The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KMUTT Office of Sustainability, 2021-09-28 09:44:14

KMUTT Safety Week 2021

KMUTT Safety Week 2021

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

นโยบายดา้ นการจดั การความยั่งยนื
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี

มจธ.มุง่ มั่นในการพฒั นามหาวทิ ยาลัยใหเ้ ปน็ ผนู้ ำ� ด้านความยัง่ ยืนในทกุ กจิ กรรมของมหาวิทยาลยั เรม่ิ จากการ
ดำ� เนนิ งาน การเรยี นการสอนและการวิจยั โดยมีพนั ธะสัญญาในการด�ำเนินการดงั น้ี

• พฒั นามหาวิทยาลยั ให้เปน็ มหาวทิ ยาลยั สีเขียวอย่างยั่งยืนโดยเปน็ ต้นแบบด้านการจัดการพลังงาน สิ่งแวดล้อมความปลอดภยั
และสร้างกลไกในการพัฒนาผ้นู ำ� ดา้ นกิจกรรมความย่งั ยนื

• ส่งเสริมนกั ศกึ ษาและบุคลากรใหเ้ ปน็ ผู้น�ำแห่งการเปล่ียนแปลง(Social Change Agent)เพอ่ื ช่วยเหลือชุมชนและสังคมให้มี
คณุ ภาพชวี ิตท่ีดขี นึ้ โดยยึดหลักการของการพัฒนาสูค่ วามยั่งยนื ภายใตป้ รัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

• มงุ่ ม่นั ใหเ้ กดิ การพัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่องด้านระบบการจดั การพลังงาน สงิ่ แวดลอ้ มความปลอดภยั เพ่ือใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายใหเ้ กิด
ความย่งั ยนื สำ� หรับทกุ คน
รองศาสตราจารย์ ดร.สวุ ทิ ย์ แซเ่ ตีย
อธิการบดี
ธันวาคม 2561

2 KMUT SAFETY WEEK 2021

สารบัญั

นโยบายด้้านการจัดั การความยั่�งยืืน มจธ. 2
ประกาศนโยบายด้้านความปลอดภััย มจธ. 4

คาํ กลา วเปด งาน 5
กำำ�หนดการกิจิ กรรม 6
รายละเอีียดกิิจกรรม 7
นิทิ รรศการความปลอดภัยั 9
นิทิ รรศการเรื่อ� ง Covid – 19 28
นิทิ รรศการเรื่�อง Green Nudges 36
นิทิ รรศการรางวััลแห่ง่ ความภาคภููมิิใจ มจธ. 38
เป้้าหมายการพัฒั นาที่่�ยั่ง� ยืนื 39
Guidelines for New Normal in Laboratory 49
ผลการดำำ�เนิินงานในช่่วงวิกิ ฤติิ โควิดิ -19 51
ผลการดำำ�เนินิ การของศูนู ย์์ EESH 58
IMPACT และ OUTCOME ที่่ไ� ด้้จากการดำ�ำ เนิินงาน 77

KMUT SAFETY WEEK 2021 3

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

ประกาศวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี
เร่ือง นโยบายด้านความปลอดภยั มจธ. (Safety Policy in KMUTT)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี
เพอื่ ให้มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี (มจธ.) เป็นมหาวทิ ยาลยั ท่มี ีการจดั การ
ความปลอดภยั ท่เี ปน็ ตน้ แบบและตัวอยา่ งท่ี ดีต่อนักศึกษา บุคลากรและชุมชนทีม่ อี ยรู่ อบข้าง ตลอดจนมุง่
หวังท่ี จะให้เกิดการขยายผลต่อหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในการน�ำระบบการจัดการเหล่าน้ีไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดผลดตี อ่ ประเทศชาตโิ ดยรวม มจธ. จึงไดม้ ีนโยบายด้านการจดั การความปลอดภยั ดังน้ี
1. มจธ. มีพันธสุ ญั ญาในการจดั ระบบบริหารจดั การดา้ นความปลอดภยั ทีส่ อดคล้องกับวิสัย
ทศั น์ดา้ นพลงั งานส่ิงแวดลอ้ มความปลอดภัยและอาชวี อนามยั อยา่ งครบถ้วน และมีการตรวจติดตามเพื่อ
พัฒนาอย่างตอ่ เนอ่ื ง
2. มจธ. มีพนั ธะสญั ญาในการสรา้ งระบบการจดั การความปลอดภัย ภายในมหาวทิ ยาลัยเพื่อให้
นักศึกษาและบุคลากรทุกคนท่ีเข้าด�ำเนินการภายในมหาวิทยาลัยเกิดความม่ันใจในความปลอดภัยด้าน
ชีวิตและทรัพย์สินและสุขภาพตลอดจนความปลอดภัยในการท�ำงานท่ีมีการตรวจสอลแะลด�ำเนินการ
พัฒนาระบบอยา่ งต่อเนือ่ ง
3. มจธ. มภี ารกิจท่ี ต้องด�ำเนนิ กจิ กรรมของมหาวิทยาลยั ด้านความปลอดภัยที่สอดคลอ้ งกับกฎ
ระเบยี บและมาตรฐานของรัฐอย่างเครง่ ครัด
4. มจธ.มีภารกิจที่ตอ้ งด�ำเนนิ การพัฒนาวธิ ีการเพอื่ ก�ำจัด บ�ำบดั หรอื หลีกเล่ียงการใชส้ าร
อันตรายหรือ วิธกี ารที่กอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ความปลอดภยั ของนกั ศกึ ษา บุคลากรภายใน มจธ. และ
ชุมชนรองขา้ ง
5. มจธ. มคี วามมงุ่ มัน่ ที่จะลดการใชแ้ ละปลดปล่อยสารอันตรายของเสียอตั นรายท่มี ผี ลกระทบ
ต่อความปลอดภัยของนักศึกษาบุคลากรและชุมชนรองข้างโดยมีการรายงานการครบอครองการใช้และ
การปลดปล่อยสารอันตรายของเสยี อนั ตรายเหลา่ นั้นอยา่ งเป็นระบบ
6. มจธ. มคี วามมุง่ มน่ั ในการจัดระบบความปลอดภยั ในการท�ำงานของบุคลากรให้เปน็ ไปตาม
มาตรฐานและมีการพัฒนาให้เกิดการเรียนรู้ด้านมาตรฐานความปลอดภัยและการท�ำงานอย่างปลอดภัยให้
กับนกั ศึกษาและบคุ ลากรทุกระดบั อยา่ งตอ่ เน่ือง
7. มจธ.จะสอื่ สาร สง่ เสรมิ และประชาสมั พันธก์ ฎระเบยี บ ขอ้ ก�ำหนดตามนโยบายการจดั การ
ความปลอดภัยของมจธ.ให้นักศึกษาบุคลการและหน่วยงานอ่นื ท่ีเข้าด�ำเนินการให้ทราบข้อมูลและยึดถือ
ปฏบิ ัติให้เปน็ ไปตามรูปแบบเดยี วกันทัง้ มหาวทิ ยาลยั และสามารถน�ำไปเผยแพรข่ ยายต่อเนอ่ื งสูส่ าธารณะ
และชุมชน

จงึ ประกาศมาเพอื่ ทราบและถอื ปฏิบัติโดยพรอ้ มเพียงกนั

ประกาศ ณ วนั ท่ี 7 พฤษภาคม 2562

(รศ.ดร.สุวทิ ย์ แชเ่ ตยี )
อธกิ ารบดบี ดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

4 KMUT SAFETY WEEK 2021

คำกลา วเปด งาน
โครงการสปั ด้าหค์ วามปลอด้ภัยั ในการทาำ งาน มจัธ. ครง้ั ท�ี 19
โด้ย รองศาสติรจัารย์ ด้ร.สวุ ิทย์ แซเ่ ติยี
อธกิ ารบด้ี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ัระจัอมเกลา้ ธนบุรี

เรีียน ผู้�บริหิ ารมหาวิิทยาลััย อาจารย์์ บุคุ ลากร นักั ศึกึ ษาและผู้้�มีเี กีียรติิที่่�เข้า้ ร่ว่ มงานทุกุ ท่่าน

มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีพี ระจอมเกล้้าธนบุรุ ีี มุ่�งมั่น� กัับการดำำ�เนิินตามนโยบายด้า้ นการจัดั การความยั่�งยืืน
ที่่�มุ่�งพัฒั นามหาวิิทยาลัยั ให้้เป็็นมหาวิิทยาลัยั สีเี ขียี วอย่า่ งยั่ง� ยืืนที่่�เป็น็ ต้น้ แบบด้้านการจัดั การพลัังงาน สิ่�งแวดล้อ้ ม
ความปลอดภัยั และสร้้างกลไกในการพััฒนาผู้้�นำำ�ด้า้ นกิจิ กรรมความยั่ง� ยืนื เพื่่อ� ส่่งเสริมิ นัักศึึกษาและบุคุ ลากรให้เ้ ป็็น
ผู้้�นำำ�การเปลี่ย� นแปลง (Sustainable Change Agent) เพื่่อ� ช่ว่ ยเหลืือชุุมชนและสัังคมให้ม้ ีีคุุณภาพชีวี ิิตที่่�ดีี รวมถึึง
ความมุ่�งมั่�นให้้เกิิดการพััฒนาระบบการจััดการพลัังงานสิ่ง� แวดล้อ้ ม ความปลอดภัยั อย่่างต่อ่ เนื่่อ� ง ซึ่�งสอดคล้้องกัับเป้้า
หมายของSDG2030 เป้้าหมายที่่� 3 เป้้าหมายที่่� 11 และเป้้าหมายที่่�12 ทั้�งนี้�เพื่่อ� บรรลุเุ ป้า้ หมายให้้เกิิดความยั่�งยืืน
สำำ�หรับั ทุกุ คน

การจัดั กิจิ กรรมสััปดาห์ค์ วามปลอดภััยในการทำ�ำ งาน มจธ. ครั้�งที่่� 19 หรือื KMUTT Safety Week 2021นี้�
ถือื เป็็นกิิจกรรมหนึ่่ง� ที่่ร� ่่วมเฉลิิมฉลอง มจธ.ในวาระครบรอบ 60 ปีี แห่่งการก่่อตั้�งมหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีพระจอมเกล้า้
ธนบุุรีี ที่่เ� น้้นกิจิ กรรมส่่งเสริมิ ความปลอดภััยใส่ใ่ จสุุขภาพใน Theme “Safety for all in KMUTT : next normal for
COVID-19 pandemic “ มจธ. ปลอดภัยั ไร้โ้ ควิิด ภายใต้้การดำ�ำ เนินิ ชีีวิิตวิิถีีใหม่่ ที่่เ� น้น้ ความปลอดภัยั ในห้้าด้้าน
ประกอบด้ว้ ย Lab & Workshop safety, Workplace Safety, Road Safety, Life Safety และFood Safety ภาย
ใต้ก้ ารดำำ�เนิินชีีวิิตตามวิิถึึใหม่ห่ รืือ New normal เพื่่อ� ให้้ทุุกคนปลอดภัยั จากสถานการณ์ก์ ารแพร่ร่ ะบาดของโรค
COVID-19 ที่่ม� หาวิิทยาลัยั เน้น้ การเป็็นองค์ก์ รแห่่งการเรีียนรู้�ที่�ดำำ�เนิินกิิจกรรมในรูปู แบบใหม่่ทั้�งในด้้านการเรีียนการ
สอน การวิิจััยตลอดจนกิิจกรรมการพััฒนานักั ศึึกษาให้เ้ ป็น็ ผู้�เรีียนรู้้�ผ่านระบบ Virtual หรืือ Online ที่่�สอดคล้้องกัับ
มาตรการการเว้น้ ระยะห่า่ งหรือื Social Distancing ที่่�ให้้นัักศึึกษาและบุคุ ลากรทุุกคนมั่�นใจในความปลอดภััยในช่่วง
สถานการณ์์แพร่ร่ ะบาดของโรค COVID-19 รวมทั้�งการส่่งเสริิมให้้เกิิดกิิจกรรม มดอาสา สู้�ภััย COVID-19 ที่่�รวมพลมด
อาสาของ มจธ.ที่่ป� ระกอบด้้วย นัักศึึกษา อาจารย์์ บุุคลากรผู้�เชี่�ยวชาญ จากหน่ว่ ยงานภายในมหาวิิทยาลัยั นักั ศึกึ ษา
เก่า่ และพันั ธมิิตรทั้�งภาครััฐและเอกชน ร่ว่ มดำ�ำ เนิินกิิจกรรมช่ว่ ยเหลืือชุุมชนและผู้�ที่เ� ดืือดร้้อน รวมถึงึ การดำ�ำ เนินิ การ
พัฒั นานวััตกรรมที่่�เหมาะสมเพื่่อ� ช่ว่ ยให้ช้ ุมุ ชน สัังคมปลอดภััย รวมถึงึ การพััฒนานวััตกรรมในระดับั กลางและระดัับสููง
เพื่่อ� ช่่วยเหลือื บุุคลากรทางการแพทย์์ให้ม้ ีอี ุุปกรณ์์ใช้้ในการป้้องกันั ตรวจสอบเพื่่อ� ให้บ้ ุคุ ลากรทางการแพทย์์ปลอดภััย
ในการดููแลรัักษาผู้�ติิดเชื้�อโรคCOVID-19 อย่่างต่่อเนื่่�อง

การจัดั กิจิ กรรมKMUTT Safety Week 2021ในปีีนี้�ได้จ้ ััดขึ้้�นอย่า่ งต่อ่ เนื่่�องเป็็นปีที ี่่1� 9 โดยมีกี ารจัดั
กิิจกรรมแบบ Online ที่่�สอดคล้อ้ งกับั วิิถีี New Normal ที่่�ประกอบด้ว้ ยการฝึึกอบรมความปลอดภัยั ให้ก้ ับั นัักศึึกษา
และบุุคลากรกว่า่ 3,000คน (Online Safety Training ) ในหลัักสููตรความปลอดภััยในการทำำ�งาน จำำ�นวน 4 หลัักสูตู ร
เรื่อ� งความปลอดภัยั ในการทำ�ำ งานห้้องปฏิิบััติิการและโรงประลองสำำ�หรับั นักั ศึกึ ษาปีีที่่1� และ ปีที ี่่�2-ปีที ี่่�4 ,หลักั สูตู รความ
ปลอดภัยั ในการทำ�ำ งานห้้องปฏิิบัตั ิิการและโรงประลองสำำ�หรัับ นัักศึกึ ษาปริิญญาโท – เอก และนักั วิิจัยั มจธ. และ
ความปลอดภัยั ในการทำำ�งานตามมาตรฐานความปลอดภััยโดยใช้้ ESPReL Checklist สำำ�หรัับนัักศึึกษาบุุคลากร และ
ประชาชนผู้�ที่�สนใจโดยผู้�ที่�สนใจสามารถเข้า้ มาศึึกษาหาความรู้� ได้ต้ ลอดระยะเวลาของการจัดั งานผ่า่ นระบบ Online
และมีกี ารจััดกิิจกรรมเชิิดชูเู กียี รติโิ ดยมีกี ารมอบเกียี รติิบััตรผ่า่ นระบบ Online ให้้กับั คณะ สำ�ำ นักั และบุคุ ลากรภายใต้้
เครือื ข่่ายพลัังงานสิ่ง� แวดล้้อมความปลอดภัยั ของ มจธ.ที่่ส� นับั สนุุนกิจิ กรรมด้้านความปลอดภััยของมจธ.มหาวิทิ ยาลััย
เพื่่อ� ให้ท้ ุกุ คนสามารถดำ�ำ รงชีีวิิตอยู่�ได้อ้ ย่า่ งปกติภิ ายใต้้สถานการณ์ก์ ารแพร่่ระบาดของโรคCOVID-19 อันั เป็น็ การร่ว่ ม
การสร้้างวัฒั นธรรมความปลอดภััย หรือื Safety Culture ขึ้�นภายในมหาวิิทยาลัยั และขยายผลไปสู่่�ชุมุ ชนและสัังคม
รอบข้า้ งให้้เกิิดความปลอดภััยอย่า่ งยั่ง� ยืนื ในทุุกสถานการณ์์

ในนามของมหาวิทิ ยาลัยั เทคโนโลยีพี ระจอมเกล้้าธนบุุรีี ขอขอบคุุณคณาจารย์์ บุคุ ลากร นัักศึกึ ษาและ
นัักศึกึ ษาเก่่า รวมทั้�งพันั ธมิิตรทั้�งภาครัฐั และเอกชนที่่ไ� ด้ร้ ่่วมมือื กัันจัดั ทำ�ำ กิิจกรรมอาสาภายใต้้โครงการมดอาสาต้า้ นภััย
โควิิด มาตั้�งแต่เ่ ดือื นมีีนาคม2563 จนถึึงปัจั จุุบัันในการช่ว่ ยเหลือื ชุมุ ชนในพื้�นที่่�โดยรอบ มจธ. ให้ป้ ลอดภััย รวมถึึง
ความร่่วมมือื ในการพัฒั นานวััตกรรมในช่่วงเวลาวิกิ ฤตของประเทศ ขอขอบคุุณนัักศึกึ ษา บุคุ ลากรทุกุ คนในความร่ว่ ม
มืือและสนัับสนุุนการดำ�ำ เนิินงานของมหาวิิทยาลััยให้้เกิิดความปลอดภััยภายใต้้สถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโรค-
COVID-19 และขอขอบคุุณทีมี งานที่่ไ� ด้้จัดั กิิจกรรมสััปดาห์ค์ วามปลอดภััยในการทำำ�งาน มจธ. ครั้�งที่่� 19 ที่่ด� ำ�ำ เนินิ การ
ในกิิจกรรมด้้านความปลอดภััยอย่่างครบถ้้วนและปรัับรููปแบบให้้เป็็นไปตามสถานการณ์์ที่่�เน้้นการทำ�ำ งานอย่่าง
ปลอดภัยั ภายใต้ร้ ูปู แบบ New Normal และขอให้้การจััดงานครั้�งนี้�บรรลุวุ ััตถุปุ ระสงค์์ของงาน ที่่�ตั้�งไว้้ทุกุ ประการ
บััดนี้้�ได้เ้ วลาอันั สมควรแล้ว้ จึึงขอเปิดิ งานสัปั ดาห์์ความปลอดภััยในการทำ�ำ งาน ครั้�งที่่� 19 ณ บัดั นี้้� ขอบคุุณครัับ

KMUT SAFETY WEEK 2021 5

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

กำำ�หนดการงานสััปดาห์์ความปลอดภัยั ในการทำ�ำ งาน มจธ. ครั้�งที่� 19
ภายใต้้ ธีมี “ Safety for all in KMUTT : Next normal for Covid -19 pandemic”
“มจธ. ปลอดภัยั ไร้โ้ ควิิด ภายใต้ก้ ารดำำ�เนิินชีวี ิติ วิิถีีใหม่่”
ในวัันที่่� 23-29 สิงิ หาคม พ.ศ. 2564
โดยศูนู ย์์การจัดั การด้้านพลังั งานสิ่�งแวดล้้อมความปลอดภััยและอาชีีวอนามััย

23-29 สิิงหาคม พ.ศ. 2564

• กิิจกรรม Online Training
หลัักสููตรการฝึึกอบรมความปลอดภััยในการทำำ�งานภายในห้้องปฏิบิ ัตั ิกิ ารและโรงประลอง

• กิิจกรรม บรรยายพิเิ ศษ หััวข้อ้ การประเมิินในระบบการสำ�ำ รวจสภาพความปลอดภัยั ห้้อง
ปฏิิบััติิการ (ESPReL Checklist) และมาตรฐานผลิติ ภััณฑ์์อุตุ สาหกรรมระบบการจััดการด้า้ น
ความปลอดภัยั ของห้้องปฏิิบััติกิ ารที่่เ� กี่ย� วกับั สารเคมีี (มอก.2677-2558)
เวลา 09.30 - 10.30

• นิทิ รรศการออนไลน์์
นิิทรรศการความปลอดภัยั
นิิทรรศการเรื่�อง Covid – 19
นิิทรรศการเรื่�อง Green Nudges
นิิทรรศการรางวััลแห่ง่ ความภาคภููมิใิ จ มจธ.

