถานท่ีเกิดเหตุ ชื่ออาคารและ
สถานทเ่ี กดิ เหตุ
3. กรณีเกิดเหตุร้ายแรงและอาจมีการแพร่กระจายของสารเคมีหรือแก๊ส ทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจา
อาคารมีอานาจตัดสินใจท่ีกดสัญญาณเตือนภัยฉุกเฉิน และอพยพคนออกจากอาคารตามข้ันตอนท่ี
กาหนดไว้ในวิธีปฏิบัตอิ พยพคนออกจากอาคาร
4. กรณีเกิดเพลิงลกุ ไหม้ขนาดใหญ่ มคี วนั หนา หรอื เพลิงลุกลามอย่างรวดเร็ว ให้ทีมงานระงบั เหตุฉุกเฉิน
ประจาอาคารดาเนินการอพยพคนในอาคารทันที โดยใช้บันไดหนีไฟท่ีอยู่ใกล้ที่สุด และกดปุ่ม
สัญญาณไฟไหม้และประกาศโดยใช้ระบบประกาศแจ้งเตือนให้ทุกคนในอาคารอพยพทันที และห้าม
ไมใ่ ห้ผทู้ ี่ไม่เก่ยี วข้องกับการระงับเหตเุ ข้าไปในอาคารอย่างเด็ดขาด
5. เปิดหน้าต่างและปิดประตูห้องทางานก่อนอพยพ เดินอย่ำงเป็นระเบียบห้ำมวิ่ง ไปยังบันไดหนีไฟท่ี
ใกล้ท่ีสุด ในกรณีผู้พิการให้รออยู่ท่ีบันไดหนีไฟที่ใกล้ที่สุด และแจ้งผู้นาทีมอพยพเพื่อให้คนมา
ชว่ ยเหลือและรออย่ทู ี่น่นั
6. เมอ่ื สัญญาณเตือนภัยดงั ขน้ึ หา้ มใชล้ ฟิ ต์โดยเดด็ ขาด เพราะอาจไมท่ างานหรือหยดุ เนอ่ื งจากเพลิงไหม้
7. ทีมอพยพต้องอพยพผู้คนไปยังจุดนัดหมายอพยพที่ห่างจากอาคารไม่น้อยกว่า 200 เมตร และต้องไม่
ขัดขวางการทางานของหน่วยระงับเหตุ ต้องไม่กลับเข้ำไปในอำคำรเด็ดขำด จนกว่าจะมีประกาศให้
กลบั เข้าไป
8. ในกรณีที่พบว่ามีผู้ติดอยู่ในอาคารหรือสูญหายในช่วงอพยพ ให้แจ้งทีมระงับเหตุ หน่วยบรรเทา
สาธารณภัยหรือพนกั งานดบั เพลงิ ทันที
9. เมอ่ื สญั ญาณไฟไหม้หรือสัญญาณเตือนภยั ฉกุ เฉินดังข้ึนเม่ือไหร่ ทกุ คนในอาคารจะต้องอพยพออกจาก
อาคารไปยังจุดรวมพลทนั ที
กรณีฉุกเฉินแจ้งศูนย์แจ้งเหตุฉุกเฉิน มจธ. มจธ.บำงมด 02-470-8207,02-470-9090 และ มจธ.