6 KMUT SAFETY WEEK 2021

งานสัปั ดาห์์ความปลอดภััยในการทำ�ำ งาน มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีพี ระจอมเกล้า้ ธนบุรุ ีี ครั้�งที่� 19
“ Safety for all in KMUTT : Next normal for Covid -19 pandemic”
“มจธ. ปลอดภััยไร้้โควิดิ ภายใต้้การดำ�ำ เนินิ ชีีวิติ วิิถีีใหม่่”
ในวันั ที่่� 23-29 สิงิ หาคม 2564
โดยศนู ย์การจัดการด้านพลังงาน ส่งิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชีวอนามัย

วััตถุุประสงค์์
1. เพื่่�อสร้้างความรู้� ความเข้้าใจ ความตระหนัักและปลูกู จิิตสำ�ำ นึกึ ด้้านความปลอดภัยั ใน

การทำำ�งานให้ก้ ับั นักั ศึึกษาและบุุคลากรทุกุ ระดัับภายใน มจธ. หน่ว่ ยงานอื่�นๆทั้�งภาค
รััฐและเอกชนที่่�สนใจ
2. เพื่่อ� ให้้ความรู้�ด้า้ นความปลอดภัยั ในการทำำ�งานเฉพาะด้า้ น โดยจัดั ฝึึกอบรมให้ก้ ัับ

นัักศึึกษา/บุคุ ลากรภายใน มจธ. และบุุคลากรในหน่่วยงานอื่�นทั้�งภาครััฐและเอกชน
3. เพื่่�อเผยแพร่ก่ ิจิ กรรมด้้านการจัดั ระบบความปลอดภััยในการทำ�ำ งานของ มจธ.และการ

จััดการเตรีียมการด้้านอุบุ ัตั ิเิ หตุอุ ุบุ ััติิภัยั ให้้กับั บุคุ ลากรภายในและภายนอก
มหาวิิทยาลััยได้ร้ ัับรู้�และนำำ�ไปปฏิิบัตั ิใิ ห้เ้ กิดิ ประโยชน์์ต่อ่ ตนเองและชุุมชนรอบข้้าง
4. เพื่่อ� ส่่งเสริิมกิจิ กรรมการเรีียนรู้�ที่�นำำ�ไปสู่�การปฏิบิ ัตั ิิในด้้านความปลอดภัยั ลดการใช้้
พลัังงานและเสริมิ สร้้างสุุขภาพและสุุขอนามัยั ที่่ด� ีใี ห้ก้ ับั นักั ศึึกษา/บุคุ ลากร มจธ.
รายละเอีียดกิิจกรรม
y นิทิ รรศการ
“ Safety for all in KMUTT : Next normal for Covid -19 pandemic”
“มจธ. ปลอดภััยไร้้โควิดิ ภายใต้ก้ ารดำ�ำ เนินิ ชีีวิติ วิถิ ีใี หม่”่
กิิจกรรมภายในงานประกอบ Virtual Webinar และจัดั แสดงบอร์์ดนิทิ รรศการ
ออนไลน์์ พร้้อมจัดั ทำ�ำ โปสเตอร์เ์ กี่�ยวกัับการทำำ�งานอย่า่ งปลอดภััย นิิทรรศการ มจธ.ยึดึ มั่่น� ความ
ปลอดภัยั ในทุกุ ด้า้ นที่่เ� ราทำ�ำ , นิิทรรศการเรื่อ� ง Green Nudges, นิิทรรศการเรื่อ� ง Covid – 19,
นิิทรรศการรางวััลด้า้ นการจัดั การพลัังงาน, นิทิ รรศการรางวัลั ด้า้ นการจัดั การความปลอดภัยั
ประกอบด้ว้ ย
๐ นิิทรรศการเรื่อ� ง Covid – 19
๐ นิทิ รรศการรางวัลั ด้้านการจัดั การพลัังงาน
THE Impact Ranking 2021 SDG 7 อันั ดับั 1 ของโลก
UI Green 2021 ด้้าน Energy Climate Change อันั ดัับ 1 ของประเทศ
Thailand Energy Award 2021 ด้า้ นผู้้�ส่ง่ เสริมิ พลังั งาน
๐ นิิทรรศการรางวััลด้้านการจัดั การความปลอดภััย
รางวััลสถานศึึกษาปลอดภััยดีเี ด่น่ 2 ปีี
y กิจิ กรรมมอบโล่่เชิิดชููเกียี รติิหน่่วยงานของมหาวิิทยาลััยที่่�ร่่วมผนึกึ กำ�ำ ลังั ประสานความรู้�ในมด
อาสา มจธ. สู้�ภััย โควิดิ -19
๐ มอบประกาศนียี บัตั รสำำ�หรัับหน่่วยงานของมหาวิทิ ยาลัยั ที่่ร� วมใจผนึึกกำ�ำ ลัังประสานความรู้�
ในมดอาสา มจธ. สู้�ภััย โควิิด-19

KMUT SAFETY WEEK 2021 7

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

y กิิจกรรม ฝึกึ อบรม Online Training
◊ ฝึกึ อบรมความปลอดภััยในการทำ�ำ งานห้้องปฏิบิ ััติกิ ารและโรงประลอง

สำ�ำ หรับั นักั ศึึกษาปีี 1
• นโยบายของมหาวิทิ ยาลัยั ด้้านการพัฒั นาสู่�ก่ ารเป็็นมหาวิิทยาลััยสีีเขีียว
อย่่างยั่�งยืนื ที่่�สอดคล้อ้ งกัับเป้้าหมายการพัฒั นาอย่่างยั่�งยืืนSDG 2030
• กฎหมาย มาตรฐานและข้้อกำ�ำ หนดความปลอดภัยั ของรัฐั
• นโยบายและกฎระเบียี บข้อ้ บังั คับั ของ มจธ.ด้้านความปลอดภััยในการ
ทำำ�งานแบบNew Normal
• การบริหิ ารระบบการจััดการความปลอดภััยตามกรอบมาตรฐานความปลอดภััย
• ระบบการจััดการสารเคมีี
• ระบบการจัดั การของเสียี
◊ ฝึกึ อบรมความปลอดภัยั ในการทำ�ำ งานห้อ้ งปฏิบิ ััติกิ ารและโรงประลอง

สำ�ำ หรับั นัักศึึกษาปีี 2-4
• นโยบายของมหาวิิทยาลััยด้้านการพััฒนาสู่ก�่ ารเป็็นมหาวิทิ ยาลัยั สีีเขียี วอย่่างยั่�งยืนื
ที่่�สอดคล้้องกับั เป้้าหมายการพััฒนาอย่่างยั่�งยืืนSDG 2030
• กฎหมาย มาตรฐานและข้้อกำ�ำ หนดความปลอดภััยของรััฐ
• นโยบายและกฎระเบียี บข้อ้ บังั คับั ของ มจธ.ด้้านความปลอดภััยในการทำ�ำ งาน
แบบ New Normal
• การบริหิ ารระบบการจััดการความปลอดภัยั ตามกรอบมาตรฐานความปลอดภััย
• ระบบการจัดั การสารเคมีี
• ระบบการจััดการของเสียี
• ลักั ษณะทางกายภาพของห้อ้ งปฏิิบััติิการ อุปุ กรณ์แ์ ละเครื่�องมือื -ตรวจสอบความ
ปลอดภัยั ตามระบบวิศิ วกรรมและควบคุุมอาคาร
• ระบบการป้อ้ งกัันและแก้ไ้ ขภััยอันั ตราย
• การให้้ความรู้�พื้�นฐานเกี่�ยวกับั ความปลอดภัยั ในห้อ้ งปฏิบิ ัตั ิกิ าร
และการสร้า้ งจิิตสำำ�นึึก
• การจััดการข้้อมููลและเอกสาร
◊ ฝึกึ อบรมความปลอดภัยั ในการทำ�ำ งานห้อ้ งปฏิบิ ััติิการและโรงประลองสำ�ำ หรัับนักั ศึกึ ษา

ปริิญญาโท ปริญิ ญาเอก นัักวิจิ ััย นักั วิทิ ยาศาสตร์์ วิศิ วกร บุุคลากร และผู้้�ที่่�สนใจ
• ข้อ้ กำ�ำ หนดและมาตรฐานด้า้ นความปลอดภััยของนัักวิจิ ััย
• ความปลอดภััยในการทำ�ำ งานห้อ้ งปฎิบิ ััติิการแบบ New Normal
• ความปลอดภัยั ในการทำ�ำ งานตามมาตรฐานห้อ้ งปฏิบิ ััติิการปลอดภััย
(ESPREL part 1)
• ความปลอดภััยในการทำ�ำ งานตามมาตรฐานห้้องปฏิบิ ัตั ิิการปลอดภััย
(ESPREL part 2)
• ความปลอดภััยในการทำ�ำ งานกับั ไฟฟ้้า

8 KMUT SAFETY WEEK 2021

มจธ.ยดึ มัน่ ความปลอดภยั ใน
ทุกดา้ นที่เราท�ำ

กจิ กรรมภายในงานประกอบดว้ ยการจดั แสดงบอรด์ นิทรรศการพรอ้ มจัด
ท�ำโปสเตอร์เกย่ี วกบั ความปลอดภัยในด้านต่างๆ ประกอบไปด้วย
º กลุ่�มที่่� 1 ความปลอดภัยั ในสถานที่่ท� ำำ�งาน Workplace Safety
º กลุ่�มที่่� 2 ความปลอดภััยในการทำ�ำ งานห้้องปฏิบิ ััติิการและโรง

ประลอง Lab & Workshop Safety
º กลุ่�มที่่� 3 ความปลอดภััยในการเดินิ ทาง Road Safety
º กลุ่�มที่่� 4 ความปลอดภัยั ในชีวี ิติ และทรััพย์์สินิ Life Safety
º กลุ่�มที่่� 5 อาหารปลอดภััย Food Safety

ความปลอดภัยในสถานท่ีท�ำงาน
Workplace Safety

º KMUTT BUilding Code
º การประเมินิ ความเสี่ย� งภััยในสถานที่่�ทำ�ำ งาน
º การประเมินิ ความเสี่�ยงภัยั จากอันั ตรายที่่�พบ
º ระบบแจ้ง้ เหตุุฉุุกเฉิิน SOS CCTV ภายในอาคาร
º การตรวจสอบอาคารสููงเพื่่�อความปลอดภััย

ความปลอดภัยในการท�ำงานห้องปฏิบตั ิ
การและโรงประลอง

º นโยบายความปลอดภััยของมหาวิทิ ยาลััย
º ระเบีียบปฎิิบััติิในการทำ�ำ งานอย่่างปลอดภััยกัับสารเคมีีของเสีียอัันตราย

สารชีวภาพ ตามระบบ ESPREL และ BIO SAFETY
º ระบบการจััดการสารเคมีี ระบบการจัดั การของเสียี อัันตราย
º ระเบียี บปฏิิบััติิในการเข้า้ ทำำ�งานในห้้องปฏิบิ ัตั ิิการแบบ New Normal
º กฎระเบีียบการแต่่งกายในการทำำ�งานอย่่างปลอดภััยในห้้องปฏิิบััติิการ

และโรงประลอง
º ห้้องปฏิิบัตั ิิการปลอดภััย ตาม ESPReL
º การทำำ�งานให้ป้ ลอดภัยั กับั ไฟฟ้้า และเครื่�องมืือเครื่�องจัักรกล
º ระบบการจััดการขยะ มจธ
º ระเบีียบปฏิิบััติิด้้านความปลอดภััยทางชีีวภาพ(BIOSAFETY)

ในห้องปฏบิ ตั ิการ
º ชุุดกู้้�ภััยฉุุกเฉิินจากสารเคมีี

KMUT SAFETY WEEK 2021 9

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

ความปลอดภยั ในการเดินทาง
Road Safety

º Walk and Bike Society
º ขัับขี่ป� ลอดภััยใส่่หมวกนิริ ภััยทุุกครั้�ง
º ขัับขี่�ปลอดภััยใส่ใ่ นกฏจราจร
º ขับั ขี่�รถยนต์์ และจัักรยานยน อย่่างไรให้้ปลอยภัยั หลักั 5 ร
º ใส่ใ่ จใช้ท้ างร่่วมกััน Share the road
º Road Safety Service / Green Society

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส์ ิน
Life Safety

º มาตรการรับั มืือกับั สถานการณ์แ์ พร่่ระบาดของเชื้�อไวรััส COVID-19
º คู่่�มืือ LifeSafetyความปลอดภััยในชีีวิติ และทรัพั ย์์สิิน ชีีวิติ ปลอดภััย

ภายใตส้ ภานการณ์โควิด -19
º ระบบป้อ้ งกันั และระงัับเหตุุฉุกุ เฉินิ มจธ.
º ระบบป้อ้ งกันั ระงับั เหตุุฉุกุ เฉินิ KMUTT EMS Volunteer
º Safe life night care
º การฝึกึ ซ้้อมอพยพดัับเพลิิงขั้�นต้น้ และการอพยพหนีีไฟ
º ระเบีียบปฏิิบััติิการควบคุุมภาวะฉุกุ เฉิินจากอุบุ ััติภิ ััย มจธ.

อาหารปลอดภยั
Food Safety

º การอบรมผู้�ประกอบการร้า้ นค้้า มจธ. (Clearn Food and good taste)
º มาตรการงดใช้โ้ ฟม NO FOAM
º น้ำำ��ดื่่�มปลอดภััย
º Healthy Food and Healthy Choice
º ตลาดปลอดสารพิษิ ออนไลน์์

มดรุน่ ใหมห่ ัวใจสีเขียว
Green Nudges

º มดรัักษ์์การเดิินทาง
º มดรักั ษ์์อาหาร
º มดรักั ษ์พ์ ลัังงาน รัักษ์น์ ้ำำ��
º มดรักั ษ์ท์ ี่่�จะลด

กลมุ่ เป้าหมาย

นกั ศึกษาและบคุ ลากรภายใน มจธ.ชุมชนและโรงเรียนในพ้นื ที่
ใกล้เคียง และหนว่ ยงานอน่ื ๆ ทัง้ ภาครฐั และเอกชน จ�ำนวน
3,000 คน

10 KMUT SAFETY WEEK 2021

กฏหมาย
กฎหมายของไทยที่
เก่ยี วขอ้ งกบั การควบคมุ
ก�ำกับดูแลการใช้สาร 1. พระราชบััญญััติวิ ัตั ถุุอัันตราย พ.ศ. 2535 มุ่�งเน้้นการควบคุุม การผลิติ
น�ำเข้า ส่งออก และการมไี ว้ในครอบครองสารเคมตี ามบัญชใี นประกาศ
อนั ตรายและความ อุตสาหกรรม เรอ่ื ง บญั ชีรายชือ่ วตั ถอุ นั ตราย
ปลอดภยั ในการท�ำงานใน พระราชบััญญััติโิ รงงาน พ.ศ. 2535 มุ่�งใช้้ควบคุุมโรงงานในการดำำ�เนินิ
ปัจจุบัน 2. การอย่างปลอดภัยการก�ำจัดของเสียและการท�ำให้เกิดการปนเปื้อนใน

สง่ิ แวดล้อม
3. พระราชบััญญััติิคุ้�มครองแรงงานเน้้นที่่�การป้้องกัันอัันตรายผู้�ใช้้แรงงาน
ในสถานประกอบการซ่ึงได้แก่พิษภัยของสารเคมีท่ีใช้ในกระบวนการ
ผลิต โดยก�ำหนดค่ามาตรฐานของการสมั ผสั สารเคมใี นช่วงเวลาท�ำงาน
ปกติภายใน 1 วันไม่เกนิ 8 ช่ัวโมง หรือ 48 ชว่ั โมงต่อสปั ดาห์
4. ประกาศของกระทรวงมหาดไทยเรื่�องความปลอดภััยในการทำำ�งาน
เกยี่ วกับภาวะแวดล้อม (สารเคมี) พ.ศ. 2520 ก�ำหนดปรมิ าณความ
เข้มขน้ ของสารเคมีที่มีไดใ้ นบรรยากาศของการท�ำงาน
5. พระราชบััญญััติิควบคุุมอาคาร พ.ศ. 2522 ได้แ้ ก่่ กฎกระทรวงฉบัับที่่�
33 (พ.ศ. 2535) ฉบบั ท่ี 39 (พ.ศ. 2537) ฉบบั ที่ 48 (พ.ศ. 2540) ฉบบั
ท่ี 50 (พ.ศ. 2540) ฉบบั ที่ 55 (พ.ศ. 2543) และฉบับท่ี 60 (พ.ศ. 2549)
และข้อบัญญตั ิกรงุ เทพมหานครเรอ่ื งควบคมุ อาคาร พ.ศ. 2544
ก�ำหนดให้ต้องมีลักษณะถูกต้องและผ่านเกณฑ์ข้อกฎหมายเพื่อความ
ปลอดภยั ของผใู้ ชอ้ าคาร โดยตอ้ งยื่นแบบใหพ้ ิจารณาเพ่ือขออนุญาต
ก่อสรา้ ง
6. พระราชบััญญััติคิ วามปลอดภััย อาชีีวอนามััยและสภาพแวดล้อ้ มใน
การท�ำงาน พ.ศ. 2554 หอ้ งปฏบิ ัติการถูกควบคมุ โดยพระราชบัญญัติ
ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน ในดา้ น
ความปลอดภัยเก่ยี วกับผู้ปฏบิ ัตงิ านเทา่ นัน้ ไม่ครอบคลุมถึงความ
ปลอดภัยของหอ้ งปฏบิ ัติการในด้านอ่นื ๆ เชน่ ดา้ นกายภาพ สารเคมี
และการปลอ่ ยของเสียจากหอ้ งปฏิบัตกิ าร เปน็ ตน้ ในกฎกระทรวงตาม
วรรคหน่งึ จัดใหม้ มี าตรฐานในการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความ
ปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานในหนว่ ย
งานของตนไมต่ �่ำกว่ามาตรฐานความปลอดภยั อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทํางานตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี กฎกระทรวง
ก�ำหนดมาตรฐานในการบรหิ าร จดั การ และด�ำเนนิ การดา้ นความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงานเก่ียวกบั สาร
เคมอี ันตราย พ.ศ. 2556

KMUT SAFETY WEEK 2021 11

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

ESPReL
“ โครงการยกระดับ
มาตรฐานความปลอดภัย
ห้องปฏบิ ัตกิ ารวจิ ยั โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยใน
ในประเทศไทย ” ประเทศไทยเป็นโครงการท่ีเกิดจากการด�ำเนินงานตามพันธกิจของ
(Enhancement of ส�ำนกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) ใหเ้ กดิ มาตรฐานการ
Safety Practice of ด�ำเนินงานวิจัยในประเทศโดยการจัดท�ำและพัฒนามาตรฐานการวิจัย
Research Laboratory เฉพาะด้านในหลายๆ ด้าน เช่น มาตรฐานการวิจยั ในคน มาตรฐาน
in Thailand, ESPReL) การวิจยั โดยใชส้ ัตว์ทดลอง และจรยิ ธรรมในการด�ำเนินงานวจิ ยั
ส�ำหรบั มาตรฐานหอ้ งปฏิบตั ิการวิจยั น้ัน วช.ให้ความส�ำคญั และมนี โย
บายให้การสนับสนุนเพ่ือส่งเสริมให้เกิดการผลิตผลงานที่มีคุณภาพ
ขณะเดียวกับการท�ำให้เกิดความปลอดภัยกับนักวิจัยและสามารถ
รักษาคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม การด�ำเนินงานใหม้ ีมาตรฐานความ
ปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยจึงเป็นส่ิงจ�ำเป็นและอาจใช้เป็น
ประโยชน์กบั การบรหิ ารการจดั สรรทนุ วิจัยในอนาคตไดด้ ้วย

ระบบบริหารจัดการความปลอดภัย เปน็ เคร่อื งมอื ในการบรู ณาการ
การด�ำเนินงานดา้ นต่างๆ ท่ีเกยี่ วข้องกับความปลอดภัยของหอ้ ง
ปฏิบตั ิการ ให้เกอ้ื กูลและสนบั สนุนการท�ำงานกันและกัน เนื่องจาก
เนือ้ งานท่ี ต้องด�ำเนนิ การมหี ลายลกั ษณะ และตอ้ งใชค้ วามรูค้ วาม
ช�ำนาญเฉพาะด้าน เชน่ ความรเู้ กย่ี วกบั สารเคมี โครงสร้างทาง
สถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ท�ำให้ต้องแบง่ กลมุ่ บริหารจัดการความ
ปลอดภัย เพ่ือให้การด�ำเนนิ งานแต่ละดา้ นมปี ระสทิ ธภิ าพและความ
คล่องตวั สามารถปรับใหส้ อดคล้องกับความเปลย่ี นแปลงของความ
เสย่ี งที่เกดิ ข้นึ เสมอได้อย่างทนั กาล และใชก้ ารบรหิ ารจัดการระบบ
เช่อื มโยงการบริหารจัดการของกลมุ่ ตา่ งๆ เข้าดว้ ยกนั ยุทธศาสตรก์ าร
บรหิ ารจัดการเพ่อื ความปลอดภัยของหอ้ งปฏิบัตกิ าร แบ่งเปน็ 7 ด้าน
คอื .-
º การบริหิ ารระบบการจััดการความปลอดภัยั
º ระบบการจััดการสารเคมีี
º ระบบการจััดการของเสีีย
º ลักั ษณะทางกายภาพของห้้องปฏิบิ ััติกิ าร อุปุ กรณ์์และเครื่�องมือื
º ระบบการป้้องกันั และแก้ไ้ ขภััยอัันตราย
º การให้้ความรู้�พื้�นฐานเกี่�ยวกัับความปลอดภััยในห้้องปฏิิบััติิการ

และการสรา้ งจติ ส�ำนึก
º การจัดั การข้้อมูลู และเอกสาร

ระบบการจดั การด้านความปลอดภยั ของหอ้ งปฏิบัตกิ ารทเี่ ก่ยี วกบั
สารเคมี : ข้อก�ำหนด มอก.2677-2558
1. มาตรฐานผลิติ ภัณั ฑ์์อุตุ สาหกรรมนี้� ครอบคลุุมระบบการจััดการ

ด้านความปลอดภัยครอบคลุมระบบการจัดการด้านความ
ปลอดภยั ของหอ้ งปฏิบตั กิ ารทีเ่ กยี่ วกับสารเคมี และความ
ปลอดภัย เพื่อให้ห้องปฏิบตั ิการน�ำไปใชพ้ ฒั นาระบบการจัดการ
ด้านความปลอดภยั ของห้องฏบิ ัติ
2. มาตรฐานผลิติ ภัณั ฑ์อ์ ุุตสาหกรรมนี้� ไม่ค่ รอบคลุมุ ห้อ้ งปฏิิบัตั ิิการ
ท่เี กยี่ วกับสารกมั มนั ตรงั สี และวตั ถชุ วี ภาพ

12 KMUT SAFETY WEEK 2021

ข้อก�ำหนดในระบบการจัดการด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติ
การ มีข้อ 5 ข้อ
1. นโยบายความปลอดภัยั ของห้้องปฏิบิ ัตั ิิการ
2. การวางแผน
3. การนำำ�ไปใช้้และการปฏิิบััติิ

1) โครงสร้าง หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ
2) การจัดการสารเคมี
3) การจดั การของเสยี
4) ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏบิ ตั กิ าร
5) การเตรียมความพรอ้ ม และตอบโตส้ ภาวะฉุกเฉิน
6) การใหค้ วามรู้ และการสร้างจติ ส�ำนึก
7) การจัดการเอกสาร
4. การติดิ ตามตรวจสอบและการประเมิินผลการปฏิบิ ััติงิ
5. การทบทวนการจััดการ

KMUTT Safety in all we do
“มจธ. ยึดม่ันความปลอดภยั ในทกุ ดา้ นทีเ่ ราทำ� ”

KMUT SAFETY WEEK 2021 13

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

“KMUTT TOTAL COMMITMENT ”

ชวนทุกคนมาร่วมกันใหค้ ำ� มน่ั และพันธะสญั ญาความปลอดภัย
เพ่อื ชาว มจธ.

ประกอบไปด้วย ความปลอดภัยทง้ั 5 ด้าน
• ความปลอดภัยั ในสถานที่่�ทำำ�งานและอาคาร Workplace Safety
• ความปลอดภัยั ในการทำ�ำ งานห้อ้ งปฏิิบัตั ิกิ ารและโรงประลอง Lab and

Workshop Safety
• ความปลอดภััยในการเดิินทางบนท้อ้ งถนน Road Safety
• ความปลอดภัยั ในการใช้ช้ ีีวิิตในมหาวิิทยาลัยั Life Safety
• ความปลอดภััยด้้านอาหาร Food Safety

14 KMUT SAFETY WEEK 2021

Workplace การประเมนิ ความเส่ียงภยั
Safety การจัดการด้านความปลอดภัยเป็นหัวใจของการสร้างวัฒนธรรม
ความปลอดภยั ทีม่ ลี �ำดับความคิดต้งั ตน้ จากการก�ำหนดไดว้ ่าอะไรคอื
ความปลอดภัย ปัจจัยเส่ียง ผู้ปฏิบัติงานต้องร้วู า่ อนั ตรายมีอะไรบา้ งในทที่ �ำงาน คน
ในสถานท่ที �ำงาน อน่ื ในที่เดียวกนั ก�ำลงั ท�ำอะไรทเ่ี สี่ยงอยหู่ รือไม่ ปจั จยั เสย่ี งด้าน
และอาคาร กายภาพคอื อะไร มกี ารประเมินความเสยี่ งหรือไม่ จากนั้นจงึ มีการ
บรหิ ารความเส่ยี งด้วยการปอ้ งกัน หรอื การลดความเสยี่ งรวมทง้ั การ
สือ่ สารความเสีย่ งที่เหมาะสม ค�ำถามในรายการส�ำรวจ จะชว่ ย
กระตนุ้ ความคิดไดอ้ ย่างละเอยี ด สร้างความตระหนกั รไู้ ปในตัว
รายงานความเสี่ยงจะเป็นประโยชน์ในการบรหิ ารงบประมาณ เพราะ
สามารถจัดการไดบ้ นฐานของข้อมูลจรงิ ความพรอ้ มและการตอบโต้
ภาวะฉุกเฉิน อยู่ภายใตห้ ัวขอ้ การจัดการด้านความปลอดภัยเพอื่ เป็น
มาตรการปอ้ งกนั เช่น การมีผงั พนื้ ทใี่ ชส้ อย ทางออก อปุ กรณเ์ คร่อื ง
มือส�ำหรับเหตุฉกุ เฉิน รวมทง้ั การมีแผนป้องกนั และตอบโต้
ภาวะฉกุ เฉนิ ซ่ึงหมายถงึ การจดั การเบื้องต้นและการแจ้งเหตุ ขอ้
ปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยโดยทั่วไปเป็นการก�ำหนดความปลอดภัย
สว่ นบุคคล และระเบียบปฏิบัตขิ ั้นต�่ำของแต่ละห้องปฏบิ ตั ิการหรืออา
คารนั้นๆ

การประเมินความเสย่ี งภัยมีดว้ ยกัน 5 ขัน้ ตอน ดงั น้ี
ขัน้ ตอน 1 : คน้ หาอันตราย
ขน้ั ตอน 2 : ใครอาจได้รับอันตรายและได้รบั อยา่ งไร
ข้นั ตอน 3 : ประเมนิ ความเสี่ยงและจดั ท�ำข้อควรระวงั ที่เหมาะสม
ขั้นตอน 4 : บนั ทึกทกุ อย่างทท่ี ่านพบ
ขน้ั ตอน 5 : ทบทวนสงิ่ ทที่ ่านประเมนิ และแกไ้ ขหากจ�ำเปน็

KMUT SAFETY WEEK 2021 15

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

กลมุ่ ของอันตรายจากสภาพแวดล้อมในสถานท่ที �ำงาน (ตอ่ )
อันตรายจากกายภาพ Physical environmental hazards
º มลพิษิ จากเสีียง Noise pollution 50 decibel
º มลพิิษจากการสั่น� สะเทืือน Vibration 40-300db
Raynaud’ s syndrome
º ความร้อ้ น Heat: conduction, convection, heat loss
radiation>>>>heat stroke, heat shock, heat
exhaustion, heat cramp, heat neurosis
º ความเย็็น Cold: chilblan, frosbite, Raynauld disease
º แสงและรัังสีี Lighting/radiation
º ความดัันบรรยากาศที่่�ผิดิ ปกติิ Abnormal pressure
อันตรายจากชวี ภาพ Biological environmental hazards
º สารก่อ่ โรค Infectious agents
º แฟคเตอร์ท์ ี่่ส� ่ง่ ผลต่่อระดับั อันั ตราย ขึ้�นอยู่่�กัับ ชนิดิ ของสาร,
รูปแบบของการสัมผัส, ความเขม้ ขน้ และ ระยะเวลา
º โรคที่่�เกิิดขึ้้�นเช่่น :เชื้�อวัณั โรค TB. เชื้�อรา Fungus, anthrax
,brucellosis, encephalitis, Legionnaires
º การยศาสตร์์ Ergonomics
หวั ใจของการประเมนิ ความเสี่ยงของผู้ปฏบิ ัตงิ านในสถานท่ี ต่างๆ
คอื การก�ำหนดตวั แปรทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การเกิดอนั ตรายแล้วน�ำมา
เชอ่ื มโยงกันซง่ึ นิยมใชเ้ ป็นแบบเมทรกิ ซ์ โดยใหม้ ีตวั แปร 2–3 ตัว
เช่น ความเปน็ อันตราย (hazard) กับความเป็นไปได้ในการรบั
สัมผสั (probability of exposure) หรอื ความเป็นไปไดท้ ี่จะเกดิ
ขึ้น (likelihood/probability) กับผลลพั ธท์ ่ี ตามมาด้านสขุ ภาพ
และ/หรือความปลอดภยั (health and/or safety)

Lab and การใช้ SAFETY CARDเพ่อื ขออนุญาตเขา้ ท�ำงานในหอ้ งปฏิบัติการ
Workshop SAFETY CARD คอื บัตรของมหาวิทยาลยั ทอี่ อกโดยศนู ย์ EESH ท่ี
Safety มีช่อื ผู้มสี ิทธริ ะบุอยู่ในบตั รน้นั เพื่อ รับรองวา่ ได้ผา่ นการฝกึ อบรมใน
หลกั สูตร “ความปลอดภัยในการท�ำงานกับสารเคมีและสารชีวภาพ”
ความปลอดภยั ใน จากฝา่ ย การจัดการด้านความปลอดภยั ศูนย์ EESH และสอบผา่ นใน
การท�ำงานห้อง การทดสอบ SAFETY TEST หลังการฝกึ อบรม ซงึ่ SAFETY CARD นี้
ปฏิบัตกิ ารและ จะถูกใช้เพื่อน�ำไปขออนุญาตเข้าท�ำงานในห้องปฏิบัติการของ
โรงประลอง นกั ศึกษาปรญิ ญาตรี โทและ ปรญิ ญาเอกตามกฎระเบียบข้อบังคับ
ด้านความปลอดภัยในการท�ำงานกับสารเคมีและสารชีวภาพภายใน
หอ้ งปฏบิ ัติการ ส�ำหรบั นักศึกษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบรุ ี โดยบน SAFETY CARD จะระบุชอ่ื สกลุ รหัส
ประจ�ำตวั นักศกึ ษา ภาควชิ า/สายวิชา คณะ วนั ท่ีอนุญาต วนั หมดอายุ
พรอ้ มรูปถ่ายปจั จุบนั ของนักศึกษา โดยวันทอี่ นุญาตจะเร่มิ จากวนั ท่ี
สอบผา่ น และบตั รมอี ายุการใชง้ าน 2 ปี ซ่งึ หากมกี ารปฏิบตั งิ านเกนิ 2
ปี ตอ้ งเข้ารับ การฝกึ อบรมและสอบตามข้ันตอนใหม่อีกครัง้ หน่งึ สอบ
ผา่ น และบัตรมอี ายุการใช้งาน 2 ปี ซง่ึ หากมีการปฏบิ ัตงิ านเกิน 2 ปี
ตอ้ งเข้ารบั การฝึกอบรมและสอบตามขน้ั ตอนใหมอ่ กี คร้ังหนึ่ง

16 KMUT SAFETY WEEK 2021

ข้นั ตอนในการด�ำเนินการเพอ่ื ให้ได้ SAFETY CARDSAFETY CARD
1.เข้ารบั การฝกึ อบรมในหลกั สูตร “ความปลอดภยั ในการท�ำงานกับ
สารเคมแี ละสารชวี ภาพ” ซึ่งเปน็ หลักสูตรบรรยาย 3 ช่วั โมงในชว่ ง
เวลา 9.00-12.00 น. ในวันทกี่ �ำหนด ซึ่งจดั ใหก้ ับนักศึกษาปริญญาตรี
โทและเอก หนงึ่ ครงั้ ต่อหนง่ึ ภาคการศกึ ษาโดยศูนย์ EESH โดยจัดฝกึ
อบรมในสองอาทติ ย์แรกของการเปิดภาคเรียนปกติ และนักศึกษาจะ
ท�ำการสมคั รเขา้ รบั การฝึกอบรมผา่ นทางภาควชิ า สายวชิ าหรอื หนว่ ย
งาน
2.เข้ารับการทดสอบ SAFETY TEST:- การทดสอบ SAFETY TEST
ทางศูนย์ EESH จะจัดให้มี การทดสอบในวนั ท่มี กี ารฝกึ อบรมใน เวลา
15.00-15.30 น. และ 16.00-16.30 น. ซึ่งผู้มสี ิทธเิ ขา้ รับการทดสอบ
ตอ้ งผ่านการฝึกอบรมครบ 80% ของเวลาที่ก�ำหนดแลว้ เทา่ นน้ั
3.ผผู้ ่านการทดสอบ SAFETY TEST ดว้ ยคะแนน 70% ขนึ้ ไป จะได้รบั
SAFETY CARD ซ่งึ มอี ายุ การใช้งาน 2 ปี นับตง้ั แต่วันท่สี อบผ่าน และ
หากหมดอายุการใชง้ าน 2 ปแี ล้ว ต้องเข้ารบั การฝึกอบรมใหม่ และ
ด�ำเนนิ การเพือ่ ให้ได้ SAFETY CARD ใหม่ ตามขนั้ ตอนการด�ำเนนิ การ
ที่ระบไุ ว้ในเบื้องตน้