บำงขุนเทยี น 02-470-7399, ศูนย์ EESH 02-470-8293
ระบบบรหิ ารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 36
6.3 วิธปี ฏบิ ตั ิเมื่อเกิดเหตฉุ ุกเฉินจำกแผ่นดนิ ไหวหรอื อุบัตภิ ยั ธรรมชำติ
1. เมื่อเกิดแผ่นดินไหวหรืออุบัติภัยธรรมชาติ โดยมีการเตือนภัยล่วงหน้าจากหน่วยงานของรัฐหรือ
หน่วยงานอื่น อธิการบดีหรือรองอธิการบดีที่ได้รับมอบหมายจะเป็นผู้แจ้งเหตุพร้อมเอกสารเตือนภัย
ระบุถึงรายละเอียด ขอบเขตของการแจ้งเตือนภัย และวิธีปฏิบัติตามข้ันตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินจาก
แผ่นดินไหวหรืออุบัติภัยธรรมชาติจากหนว่ ยงานบรรเทาสาธารณภัยท้องถิ่น ซ่ึงศูนย์ระงับเหตุฉุกเฉิน
ทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจาอาคาร ภายใน มจธ. และศูนย์ EESH จะร่วมมือในการแจ้งเหตุและ
ประกาศ ส่งเอกสารให้ทราบถึงวธิ ีปฏบิ ัติ
2. เม่ือเกิดแผ่นดินไหวหรืออุบัติภัยธรรมชาติโดยไม่มีการเตือนภยั ลว่ งหน้า อธิการบดีหรือรองอธิการบดี
ที่ไดร้ บั มอบหมาย จะเป็นผูป้ ระกาศเหตฉุ ุกเฉินพร้อมกดสญั ญาณเตือนภยั และแจ้งใหห้ นว่ ยระงับเหตุ
ฉุกเฉินภายใน และหน่วยสนับสนุนช่วยเหลือภายนอกทุกหน่วยเข้าประจาการเพ่ือวางแผนงาน และ
อพยพคนออกจากพ้ืนท่ีไปยังบริเวณปลอดภัย โดยส่งเอกสารให้ทราบถึงวิธีปฏิบัติเม่ือเกิดเหตุ และ
กาชบั ให้ทกุ คนปฏิบัติตามอยา่ งเครง่ ครัด
3. อธิการบดีหรือรองอธิการบดีท่ีได้รับมอบหมายมีอานาจส่ังการให้หยุดเรียนในกรณีเกิดเหตุรุนแรง
และผลของการเกิดเหตุก่อให้เกิดผลกระทบต่อกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมอ่ืนๆ ของ
มหาวทิ ยาลัย
4. ในกรณผี ปู้ ระสบเหตซุ ึ่งเปน็ บคุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั พบปัญหาหรอื ประสบเหตซุ ่งึ เป็นสญั ญาณเตือน
ขั้นต้นก่อนเกิดแผ่นดินไหวหรืออุบัติภัย ให้ดาเนินการแจ้งต่อศูนย์แจ้งเหตุฉุกเฉินท่ีหมายเลขโทรศพั ท์
มจธ.บางมด 02-470-8207,02-470-9090 และ มจธ.บางขุนเทียน 02-470-7399 พร้อมบอกช่ือ
หมายเลขโทรศพั ท์ หนว่ ยงาน และเหตุทพี่ บอย่างเร่งดว่ น
5. ในกรณีนักศึกษา บุคลากรของ มจธ. ประสบเหตุอันเน่ืองมาจากแผ่นดินไหว เช่น อาคารพังหรือของ
หลน่ แตกหัก ควรดาเนนิ การตามขัน้ ตอนดังต่อไปน้ี
5.1. ออกจากบริเวณท่ีเกิดเหตุให้เร็วที่สุด โดยเลือกทางออกท่ีปลอดภัยโดยออกจากอาคาร อย่า
หนีเขา้ ไปในอาคาร
5.2. เม่ือออกสู่บริเวณปลอดภัยแล้วให้โทรแจ้งต่อศูนย์แจ้งเหตุฉุกเฉินท่ีหมายเลขโทรศัพท์ มจธ.