Road 10 แนวคิดในการป่ันจักรยานให้ปลอดภยั
Safety
1. ศึกึ ษาเส้้นทางเสียี ก่อ่ น การศึกึ ษาเส้้นทางจะทำำ�ให้้เราทราบถึึง
ความปลอดภยั เสน้ ทางที่เราจะป่ันไปอกี ทั้งยังค�ำนวนเวลาไดอ้ ีก การศกึ ษาเส้น
ในการเดินทาง ทางท�ำให้สามารถหลีกเล่ียงเส้นทางรถติดหรือก�ำลังมีการท�ำ
บนทอ้ งถนน ทางเกิดข้นึ ท�ำให้ลดการเสียเวลาและเพ่ิมความปลอดภยั ไปใน
ตวั Application, Google Map หรือ GPS เอามาใช้เลยมีประ
ข้อมูลจาก โยชน์มากๆ
http://www.gmlive.
com/10-ideas-to-bike- 2. ตรวจสภาพจักั รยานและติดิ อุุปกรณ์์เพื่่�อความปลอดภััย การ
safely-in-the-city/ บ�ำรงุ รักษาจกั รยาน เชน่ เติมลมยาง ติดสญั ญาณไฟ เชค็ ระบบ
เบรค ท้ังหมดส�ำคญั ท้งั นนั้ หากป่ันจักรยานแลว้ เกิดจกั รยานมี
ปัญหากลางถนนยอ่ มไม่น่ายินดีแน่ๆ อกี ทัง้ อุปกรณ์เชน่ สัญญาณ
ไฟ ยังชว่ ยใหผ้ ู้ใชร้ ถใช้ถนนคนอื่นทราบดว้ ยวา่ เราก็ก�ำลงั ใชถ้ นน
รว่ มกนั

3. สวมอุปุ กรณ์ป์ ้อ้ งกัันต่่างๆ เมื่ อ� เสริมิ ความปลอดภััยให้้จักั รยาน
ตัวผู้ขบั ข่เี องก็อยา่ ได้ละเลย เชน่ หมวกกันนอ็ ค ถงุ มอื เป็นตน้
อย่างไรก็ตามทุกวันนี้อุปกรณ์หรือเคร่ืองแต่งกายส�ำหรับนักปั่น
ก็มีการพัฒนาให้มีความเป็นแฟช่ันในตัวมากข้ึนใส่แล้วหล่อสวย
กันเยอะแยะ ลองเลอื กหามาใช้กนั ดลู ะกัน

4. เลี่ย� งพื้�นผิิวจราจรที่่�ไม่ด่ ีี เช่น่ ทางขรุขุ ระ ร่่องท่่อระบายน้ำ�ำ � หรือื
ท�ำเสน้ ทาง คอื ทางท่ีควรหลีกเลีย่ ง เพราะนอกจากจะปัน่ ยาก
แล้ว ยงั อาจะกอ่ ให้เกดิ อบุ ัตเิ หตุไดอ้ กี แตห่ ากเลยี่ งไม่ได้จริงๆ ก็
เสยี เวลาสักนิด ดว้ ยการการลงจากจกั รยานและเข็นเดนิ ไปดี
กวา่ เส่ยี งปัน่ ไปสะดดุ แลว้ ต้องเจบ็ ตัวเลย

5. ขัับชิดิ ริิมขอบทาง สิ่ง� ที่่พ� ึงึ ระวััง คืือรถที่่ใ� ช้้ถนนริมิ ขอบทาง
เหมือนเรา เชน่ รถมอเตอร์ไซต์ รถเมล์ รวมถึงรถยนต์ที่จะชิด
ซา้ ยเพ่ือจอดหรอื เล้ียวเขา้ ซอย ขณะปนั่ เราจงึ ต้องคอยสังเกตรถ
รอบดา้ นและไมใ่ ช้ความเรว็ จนเกนิ ไป ค�ำนงึ เสมอ ปลอดภยั ไว้
กอ่ น

KMUT SAFETY WEEK 2021 17

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

6. เคารพกฎจราจร แม้้การปั่�นจักั รยานจะไม่่มีีได้ก้ ฎเกณฑ์บ์ ัังคับั
เขม้ งวดแบบรถยนตห์ รือรถมอเตอร์ไซต์ แตเ่ นอื่ งจากเราใชถ้ นน
ร่วมกนั นกั ป่นั จงึ ต้องให้ความเคารพกฎจราจรเช่นเดยี วกนั

7. มีนี ้ำ�ำ �ใจเมื่อ� ปั่�นบนทางเท้้า ฟุุตบาท หรืือ บาทวิถิ ีี คือื ทางสำ�ำ หรัับ
ผู้คนทัว่ ไปใช้ส�ำหรบั เดนิ นน่ั แหละ ฉะนั้นหากเรามคี วามจ�ำเป็น
ต้องปนั่ จกั รยานบนทางเทา้ ควรลดความเร็วและใหเ้ กยี รตติ ่อ
คนใชท้ างเทา้ โดยใหเ้ ขาไปกอ่ นเสมอ ไมค่ วรใชส้ ัญญาณเสียงให้
ผูใ้ ชท้ างเทา้ ตกใจ แต่ใช้วธิ สี ่งเสียงขอทางดว้ ยความสุภาพแทน
จะดูเป็นนา่ รักกวา่ เยอะ

8. อย่่าเกาะรถที่่�กำ�ำ ลังั แล่น่ เพราะรถอาจออกตััวกระชากทำำ�ให้้รถ
จกั รยานเราคว�่ำได้ และหากรถที่ตามหลงั มาไมส่ ามารถหยุดรถ
ไดท้ ัน…!!! คงไม่ต้องให้บอกตอ่ นะครับว่าอะไรจะเกิดขึ้น

9. ฝึกึ การใช้ส้ ัญั ญาณมืือ ทักั ษะนี้้�นักั ปั่�นหลายคนก็ล็ ะเลย ยิ่ง� เรา
ปั่นจักรยานคนเดียวยิ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการสื่อสารให้ผู้
ขับรถท่ีอยูห่ ลังเราไดร้ วู้ า่ เราก�ำลังจะท�ำอะไรเช่น เลยี้ วซา้ ย
เล้ยี วขวา หรือก�ำลังจะหยดุ เป็นต้น

10. มีสี ติอิ ย่่าประมาท ข้้อสุดุ ท้้ายนี่่อ� าจเรีียกได้้ว่า่ สำำ�คัญั ที่่ส� ุุดแล้้ว ผู้�
ปน่ั ตอ้ งมีสตอิ ยา่ ประมาท ยงิ่ เปน็ ในเมอื งท่ีการจราจรคบั คั่งยง่ิ
ตอ้ งเพม่ิ สติขึ้นเป็นสองเทา่

ขอ้ คดิ ส�ำหรับผู้ขบั ขร่ี ถยนตท์ ใี่ ช้ถนนรว่ มกบั รถจักรยาน

1.การขบั ตามรถจกั รยาน เม่อื พบผูข้ ี่จักรยาน ใหช้ ะลอความเรว็ อยา่
ใช้แตร เพราะอาจท�ำใหเ้ ขาตกใจและเกิดอบุ ัติเหตไุ ด้ อย่าตามใกล้
เกนิ ไป เพราะ รถจกั รยานอาจจะหยุดหรือเปล่ียนทางไปซ้าย-ขวาได้
เรว็ จงเตรียม พร้อมเผ่ือไวว้ ่าผู้ข่ี จกั รยานอาจจะเบ่ยี งรถเขา้ ใกล้เพอื่
หลบสีง่ กีดขวางบนถนน
2.การแซงรถจกั รยาน รอจนกระทง่ั ปลอดภยั จริง ๆ จึงจะแซง ควร
จะมีช่วงหา่ งระหวา่ งรถยนต์ที่แซงกับจักรยานอย่างน้อย 1 เมตร
(ประมาณ 3 ฟตุ ) และขบั แซงเลนขวา จนเหน็ รถจักรยานคันน้นั ทาง
กระจกมองหลงั ไกลแล้วจงึ ค่อยชิดซ้าย อย่าใชแ้ ตรขณะแซง อยา่ ขับ
รถตคี ่กู ับผขู้ ี่จกั รยาน ควรชะลอความเร็วลงก่อนและแซงเมื่อมีชอ่ งวา่ ง
ใหแ้ ซงไดอ้ ยา่ งปลอดภัย
3.เมอื่ จักรยานจะเลยี้ ว ซา้ ย – ขวา อยา่ แซงหรืออย่าขบั รถตัดหนา้ รถ
จักรยาน อาจกลายเป็นการปาดหน้าจกั รยานดว้ ยความประมาท
4.ปกตแิ ลว้ ตามกฎจราจร รถจักรยานจะตอ้ งขอี่ ยูบ่ นไหล่ทางทปี่ ู
คอนกรีตหรอื แอสฟลั ท์ หรอื ด้านซา้ ยสุดของชอ่ งทางจราจร เมอื่ ทาง
น้นั กว้างพอส�ำหรับรถยนตแ์ ละจกั รยาน อยา่ งไรก็ตาม บาง
สถานการณจ์ กั รยานก็อาจต้องมาอยู่ในช่องจราจรทางขวา จงึ ต้องมี
ความระมัดระวงั เช่น
-เมื่อจกั รยานต้องแซงพาหนะอนื่ ๆ ซึ่งแลน่ ไปในทางเดยี วกันในสภาพ
จราจรหนาแน่นและว่ิงช้า
-เมือ่ จกั รยานเตรียมจะเล้ียวขวา
-เมื่อผวิ จราจรไม่ปลอดภัย เช่น ถนนก�ำลงั ซอ่ ม, รถจอด, คนเดนิ , สัตว,์
หลมุ , ขยะ,เศษแก้ว
-เมื่อช่องทางจราจรแคบเกนิ กว่าจะใหร้ ถยนต์และ รถจกั รยานใชร้ ว่ ม
กนั ได้ ให้ขับตามหลัง จกั รยานไปกอ่ น
5.เมอ่ื เล้ยี วขวาบนทางแยก ให้ระวงั รถจกั รยานทข่ี ส่ี วนทางมา เชน่
เดยี วกบั ที่คณุ ตอ้ งระวังรถยนตค์ นั อ่นื ๆ

18 KMUT SAFETY WEEK 2021

6.กอ่ นเปดิ ประตูรถให้ระวงั เผ่ือมีรถจักรยาน แซงมาจากดา้ นหลงั ทาง
ขวา
7.ให้ขบั ตามจกั รยานห่างกว่าปกตแิ ละแซงในระยะหา่ ง เชน่ เดียวกับท่ี
คุณจะกระท�ำเม่อื แซงผ่านรถประเภทอื่น ๆ ในสภาวะอากาศไม่ดี เชน่
ฝนตก
8.การแซงจักรยานใหป้ ลอดภัย ควรค�ำนึงถึง- แรงลมจากรถคันใหญ่ ๆ
อาจท�ำใหร้ ถจักรยานถูกดูดเข้าใกล้รถได้ถงึ 2-3 ฟุต ข้นึ อย่กู บั
ความเร็วสมั พทั ธ์ระหวา่ ง พาหนะทงั้ 2 คนั
-ตอ้ งแซงให้ ห่างจกั รยานอย่างนอ้ ย 1 เมตร
-อยา่ ขับรถคไู่ ปกับรถจกั รยาน เม่อื จะแซงให้ชะลอความเรว็ และ
เปล่ียนไปใช้ช่องทางอน่ื หรือใชช้ อ่ งทางจราจร ที่สวนมา หากมีรถสวน
ให้ขับตามจกั รยานช้า ๆ จนกระทั่งไม่มีรถสวนจงึ จะแซง
9.ระวงั การกระท�ำทไ่ี ม่ได้คาดคิดจากเดก็ ๆ ทข่ี ี่จกั รยาน อบุ ัตเิ หตขุ อง
เด็ก ๆ ทข่ี ่ี จกั รยานมักจะเปน็ การขี่จกั รยานพรวดพราดขึน้ ถนนจาก
ซอย
10.เมื่อจะเลยี้ วรถผา่ นส่แี ยกใหด้ ูทางจราจร ทงั้ 2 ทาง รถจักรยาน
อาจจะขี่สวนทางจราจรที่มีเกาะกลางถนนยาวมากและท�ำให้เกิด
อบุ ัติเหตบุ ่อย ใหร้ ะมดั ระวงั เป็นพิเศษ

10 วธิ ีการเดินเทา้ ให้ปลอดภัย

การเดินเท้าในชีวิตประจ�ำวันให้ถึงจุดหมายปลายทางได้อย่าง
ปลอดภยั นน้ั ผู้เดินเท้าจ�ำเป็นต้องปฏิบัตดิ ังน้ี
1.เดินทางเท้าให้เดินชิดด้านในของทางเท้าถ้าไม่มีทางเท้าให้เดินชิด
ริมขวาของถนน โดยเดนิ สวนทางกบั รถและควรใหเ้ ดก็ เลก็ เดินด้านใน
2.การเดนิ เทา้ เวลากลางคืนควรสวมเสือ้ สีสวา่ ง เช่นสีขาวหรือสี
สะทอ้ นแสงหรอื ถือไฟส่องทาง
3.เดนิ ข้ามถนนตรงทางขา้ ม เชน่ ทางม้าลาย สะพานลอยหรอื อุโมงค์
กอ่ นขา้ มถนนต้องมองขวา-ซา้ ย และมองขวาอีกครง้ั เมอื่ เหน็ วา่
ปลอดภัยแล้วจงึ ขา้ มด้วยความระมัดระวงั และรวดเร็วแต่อยา่ ว่งิ เพราะ
อาจหกล้มเป็นอนั ตรายได้
4.การขา้ มถนนบริเวณทางแยกท่มี สี ัญญาณไฟ ตอ้ งรอดสู ญั ญาณไฟ
ก่อนขา้ ม
5.ถนนทีม่ เี กาะกลางถนนต้องขา้ มทลี ะคร่งึ ถนน แลว้ ไปหยดุ รอทีเ่ กาะ
กลางเม่อื เห็นว่าปลอดภยั แล้วจงึ ข้ามต่อ
6.เมอื่ ลงจากรถประจ�ำทางอย่าขา้ มถนนทันที ควรหยดุ รอใหร้ ถ
ประจ�ำทางผ่านไปก่อน เมอ่ื เหน็ ว่าปลอดภยั แลว้ จึงค่อยข้าม
7.ขณะข้ามถนนไมค่ วรหยอกล้อกัน ถ้ามขี องตกหลน่ ไม่ควรหยุดเกบ็
ให้ขา้ มไปให้พน้ ถนนกอ่ น
8.การเดินเท้าบนทางเท้าหรือขอบถนนต้องไม่เดินเป็นกลุ่มใหญ่ขวาง
ทางจกั รยานและทางเดนิ รถยนต์
9.การเดินเท้าบนทางเท้าหรือขอบถนนต้องระวังอย่าเดินในช่องทาง
จกั รยานที่ก�ำหนดไวแ้ ละ ใส่ใจกับจักรยานและรถยนต์
10.การเดินเทา้ แต่ละครง้ั ควรเผอ่ื เวลาส�ำหรบั การเดินทางไวด้ ว้ ย เพอ่ื
จะไดไ้ มต่ ้องรีบเรง่ จนขาดความระมดั ระวัง

KMUT SAFETY WEEK 2021 19

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

กฎหมายของผู้ขบั ข่รี ถจกั รยานยนต์
เรื่องสวมหมวกนริ ภยั ขณะขับรถจกั รยานยนต์

กฎหมายมีลกั ษณะเปน็ ข้อบังคับ แบง่ เป็น 2 ลักษณะ
1. บงั คบั ไมใ่ หก้ ระท�ำ เชน่ ห้ามมใิ หผ้ ้ขู บั ขรี่ ถจกั รยานยนต์ขับขรี่ ถ
จักรยานยนต์ในขณะท่ีคนโดยสารรถจักรยานยนต์มิได้สวมหมวกกัน
นอ็ ค ห้ามขบั ข่รี ถในขณะเมาสุรา เปน็ ตน้
2. บังคับใหก้ ระท�ำ เชน่ ตอ้ ง ผู้ขบั ข่ีรถจักรยานยนต์ตอ้ งสวมหมวกกัน
นอ็ ค เปน็ ตน้
กรณี “ ไมส่ วมหมวกนริ ภยั ขณะขบั รถจักรยานยนต์ ”
ค�ำนิยาม ตามพระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ. 2522
“ผขู้ บั ขี”่ หมายความว่า ผู้ขบั รถ ผปู้ ระจ�ำเคร่ืองอปุ กรณก์ ารขนสง่
ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการขนสง่ ผ้ลู ากเข็นยานพาหนะ
“รถจักรยานยนต์” หมายความว่า รถทเ่ี ดนิ ด้วยก�ำลงั เครอ่ื งยนต์
ก�ำลงั ไฟฟา้ หรอื พลงั งานอ่ืน และมลี ้อไม่เกนิ สองลอ้ ถ้ามพี ่วงข้างมีล้อ
เพ่ิมอกี ไมเ่ กนิ หนง่ึ ล้อ
“เจา้ พนกั งานจราจร” หมายความว่า ข้าราชการต�ำรวจชนั้ สัญญาบัตร
ซ่งึ รฐั มนตรแี ต่งต้ังใหเ้ ปน็ เจ้าพนกั งานจราจร
“พนักงานเจา้ หน้าที”่ หมายความวา่ ต�ำรวจซงึ่ ปฏิบตั ิหน้าท่ีควบคมุ
การจราจร
กฎหมายจราจรทางบก ก�ำหนดใหผ้ ูข้ บั ขี่รถจกั รยานยนตแ์ ละผู้โดย
สารฯต้องสวมหมวกนิรภัยเพือ่ ป้องกนั อนั ตรายในขณะขับข่ี และ
โดยสารรถจักรยานยนต์ หากฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ าม ดงั น้ี
1) ผูข้ บั ขไ่ี มส่ วมหมวกกันนอ็ ค (มาตรา 122 วรรค 2) ระวางโทษปรับ
ไมเ่ กิน 500 บาท
2) ผูข้ บั ขี่รถจกั รยานยนต์ โดยมผี ้โู ดยสารนงั่ ซ้อนทา้ ย หาก ผโู้ ดยสาร
ไม่ไดส้ วมหมวกกนั นอ็ ค(มาตรา 122 วรรค 2) ระวางโทษปรบั เปน็ 2
เท่า (ไม่เกนิ 500x2) กรณรี ถจกั รยานยนตร์ บั จา้ งก็เขา้ ข่ายความผิดน้ี
หากฝ่าฝืน ปรับผ้ขู ับข่ี ไมเ่ กิน 1,000 บาท
3) สวมหมวกกันน็อค แต่ ลักษณะ และวธิ กี ารใชห้ มวกกันน็อคไมถ่ กู
ตอ้ ง (มาตรา 122 วรรค 3) ตามทก่ี �ำหนดไว้ในกฎกระทรวงฯ (เชน่ รปู
แบบหมวกตอ้ งได้มาตรฐาน บังลมตอ้ งโปร่งใส +ไม่มีสี ต้องคาดสาย
+เขม็ ขดั รัดคาง เปน็ ตน้ ) หากฝ่าฝนื ระวางโทษปรับไม่เกนิ 500 บาท
ดงั น้ัน เราควรปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑข์ องกฎหมายไว้ เพ่ือป้องกันและ
หลีกเล่ียงเหตุการณ์ท่ีคาดไม่ถึงอันอาจน�ำมาซ่ึงความสูญเสียชีวิต
+ทรัพย์สนิ

20 KMUT SAFETY WEEK 2021

หลกั กฎหมาย พระราชบญั ญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ. 2522
มาตรา 122 ผูข้ บั ขรี่ ถจกั รยานยนตแ์ ละคนโดยสารรถจกั รยานยนต์
ตอ้ งสวมหมวกที่จัดท�ำขนึ้ โดยเฉพาะ เพอ่ื ปอ้ งกนั อนั ตรายในขณะขบั ขี่
และโดยสารรถจกั รยานยนต์
ห้ามมิให้ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ตามวรรคหน่ึงขับข่ีรถจักรยานยนต์ใน
ขณะท่ีคนโดยสารรถจักรยานยนต์มิได้สวมหมวกท่ี จัดท�ำข้ึนโดย
เฉพาะเพ่ือปอ้ งกนั อันตราย
ลักษณะและวิธีการใช้หมวกเพ่ือป้องกันอันตรายตามวรรคหน่ึงให้เป็น
ไปตามที่ก�ำหนดในกฎกระทรวงความในวรรคหนง่ึ มใิ ห้ใช้บงั คบั แก่
ภกิ ษุ สามเณร นักพรต นกั บวช หรือผนู้ ับถือลัทธศิ าสนาอ่นื ท่ใี ชผ้ ้า
หรอื สงิ่ อืน่ โพกศีรษะตามประเพณนี ิยมน้ัน หรือบุคคลใดทีก่ �ำหนดใน
กฎกระทรวง
มาตรา 142 เจา้ พนกั งานจราจรหรือพนกั งานเจ้าหนา้ ที่ มอี �ำนาจส่งั ให้
ผ้ขู ับขี่หยดุ รถในเม่อื
(2) เหน็ วา่ ผ้ขู ับข่หี รอื บคุ คลใดในรถนัน้ ไดฝ้ ่าฝนื หรือไม่ปฏิบัตติ ามบท
แหง่ พระราชบญั ญตั นิ ี้ หรอื กฎหมายอนั เกี่ยวกบั รถนั้นๆ
มาตรา 148 ผ้ใู ดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏบิ ัตติ ามมาตรา ... มาตรา 122 วรรค
หน่ึง หรือวรรคสาม มาตรา ... ต้องระวางโทษปรับไมเ่ กนิ หา้ รอ้ ยบาท
ถ้าผขู้ บั ข่รี ถจกั รยานยนต์ กระท�ำความผิดตามมาตรา 122 วรรคสอง
ผู้กระท�ำตอ้ งระวางโทษเป็นสองเทา่ ของโทษท่กี �ำหนดไวใ้ นวรรคหน่ึง
กฎกระทรวง ฉบับท่ี 14 (พ.ศ. 2535)
หมวกนิรภัย หมายความวา่ หมวกที่จดั ท�ำขน้ึ โดยเฉพาะเพ่ือปอ้ งกัน
อันตรายในขณะขบั ขแี่ ละโดยสารรถจักรยานยนต์
1) หมวกนริ ภยั แบบปดิ เต็มหนา้ หมายความว่า หมวกนริ ภยั ทเ่ี ปลือก
หมวกเปน็ รปู ทรงกลมปดิ ด้านขา้ ง ด้านหลงั ขากรรไกร และคาง. ใน
กรณีทีม่ บี ังลม บงั ลมตอ้ งท�ำจากวสั ดโุ ปรง่ ใสและไมม่ ีสี
2) หมวกนิรภยั แบบเตม็ ใบ หมายความว่า หมวกนิรภยั ที่เปลือกหมวก
เป็นรปู ทรงกลมปิดดา้ นข้าง และดา้ นหลังเสมอแนวขากรรไกรและ
ตน้ คอด้านหลัง ดา้ นหนา้ เปิดเหนอื คิว้ ลงมาตลอดถงึ ปลายคาง ในกรณี
ท่มี ีบังลม บังลมตอ้ งท�ำจากวัสดโุ ปร่งใสและไม่มสี ี
3) หมวกนิรภยั แบบคร่ึงใบ หมายความวา่ หมวกนริ ภัยท่เี ปลือกหมวก
เปน็ รปู ครง่ึ ทรงกลมปิดดา้ นขา้ งและด้านหลงั เสมอระดบั หู ในกรณที ีม่ ี
บงั ลม บังลมต้องท�ำจากวสั ดุโปรง่ ใสและไม่มสี ี
หมวกนิรภยั ให้ใช้ได้ 3 แบบ คือ หมวกนริ ภยั แบบปดิ เตม็ หนา้ แบบ
เตม็ ใบ และแบบครง่ึ ใบ
กรณีท่ีมีการก�ำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมส�ำหรับหมวก
นิรภัยแบบใดไว้ตามกฎหมายว่าด้วยมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
แล้ว หมวกนิรภยั ที่จะใช้ตอ้ งเป็นไปตามมาตรฐาน ขณะขับขี่หรือ
โดยสารรถจกั รยานยนต์ ผขู้ ับข่ีและคนโดยสารฯ จะต้องรัดคางด้วย
สายรดั คาง หรอื เข็มขัดรัดคาง

KMUT SAFETY WEEK 2021 21

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

Life มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี มเี ปา้ หมายอย่างชดั เจน
Safety ในการสร้างระบบความปลอดภัยให้กับนักศึกษาและบุคลากรของ
มหาวิทยาลัย เพือ่ ใหน้ ักศึกษาและผูป้ กครองมั่นใจในความปลอดภยั
ความปลอดภยั ใน ของการใช้ชีวิตอยู่ภายในมหาวิทยาลัยตลอดเวลามหาวิทยาลัย
การใชช้ ีวติ ใน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีได้จัดท�ำระบบกล้องวงจรปิดเพื่อใช้ใน
มหาวิทยาลยั การตรวจสอบความปลอดภัยภายในมหาวทิ ยาลยั ซง่ึ ตดิ ต้ังในทุกช้ัน
และทุกอาคารรวมถึงบริเวณทางเดินโดยรอบมหาวิทยาลัยและได้ติด
ตงั้ ระบบแจง้ เหตฉุ กุ เฉนิ หรือ SOS ภายในพน้ื ทีท่ เี่ ป็นจุดเสย่ี งโดยรอบ
ภายในมหาวทิ ยาลัย ซ่งึ เมือ่ นักศกึ ษาประสบเหตุหรอื พบเหตุการณ์ท่ี
ก่อให้เกิดอันตรายหรืออาจก่อให้เกิดอันตรายกับชีวิตและทรัพย์สิน
ของตนเองและผู้อื่นก็สามารถกดป่มุ แจง้ เหตุฉกุ เฉนิ ซงึ่ สญั ญานแจง้
เหตุน้ีจะไปยังศูนย์รักษาความปลอดภัยของมหาวิทยาลัยและ
พนักงานรักษาความปลอดภัยจะเข้าไปตรวจสอบและให้การช่วย
เหลือ

วิธีการปฏบิ ัตเิ มอ่ื เกิดเหตุฉกุ เฉนิ จากเพลิงไหม้หรอื ไฟไหม้

1. เมื่อ� ประสบเหตุเุ พลิิงไหม้้หรืือไฟลุกุ ไหม้้ ให้้ปิิดประตููห้้องที่่ไ� ฟ
ไหมอ้ ยู่ และกดป่มุ สัญญาณไฟไหมป้ ระจ�ำอาคารหรือ Fire
Alarm ทนั ที

2. โทรไปที่่ศ� ูนู ย์์ระงัับเหตุุฉุุกเฉิิน มจธ. หมายเลขโทรศัพั ท์์ 333
หรอื 02-470-8200 และหมายเลขโทรศพั ท์ ทมี งานระงบั เหตุ
ฉุกเฉนิ ประจ�ำอาคาร บอกชื่อผู้แจง้ หนว่ ยงานและต�ำแหน่ง
พรอ้ มสาเหตุของไฟไหม้

3. ถ้้าเกิดิ เพลิิงลุกุ ไหม้้เพีียงเล็็กน้อ้ ย ทีมี งานระงัับเหตุฉุ ุกุ เฉิิน
ประจ�ำอาคารจะเขา้ ด�ำเนนิ การและปฏิบัตงิ านระงับเหตุ เบอ้ื ง
ต้น

4. กรณีเี กิดิ เพลิงิ ลุุกไหม้้ขนาดใหญ่่ มีีควันั หนา หรืือเพลิงิ ลุุกลาม
อย่างรวดเร็วใหท้ มี งานระงับเหตฉุ กุ เฉินประจ�ำ อาคารด�ำเนิน
การอพยพคนในอาคารทันที โดยใช้บนั ไดหนีไฟทอี่ ยใู่ กลท้ สี่ ุด
และกดปุ่มสญั ญาณไฟไหม้และ ประกาศโดย ใชร้ ะบบประกาศ
แจง้ เตอื นให้ทุกคนในอาคารอพยพทนั ที และหา้ มไมใ่ ห้ผูท้ ไี่ ม่
เก่ียวข้องกบั การระงับเหตุเข้าไปในอาคาร อย่างเดด็ ขาด

5. เดิินอย่่างเป็็นระเบีียบห้้ามวิ่�งไปยัังบัันไดหนีีไฟที่่�ใกล้้ที่่�สุุดใน
กรณี ผพู้ ิการให้รออยู่ท่บี ันไดหนีไฟท่ีใกล้ที่สดุ และแจ้งผู้น�ำทีม
อพยพเพอื่ ใหค้ นมาช่วยเหลอื และรออยู่ทน่ี ่นั

6. เมื่�อสััญญาณเตืือนภััยดัังขึ้�นห้า้ มใช้ล้ ิฟิ ต์โ์ ดยเด็็ดขาด เพราะอาจ
ไมท่ �ำงานหรือหยุดเนอ่ื งจากเพลงิ ไหม้

7. ทีีมอพยพต้้องอพยพผู้้�คนไปยัังจุุดหมายอพยพที่่�ห่่างจากอาคาร
ไมน่ ้อยกวา่ 200 เมตร และต้องไม่ขดั ขวาง การท�ำงานของ
หน่วยระงบั เหตุ ต้องไมก่ ลบั เข้าไปในอาคารเดด็ ขาด จนกว่าจะ
มีประกาศใหก้ ลบั เขา้ ไป

8. ในกรณีีพบว่่ามีีผู้�ติิดอยู่�ในอาคารหรืือสููญหายในช่่วงอพยพให้้
แจ้งทมี ระงับเหตุหน่วยบรรเทาสาธารณภยั หรือ พนักงานดับ
เพลิงทนั ที

9. เมื่อ� สัญั ญาณไฟไหม้้ดัังขึ้�นเมื่�อไหร่่ ทุกุ คนในอาคารจะต้อ้ งอพยพ
ออกจากอาคารทนั ที

กรณีฉกุ เฉินแจ้งศูนยแ์ จ้งเหตุฉกุ เฉิน มจธ. 333 หรือ
02-470-8200 หรือ 191, ศูนย์ EESH 8293

22 KMUT SAFETY WEEK 2021

วธิ ีปฏบิ ตั ิเมอ่ื เกดิ เหตฉุ กุ เฉิน
จากแผ่นดินไหวหรอื อุบัติภยั ทางธรรมชาติ

1. เมื่อ� เกิดิ แผ่น่ ดินิ ไหวหรืืออุบุ ััติิภัยั ทางธรรมชาติิ โดยมีกี ารเตืือนภััยล่่วงหน้้าจากหน่ว่ ยงาน
ของรัฐหรือหน่วยงานอ่ืน อธิการบดหี รือรองอธิการบดที ่ไี ด้รบั มอบหมาย จะเป็นผู้แจ้งเหตุ
พรอ้ มเอกสารเตอื นภยั ระบุถึงรายละเอยี ดขอบเขต ของการแจง้ เตือนภัย และวธิ ปี ฏบิ ตั ิตาม
ขั้นตอนเมอ่ื เกดิ เหตฉุ ุกเฉนิ จากแผน่ ดนิ ไหวหรอื อุบัติภยั ธรรมชาติจากหน่วยงานบรรเทา
สาธารณภัยทอ้ งถนิ่ ซง่ึ ศูนยร์ ะงับเหตุฉกุ เฉิน ทีมระงับเหตุฉุกเฉินประจ�ำอาคาร ภายใน
มจธ. และ ศูนย์ EESH จะรว่ มมอื ในการแจ้งเหตุ และประกาศส่งเอกสารให้ทราบถึงวิธี
ปฏบิ ัติ

2. เมื่�อเกิดิ แผ่่นดินิ ไหวหรืืออุบุ ัตั ิภิ ัยั ธรรมชาติโิ ดยไม่ม่ ีีการเตืือนภััยล่ว่ งหน้้า อธิกิ ารบดีีหรืือรอง
อธกิ ารบดีทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย จะเปน็ ผปู้ ระกาศเหตฉุ ุกเฉินพรอ้ มกดสญั ญาณเตือนภยั และ
แจ้งให้หน่วยระงับเหตุฉุกเฉินภายในและหน่วยสนับสนุนช่วยเหลือภายนอกทุกหน่วยเข้า
ประจ�ำการเพื่อวางแผนงาน และอพยพคนออกจากพ้ืนท่ีไปยังบริเวณปลอดภยั โดยส่ง
เอกสารใหท้ ราบถึงวิธีปฏบิ ัตเิ มือ่ เกิดเหตุ และก�ำชบั ให้ทุกคนปฏบิ ตั ติ ามอยา่ งเคร่งครัด

3. อธิิการบดีีหรือื รองอธิิการบดีที ี่่�ได้้รัับมอบหมาย มีอี ำำ�นาจสั่่�งการให้้หยุุดเรีียนกรณีีเกิดิ เหตุุ
รุนแรง และผลของการเกิดเหตกุ อ่ ให้เกิดผลกระทบตอ่ กิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกร
รมอืน่ ๆ ของมหาวทิ ยาลัย

4. ในกรณีผีู้�ประสบเหตุซุึ่ง� เป็น็ บุคุ ลากรของมหาวิิทยาลััย พบปััญหาหรือื ประสบเหตุุ ซึ่�งเป็็น
สัญญาณเตอื นข้นั ตน้ กอ่ นเกดิ แผ่นดินไหวหรอื อบุ ตั ภิ ยั ให้ด�ำเนนิ การแจ้งต่อศูนย์ระงับเหตุ
ฉกุ เฉนิ ท่หี มายเลขโทรศพั ท์ 333 หรอื 02-470-8200 พรอ้ มบอกชอื่ หมายเลขโทรศพั ท์
หนว่ ยงาน และเหตทุ ี่พบอยา่ งเร่งด่วน

5. ในกรณีนี ักั ศึึกษา บุุคลากรของ มจธ. ประสบเหตุอุ ัันเนื่่�องมาจากแผ่น่ ดิินไหว เช่น่ อาคารพััง
หรือของหลน่ แตกหกั ควรด�ำเนินการตามข้ันตอนดงั ต่อไปน
5.1 ออกจากบรเิ วณทเ่ี กดิ เหตใุ หเ้ รว็ ท่สี ดุ โดยเลือกทางออกทีป่ ลอดภยั หนีออกจากอาคาร
อยา่ หนเี ข้าไปในอาคาร
5.2 เม่อื ออกส่บู รเิ วณปลอดภัยแลว้ ใหโ้ ทรแจง้ ต่อศูนย์ระงับเหตุฉุกเฉนิ ทห่ี มายเลขโทรศพั ท์
333 หรอื 02-470-8200 พร้อมบอกชอื่ หมายเลขโทรศพั ท์ หน่วยงาน เหตุท่ี พบ สถาน
ทเี่ กดิ เหตุและบรเิ วณทเ่ี กิดเหตุ
5.3 ทมี ระงบั เหตุฉุกเฉินจาก มจธ. จะด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารอพยพคนออกจากอาคาร และ
ประสานด้านการจัดการควบคุมภาวะฉุกเฉินตามระบบของมหาวิทยาลัยไปยังพื้นที่
ปลอดภัย
5.4 ห้ามไมใ่ หบ้ คุ คลใดๆ เข้าอาคารทเ่ี กดิ เหตุเดด็ ขาดยกเวน้ ทมี ระงบั เหตฉุ กุ เฉิน และ
หนว่ ยงานบรรเท่าสาธารณภยั
5.5 อธิการบดีและทมี อ�ำนวยการควบคุมภาวะฉกุ เฉิน สงั่ การและด�ำเนนิ การตามความ
เหมาะสมของสภาวะ และแจง้ ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานสนบั สนนุ /ช่วยเหลอื
ภายนอก
5.6 เมื่อสัญญาณเตือนภัยดังขึ้นห้ามใช้ลฟิ ต์โดยเด็ดขาด เพราะอาจไมท่ �ำงานหรอื หยดุ
เนอื่ งจากเพลิงไหม้
5.7 ทมี อพยพจะต้องอพยพผคู้ นไปยงั จุดนดั หมายอพยพท่หี า่ งจากอาคารไมน่ ้อยกวา่ 200
เมตร และต้องไมข่ ัดขวางการท�ำงานของหนว่ ยระงบั เหตุ ต้องไม่กลับเขา้ ไปในอาคาร
เด็ดขาดจนกว่าจะมีการประกาศ ให้กลับเขา้ ไป
5.8 ในกรณีท่ี พบวา่ มผี ู้ติดอยู่ในอาคารหรือสญู หายในช่วงอพยพ ให้แจง้ ทมี ระงับเหตุ หน่วย
บรรเทา สาธารณภัยหรือพนกั งานดับเพลงิ ทนั ที
5.9 เมอื่ สญั ญาณเตือนภัยดงั ข้ึนเม่ือไหร่ ทกุ คนในอาคารจะต้องอพยพออกจากอาคารทนั ที

กรณีฉกุ เฉินแจ้งศนู ย์แจง้ เหตุฉุกเฉิน มจธ. 333 หรอื
02-470-8200 หรอื 191, ศูนย์ EESH 8293