บางมด 02-470-8207,02-470-9090 และ มจธ.บางขุนเทียน 02-470-7399 บอกช่ือ
หมายเลขโทรศัพท์ หน่วยงาน เหตทุ ี่พบ สถานทเี่ กิดเหตแุ ละบรเิ วณท่ีเกดิ เหตุ
5.3. ทีมระงับเหตุฉุกเฉินจาก มจธ. จะดาเนินการปฏิบัติการด้านอพยพคนออกจากอาคารและ
ประสานด้านการจัดการควบคมุ ภาวะฉกุ เฉินตามระบบของมหาวทิ ยาลยั ไปยังพืน้ ทีป่ ลอดภัย
5.4. ห้ามไม่ให้บุคคลใดๆ เข้าอาคารท่ีเกิดเหตุเด็ดขาดยกเว้นทีมระงับเหตุฉุกเฉินและหน่วย
บรรเทาสาธารณภยั
5.5. อธกิ ารบดแี ละทมี อานวยการควบคุมภาวะฉุกเฉิน สัง่ การและดาเนินการตามความเหมาะสม
ของสภาวะ และแจง้ ขอความช่วยเหลือจากหน่วยสนับสนนุ /ช่วยเหลอื ภายนอก
ระบบบรหิ ารจดั การควบคุมภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 37
5.6 เมื่อสัญญาณเตือนภัยดังขึ้นห้ามใช้ลิฟต์โดยเด็ดขาด เพราะอาจไม่ทางานหรือหยุดเน่ืองจาก
เพลิงไหม้
5.7 ทีมอพยพต้องอพยพผู้คนไปยังจุดนัดหมายอพยพที่ห่างจากอาคารไม่น้อยกว่า 200 เมตร
และต้องไม่ขัดขวางการทางานของหน่วยระงับเหตุ ต้องไม่กลับเข้ำไปในอำคำรเด็ดขำด
จนกวา่ จะมปี ระกาศใหก้ ลับเขา้ ไป
5.8 ในกรณีท่ีพบว่ามีผู้ติดอยู่ในอาคารหรือสูญหายในช่วงอพยพ ให้แจ้งทีมระงับเหตุ หน่วย
บรรเทาสาธารณภัยหรือพนักงานดับเพลงิ ทนั ที
5.9 เมื่อสัญญาณเตือนภัยดังขึ้นเมื่อไหร่ ทุกคนในอาคารจะต้องอพยพออกจากอาคารไปยังจุด
รวมพลทันที
กรณีฉุกเฉินแจ้งศนู ย์แจ้งเหตุฉุกเฉิน มจธ. มจธ.บำงมด 02-470-8207,02-470-9090 และ มจธ.
บำงขุนเทียน 02-470-7399, ศูนย์ EESH 02-470-8293
6.4 วิธปี ฏิบตั ิเมอื่ มีกำรขวู่ ำงระเบดิ
เมอื่ มีการขู่วางระเบดิ ให้ปฏบิ ัติตามน้ี
1. พยายามใหผ้ ู้ทโ่ี ทรมาแจ้งเหตุอยู่ในสายนานทสี่ ุด และพยายามให้พดู ทวนข้อมูลหลายๆครั้ง ถ้าเป็นไป
ได้ให้จดทุกคาพูดของผู้ที่โทรมาแจ้งเหตุและในกรณีที่โทรศัพท์เป็นชนิดโชว์หมายเลขให้จดหมายเลข
โทรศัพทไ์ ว้
2. ถามผู้แจง้ เหตใุ ห้ชดั เจนเก่ยี วกบั ตาแหนง่ หรือจดุ ท่ีวางระเบิดตลอดจนเวลาทจี่ ะระเบดิ
3. บอกผู้แจ้งเหตุว่าอาคารท่ีจะวางระเบิดนั้นมีคนอาศัยหรือทางานอยู่เป็นจานวนมาก ถ้าเกิดระเบิดขึ้น
จะมคี นตายและบาดเจ็บมาก
4. พยายามสังเกตสิ่งแปลกๆตลอกจนเสียงรอบข้างของผู้แจ้งเหตุ เช่น เสียงรถว่ิง เสียงเพลง(เป็นแนว
ไหน) และเสยี งอน่ื ๆ ทอี่ าจจะเป็นรอ่ งรอยในการสบื คน้ หาสถานทว่ี ่าโทรมาจากท่ีไหน
5. ฟังใหช้ ดั ว่าเป็นเสียงผู้หญงิ /ผู้ชาย ลักษณะเสียง(ทมุ้ หา้ ว แหลม) สาเนียงและคาพดู ขม่ ขู่
6. รายงานข้อมูลทง้ั หมดแกร่ องอธิการบดีท่ีได้รบั มอบหมาย
รองอธิการบดีท่ีได้รับมอบหมายจะติดต่อกับ “สถานีตารวจทุ่งครุ” และเริ่มกระบวนการอพยพโดย
คณะทางานท่ีได้รับมอบหมายจะทาการประสานงานกบั เจ้าหน้าท่ีตารวจตรวจค้นผู้ท่ีอาจหลงเหลือใน
แตล่ ะห้องของบริเวณท่ีได้รบั การแจ้งเหตุ
ระบบบรหิ ารจดั การควบคมุ ภาวะฉุกเฉินจากอบุ ตั ภิ ยั 2563 38