KMUT SAFETY WEEK 2021 23

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

Food การจัดร้านอาหารให้ได้ตามข้อก�ำหนดความปลอดภัยในการบริโภค
Safety อาหารนบั เปน็ สิง่ ท่ีประชาชนทว่ั ไปให้ความส�ำคัญมากขน้ึ รา้ นอาหารซึ่ง
เป็นแหลง่ ปรงุ ประกอบอาหารเพื่อจ�ำหน่ายแก่ผู้บริโภคจึงมคี วามส�ำคัญ
ความปลอดภัย ต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนเป็นอย่างย่ิง เพราะหากร้นอาหารมี
ด้านอาหาร สภาพหรือมกี ารปฏิบัตทิ ี่ไม่ถูกสขุ ลกั ษณะ จะเป็นสาเหตใุ หอ้ าหารไดร้ ับ
การปนเป้ือนจากเช้ือโรคหรือส่ิงสกปรก รา้ นอาหารก็จะเป็นแหล่งแพร
โรคที่ส�ำคญั ไปสูผ่ ้บู ริโภคไดด้ งั นนั้ รา้ นอาหารจึงตอ้ งให้ความส�ำคัญใน
เร่อื ง “ความสะอาดและความปลอดภัย” ของอาหาร เพอื่ ปอ้ งกนั อันตราย
ต่างๆ ท่เี กดิ จากอาหารไม่สะอาด โดยจดั ร้นและปฏบิ ัตติ นให้ถกู ต้องตาม
หลักการสุขาภบิ าลอาหารการสขุ าภิบาลอาหาร ซงึ่ หมายถึง การจดั การ
และควบคุมเพอ่ื ใหอ้ าหารสะอาดปลอดภยั จากเชอ้ื โรค พยาธิ และสาร
เคมีทีเ่ ปน็ พิษตา่ ง ๆซึ่งเปน็ อันตรายหรืออาจเปน็ อนั ตรายตอ่ การเจรญิ
เติบโตของร่างกายสขุ ภาพอนามัยและการด�ำรงชีวิตของมนษุ ย์ อาจกล่าว
ได้โดยย่อว่า”การสุขาภบิ าลอาหาร กค็ ือ การท�ำใหอ้ าหารสะอาดและ
ปลอดภยั รับประทานแลว้ ไม่ท�ำให้เกดิ โรค” ซึ่งสอดคล้องกบั เป้าหมายการ
พฒั นาที่ยง่ั ยนื ขององคก์ ารสหประชาชาติ (Sustainable Development
Goals: SDGs) ในเป้าหมายที่ 2 Zero Hunger ขจัดความหวิ โหย บรรลุ
ความมัน่ คงทางอาหาร สง่ เสรมิ เกษตรกรรมอย่างยงั่ ยนื เป้าหมายที่ 3
Good Health and well-being รบั รองการมีสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่
ดีของทกุ คนทุกช่วงอายุ เปา้ หมายท่ี 12 Responsible Consumption
and Production รบั รองแผนการบริโภค และการผลติ ทีย่ ่งั ยืน

เกณฑม์ าตรฐานด้านสุขาภบิ าลอาหาร Clean Food Good Taste
1. ขอ้ ก�ำหนดดา้ นสขุ าภิบาลอาหารส�ำหรับรา้ นอาหาร
• สถานทรี่ ับประทานอาหาร เตรยี ม – ปรุง – ประกอบอาหาร ตอ้ ง

สะอาดเป็นระเบยี บ และจัดเปน็ สัดส่วน
• ไมเ่ ตรยี มปรุงอาหารบนพื้นและบรเิ วณหนา้ หรือในหอ้ งนำ้� ห้องสว้ ม

และต้องเตรยี มปรุงอาหารบนโต๊ะท่สี งู จากพืน้ อย่างนอ้ ย 60 ซม.
• ใชส้ ารปรุงแตง่ อาหารทม่ี ีความปลอดภัย มีเคร่ืองหมายรบั รองของ

อาหารทางราชการ เชน่ เลขสารบบอาหาร เครือ่ งหมาย รับรอง
มาตรฐานของกระทรวงอุตสาหกรรม (มอก.)
• อาหารสดต้องล้างใหส้ ะอาดกอ่ นน�ำมาปรุง หรอื เกบ็ การเก็บอาหาร
ประเภทตา่ งๆ ตอ้ งแยกเกบ็ เป็นสดั ส่วน อาหารประเภท เนื้อสัตวด์ ิบ
เกบ็ ในอณุ หภูมทิ ่ี ต�่ำกว่า 5 องศาเซลเซียส
• อาหารทปี่ รุงส�ำเรจ็ แลว้ เกบ็ ในภาชนะที่สะอาดมีการปกปดิ วางสูง
จากพ้ืนอย่างน้อย 60 ซม.
• น�ำ้ แข็งทีใ่ ช้บริโภคตอ้ งสะอาดเกบ็ ในภาชนะท่สี ะอาดมีฝาปดิ ใช้
อุปกรณ์ที่มีด้ามส�ำหรับคีบหรือตักโดยเฉพาะวางสูงจากพ้ืนอย่าง
นอ้ ย 60 ซม. และต้องไม่มีสงิ่ ของอย่างอื่นแช่รวมไว้
• ลา้ งภาชนะด้วยน้ำ� ยาล้างภาชนะแลว้ ล้างดว้ ยน้ำ� สะอาด 2 ครั้ง หรอื
ล้างด้วยน้�ำไหล และทีล่ า้ งภาชนะ ต้องวางสูงจากพ้นื อย่างนอ้ ย 60
ซม.
• เขยี งและมดี ต้องมีสภาพดีแยกใชร้ ะหว่างเนอื้ สตั ว์สกุ เนือ้ สัตว์ดิบ
และผกั ผลไม้
• ชอ้ น ส้อม ตะเกยี บ วางตั้งเอาด้ามขน้ึ ในภาชนะโปรง่ สะอาด หรือ
วางเปน็ ระเบยี บในภาชนะโปร่งสะอาดและมกี ารปกปิด เก็บสงู จาก
พนื้ อยา่ งนอ้ ย 60 ซม.

24 KMUT SAFETY WEEK 2021

• มูลฝอย และน้ำ� เสียทกุ ชนิด ได้รับการก�ำจดั ดว้ ยวธิ ที ถี่ ูกหลักสุขาภบิ าล
• ห้องสว้ มส�ำหรับผู้บรโิ ภคและผู้สัมผัสอาหารตอ้ งสะอาด มีอา่ งลา้ งมือท่ใี ชก้ ารได้ดี

และมีสบู่ใชต้ ลอดเวลา
• ผู้สมั ผัสอาหารแตง่ กายสะอาด สวมเส้ือมีแขน ผู้ปรุงต้องผูกผา้ กันเปอ้ื นท่ีสะอาด

สวมหมวกหรือเนท็ คลุมผม
• ผู้สัมผัสอาหารต้องล้างมือใหส้ ะอาดกอ่ นเตรยี มปรุง ประกอบ จ�ำหนา่ ยอาหารทกุ

ครง้ั ใชอ้ ปุ กรณ์ ในการหยบิ จับอาหารทีป่ รุงส�ำเรจ็ แล้วทกุ ชนิด
• ผสู้ ัมผัสอาหารท่ีมบี าดแผลทีม่ ือต้องปกปิดแผลให้มดิ ชิด หลกี เล่ยี งการปฏบิ ัตงิ านท่ี

มีโอกาสสมั ผสั อาหาร
• ผู้สมั ผสั อาหารทเ่ี จ็บปว่ ยด้วยโรคทส่ี ามารถติดต่อไปยงั ผูบ้ ริโภค โดยมนี ้ำ� และ

อาหารเป็นส่ือ ให้หยุดปฏิบตั ิงานจนกว่าจะรกั ษา ใหห้ ายขาด

2. ข้อก�ำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร ส�ำหรบั แผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร
• แผงลอยจ�ำหน่ายอาหารท�ำจากวัสดทุ ท่ี �ำความสะอาดงา่ ย มสี ภาพดี เปน็ ระเบยี บ

อยูส่ ูงจากพื้น อยา่ งน้อย 60 ซม.
• อาหารปรงุ สุกมกี ารปกปิด หรอื มีการป้องกันสตั ว์และแมลงน�ำโรค
• สารปรงุ แตง่ อาหาร ต้องมเี ลขสารบบอาหาร
• น�้ำดม่ื ต้องเป็นนำ�้ สะอาด ใส่ในภาชนะท่สี ะอาด มีการปกปิดมกี อ๊ กหรอื ทางเทรนิ น�ำ้
• เครอ่ื งดื่ม ตอ้ งใสภ่ าชนะท่สี ะอาด มกี ารปกปดิ และมที ี่ตักทมี่ ีด้ามยาวหรอื มกี ๊อก

หรอื ทางเทรินน้�ำ
• น้ำ� แขง็ ท่ใี ช้บรโิ ภค ตอ้ งสะอาด เก็บในภาชนะท่สี ะอาด มีฝาปดิ อย่สู ูงจากพื้นอย่าง

น้อย 60 ซม. ท่ี ตกั นำ้� แขง็ มดี า้ มยาว และต้องไม่น�ำอาหาร หรือส่ิงของอยา่ งอื่นไป
แช่ไว้ในน้ำ� แข็ง
• ล้างภาชนะด้วยน้�ำยาล้างภาชนะ แลว้ ลา้ งด้วยนำ้� สะอาด 2 คร้ัง หรือล้างด้วยนำ�้
ไหล และอุปกรณก์ ารลา้ งตอ้ งวางสงู จากพน้ื อยา่ งนอ้ ย 60 ซม.
• ช้อน ส้อม ตะเกยี บ วางตั้งเอาดา้ มข้นึ ในภาชนะโปร่ง สะอาด หรือวางเปน็ ระเบียบ
ในภาชนะโปรง่ สะอาดและมีการปกปดิ เก็บสูงจากพน้ื อยา่ งนอ้ ย 60 ซม
• มีการรวบรวมมลู ฝอย และเศษอาหารเพื่อน�ำไปก�ำจัด
• ผู้สมั ผัสอาหารแตง่ กายสะอาด สวมเสอื้ มีแขน ผ้ปู รงุ ต้องผกู ผา้ กันเปื้อนที่สะอาด
สวมหมวกหรอื เน็ทคลุมผม
• ใชอ้ ปุ กรณ์หยบิ จับอาหารที่ปรุงส�ำเร็จแลว้
• ผู้สมั ผสั อาหารทม่ี ีบาดแผลท่ีมือตอ้ งปกปดิ แผลให้มดิ ชิด


KMUT SAFETY WEEK 2021 25

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

3. ขอ้ ก�ำหนดดา้ นสขุ าภิบาลอาหารส�ำหรับโรงอาหาร
สถานทร่ี ับประทานอาหาร และบรเิ วณท่ัวไป

o สะอาด เป็นระเบยี บ
o โต๊ะ เกา้ อสี้ ะอาด แขง็ แรง จัดเป็นระเบยี บ
o มกี ารระบายอากาศที่ดี

บรเิ วณทเ่ี ตรยี ม – ปรุงอาหาร
o สะอาด เปน็ ระเบยี บ พนื้ ท�ำด้วยวัสดุถาวร แข็ง เรยี บ สภาพดี
o มกี ารระบายอากาศ รวมท้งั กลิ่นและควนั จากการท�ำอาหารได้ดี เช่น

มีปลอ่ งระบายควัน หรอื พัดลมดูดอากาศทใี่ ชก้ ารได้ดี
o ไม่เตรยี มและปรงุ อาหารบนพื้น
o โตะ๊ เตรียม – ปรุง และผนังบรเิ วณเตาไฟตอ้ งท�ำดว้ ยวัสดทุ ่ีท�ำความ

สะอาดง่าย ( เช่น สแตนเลส กระเบื้อง) มสี ภาพดี และพ้นื โต๊ะต้องสูง
จากพืน้ อย่างน้อย 60 ซม.
ตัวอาหาร น�้ำ น้ำ� แข็ง เคร่อื งด่มื
o อาหารและเคร่อื งดื่มในภาชนะบรรจทุ ป่ี ิดสนิท ต้องมเี ลขสารบบ
อาหาร
o อาหารสด เช่น เน้ือสตั ว์ ผกั สด ผลไม้ และอาหารแหง้ มีคณุ ภาพดี
แยกเก็บเป็นสดั ส่วน ไม่ปะปนกนั วางสงู จากพน้ื อยา่ งน้อย 60 ซม.
หรอื เก็บในตูเ้ ย็น ถา้ เปน็ ห้องเยน็ ตอ้ งวางอาหารสงู จากพื้นอยา่ งน้อย
30 ซม. ส�ำหรับอาหารสดตอ้ งลา้ งให้สะอาดก่อนน�ำมาปรุง
o อาหารและเครื่องดืม่ ในภาชนะบรรจุทีป่ ดิ สนทิ มคี ณุ ภาพดี เกบ็ เปน็
ระเบียบสูงจากพน้ื อยา่ งน้อย 30 ซม. .
o อาหารที่ปรงุ ส�ำเรจ็ แล้ว เก็บในภาชนะท่ีสะอาด มกี ารปกปดิ วางสูง
จากพื้นอยา่ งน้อย 60 ซม.
o มตี สู้ �ำหรับปกปดิ อาหารท่ปี รุงส�ำเร็จแล้ว และด้านหน้าของต้ตู อ้ ง
เป็นกระจก
o น�ำ้ ด่มื เครื่องด่ืม น�้ำผลไมต้ อ้ งสะอาด ใสใ่ นภาชนะทีส่ ะอาดมฝี าปิด
มีก๊อกหรือทางรินน้�ำหรือมีอุปกรณ์ท่ีมีด้ามส�ำหรับตักโดยเฉพาะและ
วางสูงจากพ้ืนอย่างน้อย 60 ซม.
o น้�ำแขง็ ท่ใี ชบ้ ริโภคต้องสะอาด ใส่ในภาชนะทส่ี ะอาดมีฝาปิดมี
อปุ กรณ์ทมี่ ดี ้ามส�ำหรบั คบี หรอื ตักโดยเฉพาะ วางสงู จากพ้นื อย่าง
นอ้ ย 60 ซม. และตอ้ งไมม่ ีสงิ่ ของอน่ื แชร่ วมไว้
ภาชนะอปุ กรณ์
o ภาชนะอปุ กรณ์ เช่น จาน ชาม ชอ้ น ส้อม ฯลฯ ต้องท�ำด้วย วัสดทุ ไ่ี ม่
เป็นอนั ตราย เชน่ สแตนเลส กระเบือ้ งเคลอื บขาว แกว้ อลมู ิเนยี ม เม
ลามีนสีขาว หรอื สอี อ่ น ส�ำหรับตะเกียบต้องเป็นไม้ไมต่ กแต่งสี หรอื
พลาสตกิ สขี าว
o ภาชนะใส่น�้ำส้มสายชู น�้ำปลา และนำ�้ จม้ิ ตอ้ งท�ำด้วยแก้ว กระเบื้อง
เคลอื บขาว มีฝาปิด และช้อนตกั ท�ำด้วยกระเบอื้ งเคลอื บขาว หรือส
แตนเลส ส�ำหรับเครื่องปรุงรสอน่ื ๆ ตอ้ งใส่ในภาชนะท่ีท�ำความ
สะอาดง่าย มีฝาปดิ และสะอาด

26 KMUT SAFETY WEEK 2021

o ล้างภาชนะอุปกรณ์ด้วยวธิ ีการอยา่ งน้อย 2 ข้นั ตอน โดยข้นั ตอนท่ี 1
ลา้ งด้วยน้ำ� ยาล้างภาชนะ และขัน้ ตอนท่ี 2 ลา้ งด้วยน�ำ้ สะอาด 2 คร้ัง
หรือล้างดว้ ยนำ้� ไหล และอุปกรณก์ ารล้างต้องสงู จากพืน้ อยา่ งนอ้ ย
60 ซม.

o ใชอ้ า่ งล้างภาชนะอุปกรณท์ มี่ ีทอ่ ระบายน�้ำท่ีใชก้ ารไดด้ ี อย่างน้อย 2
อา่ ง

o จาน ชาม ถ้วย แก้วน้�ำ ถาดหลมุ ฯลฯ เกบ็ คว�่ำในภาชนะหรือ
ตะแกรง วางสงู จากพ้นื อยา่ งน้อย 60 ซม. หรอื เกบ็ ในภาชนะหรอื
สถานที่ที่สะอาดมีการปกปิด

o ช้อน ส้อม ตะเกยี บ วางต้งั เอาด้ามขึน้ ในภาชนะโปรง่ สะอาด หรอื
วางเปน็ ระเบยี บในภาชนะทส่ี ะอาดและมกี ารปกปิด ต้งั สงู จากพื้น
อยา่ งนอ้ ย 60 ซม.

o เขยี งต้องมีสภาพดี ไม่แตกร้าวหรอื เปน็ รอ่ ง มีเขียงใช้เฉพาะอาหาร
สกุ และอาหารดิบแยกจากกัน มฝี าชคี รอบ (ยกเวน้ ครัวทมี่ กี าร
ปอ้ งกันแมลงวันแล้ว)
การรวมรวมขยะ และนำ้� โสโครก

o ใชถ้ ังขยะท่ีไม่รว่ั ซึม และมีฝาปดิ
o มที อ่ หรอื รางระบายน�ำ้ ทมี่ สี ภาพดีไมแ่ ตกรา้ ว ระบายนำ้� จากห้องครัว

และท่ีลา้ งภาชนะอุปกรณ์ลงสู่ท่อระบายหรอื แหลง่ บ�ำบดั ไดด้ ี
และต้องไมร่ ะบายน้�ำเสยี ลงสแู่ หล่งน้�ำสาธารณะโดยตรง
o มีบ่อดกั เศษอาหารและดกั ไขมนั ที่ใช้การไดด้ ี กอ่ นระบายน�้ำเสียทง้ิ

ห้องน้ำ� ห้องสว้ ม
o ห้องนำ้� หอ้ งสว้ มต้องสะอาด ไมม่ ีกลิ่นเหมน็ มีน�ำ้ ใชเ้ พยี งพอ
o ห้องสว้ มแยกเป็นสดั ส่วน ประตูไมเ่ ปิดสู่บรเิ วณทเี่ ตรยี ม –ปรงุ อาหาร

ที่ลา้ งและเกบ็ ภาชนะอปุ กรณ์ ทเี่ กบ็ อาหารและต้องมีอ่างลา้ งมอื ท่ีใช้
การได้ดี อยใู่ นบริเวณห้องสว้ ม

ผู้ปรงุ ผเู้ สริ ์ฟ
o แต่งกายสะอาด สวมเส้ือมแี ขน
o ผกู ผา้ กันเปื้อนสขี าว หรอื มีเครื่องแบบ ผู้ปรุงจะต้องใสห่ มวกหรือ

เนท็ คลุมผมด้วย
o ต้องเปน็ ผู้มสี ขุ ภาพดี ไม่เปน็ โรคติดต่อ ไมเ่ ป็นโรคผวิ หนงั ส�ำหรบั ผู้

ปรงุ จะตอ้ งมหี ลกั ฐานการตรวจสุขภาพในปีนัน้ ใหต้ รวจสอบได้
o มสี ขุ นิสัยท่ี ดี เช่น ตัดเลบ็ สน้ั ไม่สบู บุหร่ใี นขณะปฏบิ ตั ิงาน ไมใ่ ช้มอื

หยิบจบั อาหารท่ีปรงุ เสร็จแลว้ โดยตรง

KMUT SAFETY WEEK 2021 27

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic
นิิทรรศการเรื่ �อง
Covid – 19

28 KMUT SAFETY WEEK 2021

KMUT SAFETY WEEK 2021 29

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic
30 KMUT SAFETY WEEK 2021

KMUT SAFETY WEEK 2021 31

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic
32 KMUT SAFETY WEEK 2021

KMUT SAFETY WEEK 2021 33

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic
34 KMUT SAFETY WEEK 2021

KMUT SAFETY WEEK 2021 35

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic
นิิทรรศการเรื่ �อง
Green Nudges

The Little Book of Green Nudges
Youth Education & Advocacy –UNEP
ได้้เข้า้ ร่ว่ มในโครงการ YEA-UNEP (Youth Education & Advocacy –United Nation Envi-
ronment Program) ซึ่ง� มจธ.ได้ส้ มััครเข้้าร่่วมเป็น็ มหาวิิทยาลััยนำำ�ร่อ่ ง (Pilot Campus) ของ
UNEP ในกิิจกรรมของ YEA ที่่เ� สนอแนวคิิดในการปรับั เปลี่�ยนพฤติิกรรมเชิงิ บวกเพื่่อ� ลดผลกระทบ
ต่อ่ สิ่�งแวดล้้อมภายในมหาวิิทยาลัยั ภายใต้แ้ นวทางปฎิิบััติิของ The Little Book of Green
Nudgesซึ่�งเปิิดตััวตั้�งแต่ว่ ันั ที่่� 1 กัันยายน 2563
โครงการ Green Nudges มีีเป้้าหมายในการที่่�ะจะเสริิมสร้้างความสามารถของนักั ศึึกษา บุคุ ลากร
และพนัักงานภายในมหาวิิทยาลััยปรัับเปลี่ �ยนพฤติิกรรมให้้เกิิดการใส่่ใจในการอนุุรัักษ์์พลัังงานสิ่ �ง
แวดล้้อมกัันส่่งผลให้้เกิิดการดำ�ำ เนิินชีีวิิตภายในมหาวิิทยาลััยภายใต้้บริิบทของความยั่�งยืืนด้้านสิ่�ง
แวดล้อ้ ม
กลยุุทธ์ต์ ามแนวคิดิ
“Nudge Theory” หรืือ “ทฤษฎีผี ลักั ดััน”
เพื่่อ� สนัับสนุนุ การปรัับเปลี่�ยนพฤติิกรรมเชิิงบวกให้้เกิิดการ “ดุุน” หรือื “สะกิิด” เพื่่อ� ให้ไ้ ด้ร้ ัับ
ความสนใจและ “รุุน” ไปทีลี ะน้้อยในทิิศทางของการปรับั พฤติิกรรมให้้เกิดิ การจััดการสิ่ง� แวดล้อ้ ม
อย่า่ งยั่�งยืืนภายในมหาวิิทยาลััย
• Easy
• Attractive
• Social

36 KMUT SAFETY WEEK 2021

KMUT SAFETY WEEK 2021 37

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic
นิทิ รรศการรางวัลั แห่ง่ ความภาคภูมู ิิใจ มจธ.

38 KMUT SAFETY WEEK 2021

เป้าหมายการพฒั นาท่ยี ่ังยืน

Sustainable Development Goals
SDGs

องคก์ ารสหประชาชาติประจ�ำประเทศไทย (UN Thailand) ได้เผยแพร่ เปา้ หมายการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื
(Sustainable Development Goals – SDGs) ท่ีประชาคมโลกทว่ั โลก198 ประเทศตกลงร่วมกนั ท่ีใน
การก�ำหนดทศิ ทางของการพัฒนาท่ยี ่งั ยืนในระดบั สากล หรือทเ่ี รยี กว่าGlobal Goals โดยอาศัยกรอบ
ความคดิ ท่ีมองการพฒั นาเปน็ มติ ิ (Dimensions) ของ เศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม ให้มีความเช่ือม
โยงกันเรยี กวา่ เป้าหมายการพัฒนาทยี่ ั่งยนื หรือ Sustainable Development Goals (SDGs)ซง่ึ จะใช้เป็น
ทศิ ทางการพัฒนาตัง้ แต่เดอื นกนั ยายน ปี 2558 ถงึ เดือนสิงหาคม 2573 ครอบคลุมระยะเวลา 15 ปี โดย
ประกอบไปดว้ ย เป้าหมาย17ขอ้ ดังนี้
เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals-SDGs ) 17 ขอ้ เป็นดังนี้
GOAL 1. ขจดั ความยากจน : No Poverty
GOAL 2. ขจดั ความหิวโหย : Zero Hunger
GOAL 3. มีสขุ ภาพและความเปน็ อย่ทู ่ี ดี : Good Health and Well-being
GOAL 4. การศึกษาที่เทา่ เทียม : Quality Education
GOAL 5. ความเท่าเทยี มทางเพศ : Gender Equality
GOAL 6. การจัดการน้ำ� และสุขาภบิ าล : Clean Water and Sanitation
GOAL 7. พลังงานสะอาดทท่ี ุกคนเขา้ ถงึ ได้ : Affordable and Clean Energy
GOAL 8. การจา้ งงานท่มี คี ุณค่าและการเตบิ โตทางเศรษฐกิจ : Decent Work and Economic Growth
GOAL 9. อุตสาหกรรม นวตั กรรม โครงสร้างพ้ืนฐาน : Industry, Innovation and Infrastructure
GOAL 10. ลดความเหลือ่ มล้ำ� : Reduced Inequality
GOAL 11. เมืองและถ่นิ ฐานมนุษยอ์ ยา่ งยง่ั ยืน : Sustainable Cities and Communities
GOAL 12. แผนการบริโภคและการผลติ ทยี่ ง่ั ยนื : Responsible Consumption and Production
GOAL 13. การรบั มอื การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ : Climate Action
GOAL 14. การใชป้ ระโยชนจ์ ากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล : Life Below Water
GOAL 15. การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก : Life on Land
GOAL 16. สังคมสงบสุข ยตุ ิธรรม ไมแ่ บง่ แยก : Peace and Justice Strong Institutions
GOAL 17. ความร่วมมอื เพ่ือการพัฒนาท่ยี ัง่ ยืน : Partnerships to achieve the Goal

KMUT SAFETY WEEK 2021 39

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

Goal 1 : No Poverty

1. ขจดั ความยากจน
ในทว่ั โลก ผู้คนมากกว่า 800 ล้านคน ยงั คงอยูไ่ ดด้ ้วยเงินนอ้ ยกวา่ 1.25 ดอลลาห์ตอ่ วนั หลายคนยงั ขาด
การเข้าถงึ อาหาร นำ�้ ดม่ื ท่ีสะอาดและสุขอนามัยที่เพยี งพอ การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจอยา่ งรวดเรว็ ใน
ประเทศ เชน่ จนี และอินเดยี ได้ช่วยยกระดับประชากรออกจากความยากจน แต่ความเตบิ โตในเรอ่ื งดงั
กลา่ วกย็ ังไมม่ ีความสม�่ำเสมอเท่าใดนกั ประชากรผหู้ ญิงมสี ัดส่วนทอี่ ย่ใู นความยากจนมากกว่าผูช้ าย
เนื่องจากการเข้าถงึ ทีไ่ ม่เท่ากนั ในเร่อื งค่าแรงงาน การศึกษาและทรัพย์สนิ SDGs มีเปา้ หมายท่ี จะขจดั
ความยากจนในทุกรูปแบบให้แลว้ เสร็จภายในปี 2573 ซ่งึ เป้าหมายดงั กล่าวเกีย่ วข้องกับการก�ำหนดกลมุ่
เป้าหมายทีอ่ าศัยอยูใ่ นสถานการณ์ท่ีมคี วามเสยี่ งในการเขา้ ถงึ ทรพั ยากรและการบริการข้ันพ้ืนฐาน รวม
ถงึ ช่วยเหลือชมุ ชนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากความขัดแยง้ และภัยพบิ ัติที่เก่ยี วข้องกบั สภาพภูมิอากาศ

Goal 2 : Zero Hunger

2. ขจัดความหวิ โหย
ขจดั ความหวิ โหย บรรลคุ วามมน่ั คงทางอาหาร ส่งเสรมิ เกษตรกรรมอย่างย่ังยนื การเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจอย่างรวดเร็วและผลผลิตทางการเกษตรที่เพิม่ ขนึ้ ในชว่ งสองทศวรรษท่ผี ่านมา ท�ำใหไ้ ดเ้ ห็น
สัดสว่ นของประชากรท่ีขาดแคลนอาหารลดลงเกอื บคร่ึงหนึง่ ประเทศก�ำลงั พัฒนาจ�ำนวนมากที่เคยได้
รบั ความทุกขจ์ ากความอดอยากและความหิวโหย ซึ่งในขณะนี้ ประเทศเหล่านั้นสามารถให้ความชว่ ย
เหลอื ทางโภชนาการแก่ผู้ด้อยโอกาสไดเ้ ป็นจ�ำนวนมาก มคี วามคืบหน้าอยา่ งมากในเรอื่ งการก�ำจดั ความ
หวิ โดยในภาคกลางและเอเชยี ตะวนั ออก ละตนิ อเมริกา และประเทศกล่มุ แครบิ เบยี น
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (SDGs) มงุ่ มัน่ ท่ี จะขจัดความหวิ โหยและความอดอยากทุกรูปแบบ ให้
แล้วเสรจ็ ภายในปี 2573 เพอื่ ใหแ้ น่ใจวา่ ทกุ คน โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ เดก็ และผ้ดู ้อยโอกาสจ�ำนวนมาก ได้
รบั การเข้าถึงอาหารทีเ่ พยี งพอและมคี ุณคา่ ทางโภชนาการตลอดทั้งปี เป้าหมายนยี้ ังเก่ยี วขอ้ งกบั การส่ง
เสรมิ การเกษตรอยา่ งยั่งยืน การปรบั ปรงุ ชีวิตความเปน็ อยแู่ ละก�ำลังการผลิตของเกษตรกรรมขนาดเล็ก
ท่ี ชว่ ยให้เข้าถึงแหล่งท่ี ดินท�ำกิน เทคโนโลยแี ละการตลาดอย่างเท่าเทยี ม นอกจากน้ีความร่วมมอื ระหวา่ ง
ประเทศก็เป็นสิ่งส�ำคัญที่สร้างความเช่ือมั่นในการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยีเพื่อเพ่ิม
ผลผลติ ทางการเกษตร เราจะสามารถยตุ คิ วามอดอยากและความหิวโหยได้ภายในปี 2573 โดยด�ำเนิน
การรว่ มกับเปา้ หมายอืน่ ๆ ทีก่ �ำหนดไว้

40 KMUT SAFETY WEEK 2021

Goal 3 : Good Health and Well Being

3. มีสขุ ภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
รับรองการมีสขุ ภาพและความเปน็ อยู่ที่ดขี องทกุ คนในทุกชว่ งอายุ นับตง้ั แตก่ ารสร้างเป้าหมายการ
พัฒนาแหง่ สหสั วรรษ ซ่งึ ประสบผลส�ำเร็จอยา่ งมีคณุ ค่าในหน้าประวตั ิศาสตร์ จากการลดการเสียชีวิต
ของเดก็ การปรับปรงุ สุขภาพของมารดาและการต่อสู้กบั เชอ้ื เอชไอว/ี เอดส์ มาลาเรียและโรคอืน่ ๆ ต้งั แต่
ปี 2533 สามารถปอ้ งกันการเสียชวี ิตของเด็กทั่วโลก โดยลดลงกว่า 50 % และการเสยี ชีวติ ของมารดาก็
สามารถลดลงได้ 45% ในท่ัวโลก ภาวะการติดเช้ือเอชไอวีและเอดส์ท่เี กิดข้ึนใหม่ สามารถลดลงได้ 30%
ในระหวา่ งปี 2543 ถงึ ปี 2556 และมากกวา่ 6,200,000 ชีวิตไดร้ บั ปอ้ งกนั จากโรคมาลาเรยี
การเสยี ชีวติ เหลา่ นส้ี ามารถหลีกเล่ียงได้โดยการปอ้ งกนั และการรักษา การศึกษา แคมเปญการสรา้ ง
ภมู คิ มุ้ กนั ของโรคและการดแู ลสขุ ภาพเพศและระบบสบื พนั ธุ์ เป้าหมายการพัฒนาอย่างยง่ั ยืนมีความมงุ่
ม่ันที่จะยุติการระบาดของโรคเอดส์ วัณโรคมาลาเรียและโรคติดต่ออื่นๆ ภายในปี 2573 ซงึ่ มีจุดมุ่งหมาย
เพ่ือให้บรรลุหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและจัดให้มีการเข้าถึงยาและวัคซีนอย่างปลอดภัยและมี
ประสิทธภิ าพส�ำหรับทกุ คน การสนับสนุนการวจิ ัยและพฒั นาวคั ซีนก็เปน็ สว่ นส�ำคญั ของกระบวนการน้ี
เช่นเดียวกับการเขา้ ถึงยาในราคาที่เหมาะสม

Goal 4 : Quality Education

4. การศกึ ษาทีเ่ ทา่ เทียม
รับรองการศกึ ษาทีเ่ ท่าเทียมและทว่ั ถึง สง่ เสรมิ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ แกท่ ุกคน ต้งั แตป่ ี 2543 มคี วามคืบ
หน้าเปน็ อย่างมากในการบรรลเุ ปา้ หมายเร่อื งของผ้ทู ี่ไดร้ ับการศึกษาในระดบั ประถมศกึ ษา อตั ราการลง
ทะเบยี นเรยี นรวมในประเทศก�ำลังพฒั นาเพ่ิมขนึ้ ถงึ ร้อยละ 91 ในปี 2558 และจ�ำนวนของเดก็ ทวั่ โลกท่ี
ไมไ่ ด้รับการศึกษาลดลงไดเ้ กือบคร่งึ หนึ่ง นอกจากนี้ อัตราผู้ทีม่ ีความสามารถในการอ่านออกเขยี นไดย้ งั
เพิ่มขน้ึ เปน็ อย่างมาก และเดก็ ผูห้ ญงิ ได้ไปโรงเรียนมากขน้ึ กวา่ เดมิ สง่ิ เหลา่ นีล้ ว้ นเปน็ ความส�ำเรจ็ อนั
ยอดเยย่ี ม การประสบความส�ำเรจ็ ครอบคลุมถงึ การศกึ ษาที่มคี ุณภาพ ซึง่ ตอกย้ำ� ความเช่อื ท่ี พสิ ูจนแ์ ล้ว
ว่าการศึกษาเปน็ หนึ่งในแรงขับเคลื่อนท่มี ีประสทิ ธิภาพส�ำหรบั การพฒั นาอย่างยัง่ ยืน เป้าหมายนี้ท�ำให้
แน่ใจว่าเด็กผู้หญิงและเด็กผู้ชายทุกคนจะได้รับส�ำเร็จศึกษาฟรีในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
นอกจากน้ยี ังมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ จดั ใหม้ กี ารฝกึ อบรมอาชีพในราคาทเ่ี หมาะสมอย่างเท่าเทียมกัน และ
ขจัดความไมเ่ สมอภาคทางเพศและความเหลื่อมลำ�้ ดว้ ยความมงุ่ หมายท่ี จะประสบผลส�ำเร็จในการเข้า
ถงึ หลักสากลเพื่อการศกึ ษาท่ีสูงข้ึนอย่างมีคณุ ภาพ

KMUT SAFETY WEEK 2021 41

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

Goal 5 : Gender Equality

5. ความเท่าเทียมทางเพศ
บรรลุความเท่าเทียมทางเพศ พฒั นาบทบาทสตรีและเด็กผูห้ ญงิ ตัง้ แตป่ ี 2543 UNDP รว่ มกับ พนั ธมิตร
ของ UN และประชาคมโลกให้ความเสมอภาคทางเพศเป็นศนู ยก์ ลางในการท�ำงาน และพวกเราได้เหน็
ความส�ำเร็จอันนา่ ประทับใจ มีผู้หญงิ จ�ำนวนมากขน้ึ ทไ่ี ดเ้ รียนในโรงเรียน เมือ่ เทยี บกบั 15 ปที ี่ผา่ นมา
และในภมู ิภาคสว่ นใหญ่ ก็มีความเทา่ เทยี มกนั ทางเพศในการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา ในขณะน้ี ผหู้ ญิง
สามารถท�ำงานนอกบา้ นและได้รบั คา่ แรงจากงาน ทไ่ี มใ่ ชท่ �ำการเกษตรได้ถึง 41% เมอ่ื เทยี บปี 2533 ซึ่ง
มเี พียง 35%
SDGs มจี ดุ หมายที่จะสร้างความส�ำเรจ็ เหล่านเ้ี พื่อใหแ้ นใ่ จวา่ มีการยุติการเลอื กปฏิบัตติ อ่ ผ้หู ญิงและเด็ก
ผหู้ ญิงในทกุ ท่ี แตใ่ นบางภูมภิ าคยังคงมคี วามไมเ่ ท่าเทยี มกนั ในเบ้ืองต้นส�ำหรบั การเข้าถงึ ค่าจ้าง และยงั
คงมีชอ่ งว่างทม่ี นี ยั ส�ำคญั ระหวา่ งชายและหญิงในตลาดแรงงาน ความรุนแรงทางเพศและการละเมดิ ทาง
เพศ การใชแ้ รงงานทผี่ ิดกฎหมาย และการแบง่ แยกชนชั้นของประชาชนยงั คงเป็นอุปสรรคใหญใ่ นเรอื่ งน้ี

Goal 6 : Clean Water and Sanitation

6. การจดั การนำ�้ และสุขาภบิ าล
รับรองการมนี ้�ำใช้ การจดั การนำ�้ และสขุ าภิบาลท่ีย่งั ยนื ปัญหาการขาดแคลนน้ำ� ส่งผลกระทบต่อ
ประชาชนท่ัวโลกมากกวา่ 40 % สง่ิ ทีน่ ่าตกใจคอื คาดว่าจะมีการเพิม่ ข้นึ ของอณุ หภูมโิ ลกทเ่ี ปน็ ผลมาจาก
การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ แมว้ ่าประชาชน 2,100 ล้านคน ไดร้ บั การเขา้ ถึงการสุขาภบิ าลน้ำ� ท่ี ดี
ขน้ึ ตั้งแต่ปี 2533 แต่การขาดแคลนอุปกรณส์ �ำหรับนำ้� ดื่มทีป่ ลอดภัยยังคงเปน็ ปัญหาหลกั ทีส่ ง่ ผลกระทบ
ต่อทุกทวีป
ภายในปี 2573 การท�ำให้มีนำ้� ดืม่ ท่ปี ลอดภยั และราคาเหมาะสม จ�ำเป็นตอ้ งมกี ารลงทุนโครงสร้างพนื้
ฐานที่เหมาะสม โดยจดั ใหม้ ีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกดา้ นสขุ อนามัยและสง่ เสริมสุขอนามยั ในทุกระดับ
ปกปอ้ งและฟน้ื ฟรู ะบบนเิ วศน์ท่เี ก่ยี วข้องกับน�ำ้ เชน่ ปา่ ไม้ ภูเขาและแม่นำ้� พ้นื ท่ี ช่มุ น�้ำเป็นส่งิ จ�ำเป็นที่
ต้องดูแล ถ้าหากเราจะลดการขาดแคลนนำ�้ นอกจากนี้ ความร่วมมือระหว่างประเทศ ยังเปน็ ส่ิงจ�ำเปน็ ที่
จะส่งเสริมให้มีการใช้น้�ำอย่างมีประสิทธิภาพและสนับสนุนเทคโนโลยีการบ�ำบัดน�้ำในประเทศที่ก�ำลัง
พัฒนา

42 KMUT SAFETY WEEK 2021

Goal 7 : Affordable and CleanEnergy

7. พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถงึ ได้
รบั รองการมพี ลงั งานท่ีทกุ คนเข้าถึงได้ เช่ือถอื ได้ ยงั่ ยืนทนั สมัย
ระหวา่ งปี 2533 ถงึ ปี 2553 จ�ำนวนประชากรมีการเขา้ ถึงไฟฟ้าเพิ่มขึน้ 1,700 ล้านคนท่วั โลกและยงั คง
เพิ่มข้นึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดังน้ันจงึ มกี ารเรยี กรอ้ งถงึ พลังงานราคาถกู เศรษฐกิจท่ัวโลกพึง่ พาเชอ้ื เพลงิ
ฟอสซิลและการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกซึ่งนั่นคือการสร้างการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงต่อ
ระบบภูมิอากาศ การเปล่ียนแปลงนส้ี ่งผลถึงทกุ ทวีปทัว่ โลก
ภายในปี 2573 มเี ป้าหมายท่ี จะท�ำใหเ้ กดิ การผลติ ไฟฟ้าที่เหมาะสมในทุกท่ี ซ่งึ หมายถึงการลงทุนใน
แหล่งพลังงานสะอาด เช่น พลงั งานแสงอาทิตย์ พลังงานลมและพลังงานความรอ้ น การน�ำมาตรฐานการ
ประหยัดค่าใช้จ่ายที่มีประสิทธิภาพมาใช้ในอาคารและอุตสาหกรรมส�ำหรับความหลากหลายของ
เทคโนโลยยี ังสามารถลดการใช้ไฟฟ้าทว่ั โลกได้ 14% ซึ่งหมายถึงการลดการใช้งานโรงไฟฟ้าขนาดกลาง
ประมาณ 1,300 แห่ง การขยายโครงสรา้ งพนื้ ฐานและพัฒนาเทคโนโลยเี พื่อใหม้ ีแหลง่ ที่มาของพลงั งาน
สะอาดในประเทศทีก่ �ำลังพฒั นา เป็นเป้าหมายส�ำคญั ที่ท้งั การขยายโครงสร้างและการพัฒนาเทคโนโลยี
สามารถส่งเสริมการเจริญเติบโตและช่วยเหลือส่งิ แวดลอ้ มได้

Goal 8 : Decent Work and
Economic Growth

8. การจ้างงานที่มีคณุ ค่าและการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ
ส่งเสริมการเตบิ โตทางเศรษฐกิจท่ี ต่อเนอื่ งครอบคลมุ และยงั่ ยนื การจ้างงานทมี่ ีคณุ ค่า
มากกวา่ 25 ปที ี่ผา่ นมา จ�ำนวนคนงานท่ปี ระสบปัญหาความยากจนได้ลดลงอยา่ งมาก แม้จะมผี ลกระ
ทบที่ยาวนานของวกิ ฤตเศรษฐกจิ จากปี 2551/2552 ในประเทศที่ก�ำลังพฒั นา ชนช้ันกลางถอื เปน็ 34%
ของการจา้ งงานท้ังหมด โดยตัวเลขนเ้ี พ่มิ ขึ้นกวา่ สามเทา่ จากปี 2534 ถึง 2558
เป้าหมายการพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน (SDGs) มงุ่ มนั่ ท่ี จะสง่ เสรมิ การเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ทีย่ ่ังยนื โดย
บรรลุเป้าหมายการผลติ ในระดับท่ีสงู ข้นึ และผลิตผา่ นนวตั กรรมทางเทคโนโลยี สนับสนุนนโยบายทส่ี ่ง
เสรมิ ให้ผปู้ ระกอบการและการสร้างงานซึง่ เปน็ กุญแจส�ำคัญในเรื่องน้ี เชน่ เดยี วกับมาตรการที่มี
ประสทิ ธิภาพที่จะก�ำจัดการบงั คบั ใช้แรงงานทาสและการคา้ มนุษย์ ดว้ ยเปา้ หมายเหล่านี้ ภายในปี 2573
เราตอ้ งการใหเ้ กิดการจ้างงานเตม็ รูปแบบและมีประสทิ ธิภาพ และการท�ำงานทเ่ี หมาะสมส�ำหรับผูห้ ญงิ
และผชู้ ายทกุ คน

KMUT SAFETY WEEK 2021 43

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

Goal 9 : Industry, Innovation and
Infrastructure

9. อตุ สาหกรรม นวัตกรรม โครงสรา้ งพนื้ ฐาน
พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานท่ี พร้อมรับการเปล่ยี นแปลง ส่งเสรมิ การปรับตัวให้เป็นอุตสาหกรรมอยา่ งยง่ั ยนื
และทัว่ ถึง และสนับสนุนนวตั กรรม ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยกี เ็ ป็นกญุ แจส�ำคญั ในการหาทางแก้
ปญั หาอย่างย่ังยืนใหก้ บั ความท้าทายทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอ้ ม เชน่ การจดั ใหม้ ีชิน้ งานใหม่และส่ง
เสริมประสทิ ธิภาพในการใชพ้ ลงั งาน การสง่ เสรมิ อุตสาหกรรมท่ียัง่ ยืนและการลงทุนในการวจิ ยั ทาง
วทิ ยาศาสตร์และนวตั กรรม เหล่าน้เี ปน็ วธิ ที ่สี �ำคญั ที่จะชว่ ยสนับสนนุ การพัฒนาอยา่ งยัง่ ยนื
การลงทุนในโครงสรา้ งพ้ืนฐานและนวัตกรรมเป็นหน่งึ ในเปา้ หมายการพฒั นา 17 ข้อ ท่ีอยูใ่ นวาระการ
จดั ท�ำเป้าหมายการพฒั นาที่ยั่งยืน (SDGs) วธิ กี ารแบบบูรณาการเป็นส่ิงส�ำคัญที่จะท�ำใหเ้ กิดความคบื
หน้าไปยังเปา้ หมายอน่ื ๆ

Goal 10 : Reduced Inequality

10. ลดความเหล่อื มล�ำ้
ลดความเหล่อื มลำ้� ทัง้ ภายในและระหว่างประเทศ จากรายงานที่ว่าความไมเ่ ทา่ เทียมของรายไดม้ อี ัตรา
เพ่มิ ข้นึ 10% ของคนร�่ำรวยที่สุด มีรายได้เปน็ 40% ของรายไดร้ วมทั่วโลก ผูท้ ี่ยากจนท่สี ุด 10% ท�ำได้
รายได้เพยี ง 2 – 7% ของรายได้รวมท่วั โลก ในประเทศก�ำลงั พฒั นา ความไมเ่ ทา่ เทียมเพ่ิมขึน้ 11 % ตาม
การเจรญิ เตบิ โตของประชากร
ความไมเ่ ทา่ เทียมดา้ นรายไดเ้ ป็นปญั หาระดบั โลกที่ต้องการการแกไ้ ข ซง่ึ ปัญหาน้ีเกยี่ วขอ้ งกับการ
ปรับปรงุ กฎระเบียบข้อบงั คบั การตรวจสอบของตลาดการเงนิ และสถาบันด้านการเงิน การสง่ เสริมการ
ช่วยเหลือดา้ นการพัฒนา และการลงทนุ โดยตรงจากต่างชาติไปยงั ภมู ภิ าคที่มคี วามจ�ำเป็นมากทส่ี ดุ การ
อ�ำนวยความสะดวกในการอพยพย้ายถ่ินท่ีปลอดภัยและการเคล่ือนย้ายของผู้คนก็เป็นส่ิงส�ำคัญในการ
แกไ้ ขปัญหาการแบง่ เขตแดน

44 KMUT SAFETY WEEK 2021

Goal 11 : Sustainable Cities
and Communities

11. เมืองและถ่ินฐานมนษุ ยอ์ ยา่ งยงั่ ยืน
ท�ำใหเ้ มืองและการตัง้ ถิน่ ฐานของมนษุ ยม์ ีความปลอดภัย ท่ัวถึง พร้อมรบั การเปลีย่ นแปลงและพัฒนา
อยา่ งย่งั ยนื การเตบิ โตอย่างรวดเร็วของเมืองในประเทศทกี่ �ำลงั พฒั นา ควบคูไ่ ปกบั การเพิ่มข้นึ ในการย้าย
ถิน่ ฐานจากชนบทสูเ่ มอื ง ซ่งึ น�ำไปสคู่ วามเจริญในเมอื งขนาดใหญ่ ในปี 2553 มี 10 เมืองใหญท่ ม่ี ีพลเมอื ง
จ�ำนวน 10 ลา้ นคนหรอื มากกวา่ นั้น ในปี 2557 มเี มืองขนาดใหญถ่ ึง 28 เมือง ผู้อย่อู าศยั รวม
453,000,000 คน
ความยากจนมักจะกระจุกตวั อยใู่ นเมอื ง รัฐบาลระดับชาติและระดบั ท้องถ่ินตอ้ งพยายามจดั การเพื่อ
รองรับการเพิม่ ข้ึนของประชากรในพนื้ ทเ่ี หล่าน้นั การท�ำใหเ้ มืองปลอดภยั และย่ังยนื หมายถึง การท�ำให้
เข้าถึงที่อยูอ่ าศยั ทีป่ ลอดภัยและเหมาะสมและพฒั นาการตง้ั ถนิ่ ฐานของชมุ ชนแออดั นอกจากน้ยี งั
เก่ียวข้องกบั การลงทุนเรือ่ งการขนส่งสาธารณะ การสร้างพืน้ ที่สาธารณะสีเขยี วและการปรบั ปรุงการวาง
ผังเมืองและการจัดการในลกั ษณะแบบมสี ว่ นรว่ ม

Goal 12 : Responsible Consumption
and Production

12. แผนการบรโิ ภคและการผลิตทยี่ ่ังยนื
รับรองแผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืนการที่จะบรรลุเป้าหมายการเติบโตทางเศรษฐกิจและการ
พัฒนาท่ีย่ังยืนนั้นตอ้ งลดรอยเท้าทางนิเวศลงอย่างเร่งด่วน โดยการเปลีย่ นแปลงการผลติ และการบริโภค
สนิ ค้าและทรัพยากร การเกษตรกรรมเปน็ ผใู้ ช้น้ำ� รายใหญท่ ่ีสุดในโลก และในขณะนม้ี กี ารจัดการน้ำ� ให้ถงึ
70% ของผ้ใู ชน้ �ำ้ ทงั้ หมด
การจัดการการใช้ทรัพยากรธรรมชาติร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพและวิธีการก�ำจัดขยะที่เป็นพิษและ
มลพษิ เปน็ สิง่ ส�ำคัญที่จะท�ำให้บรรลเุ ป้าหมายนี้ การสง่ เสริมใหม้ กี ารรีไซเคิลและลดขยะมูลฝอยใน
อตุ สาหกรรม ธรุ กจิ และผ้บู ริโภคเปน็ สง่ิ ส�ำคัญเท่าเทยี มกับการสนบั สนนุ ประเทศก�ำลังพฒั นาเพือ่ กา้ วเขา้
ส่แู ผนการบริโภคทีย่ ่งั ยืนภายในปี 2573

KMUT SAFETY WEEK 2021 45

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

Goal 13 : Climate Action

13. การรับมอื การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ
ด�ำเนินมาตรการเรง่ ด่วนเพือ่ รบั มือกบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบ
ไม่มปี ระเทศใดในโลกทไ่ี ม่เหน็ ผลกระทบอนั รุนแรงของการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การปลอ่ ยก๊าซ
เรือนกระจกยังคงเพ่มิ ข้นึ และตอนนีเ้ พ่ิมข้นึ จากปี 2533 มากกวา่ 50% นอกจากน้ี ภาวะโลกร้อนเป็น
สาเหตุที่ท�ำใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงอันยาวนานกบั ระบบสภาพภูมิอากาศ ซง่ึ ผลลพั ธ์ท่ี ตามมาอาจไม่
สามารถเปล่ยี นแปลงได้ ถา้ หากไม่เรม่ิ ด�ำเนินการในตอนนี้
การสร้างความเข้มแขง็ ความยืดหยุน่ และความสามารถในการปรบั ตัวของภมู ภิ าคที่มีความเสีย่ ง เช่น
ประเทศทไี่ ม่มีทางออกทะเล และประเทศที่เปน็ เกาะ จ�ำเปน็ ต้องร่วมมือกนั เพื่อพยายามสรา้ งความ
ตระหนักรแู้ ละบูรณาการมาตราการเข้าไปในนโยบายและกลยทุ ธ์ระดบั ชาติ ซ่ึงยังคงมคี วามเป็นไปได้
ด้วยเจตจ�ำนงทางการเมืองและความหลากหลายของมาตรการทางเทคโนโลยีที่สามารถจ�ำกัดการเพ่ิม
ขน้ึ ของอุณหภูมเิ ฉลยี่ ของโลกได้ถงึ สององศาเซลเซียสซง่ึ จ�ำกัดไดม้ ากกวา่ ก่อนยคุ อุตสาหกรรม สง่ิ นี้
จ�ำเป็นตอ้ งด�ำเนินการรว่ มกันอย่างเร่งดว่ น

Goal 14 : Life Below Water

14. การใช้ประโยชนจ์ ากมหาสมทุ รและทรพั ยากรทางทะเล
อนรุ ักษแ์ ละใชป้ ระโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเลเพ่อื การพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื ผูค้ นกวา่ สาม
พันล้านคนใชช้ ีวติ ขึน้ อยูก่ ับความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลและชายฝงั่ แต่ในปจั จุบนั นเ้ี ราจะเห็น
ไดว้ ่า 30% ของปลาทะเลของโลกไดถ้ ูกใชไ้ ปเกนิ ขนาด ซงึ่ ต�่ำกวา่ ระดบั ท่ี พวกเขาสามารถผลติ ผล
ตอบแทนทย่ี ง่ั ยืนใหไ้ ด้
เปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ั่งยืน (SDGs) สร้างกรอบการท�ำงานเพอ่ื การจดั การอย่างย่งั ยนื และปกปอ้ งระบบ
นิเวศทางชายฝั่งและทางทะเลจากภาวะมลพิษจากแหลง่ บนบก ตลอดจนจัดการปญั หาผลกระทบของ
การเป็นกรดของมหาสมทุ ร เสรมิ สร้างการอนรุ ักษ์และใช้ประโยชน์อยา่ งยง่ั ยนื ของทรพั ยากรทะเลผ่าน
กฎหมายระหวา่ งประเทศซง่ึ จะสามารถชว่ ยบรรเทาปัญหาทเี่ กดิ ขน้ึ กบั มหาสมุทร

46 KMUT SAFETY WEEK 2021

Goal 15 : Life on Land

15. การใชป้ ระโยชน์จากระบบนเิ วศทางบก
ปกปอ้ ง ฟ้ืนฟู และสง่ เสริมการใชป้ ระโยชนจ์ ากระบบนเิ วศทางบกอย่างย่ังยืน ในปัจจบุ นั นเ้ี ราจะเห็น
ความเสอื่ มโทรมของท่ี ดินแบบท่ไี ม่เคยเกิดขน้ึ มาก่อน และการสูญเสยี ท่ี ดนิ ท�ำกนิ 30 – 35 คร้ัง ภยั แล้ง
และการแปรสภาพเป็นทะเลทรายก็ยงั คงเพมิ่ ขึ้นในแต่ละปี รวมจ�ำนวนการสูญเสยี ถึง 12 ลา้ นเฮกเตอร์
และสง่ ผลกระทบต่อชมุ ชนท่ยี ากจนทว่ั โลก จาก 8,300 สายพันธส์ุ ตั ว์ท่เี ปน็ ท่รี จู้ ัก มจี �ำนวน 8% ทก่ี �ำลงั
จะสูญพันธุ์และอกี 22% มคี วามเส่ยี งต่อการสญู พันธ์ุ
เป้าหมายการพฒั นาท่ียง่ั ยนื (SDGs) มงุ่ ม่ันที่จะอนุรกั ษ์และฟน้ื ฟูประโยชน์จากระบบนเิ วศทางบก อาทิ
ปา่ ไม้ พ้ืนที่ชมุ่ น้�ำ พ้นื ท่ีก่งึ แหง้ แลง้ และภูเขา ภายในปี 2563 การสง่ เสรมิ การจดั การปา่ อยา่ งยง่ั ยืนและ
แก้ไขการตัดไม้ท�ำลายป่าก็เป็นสิ่งส�ำคัญที่จะช่วยบรรเทาผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
ควรต้องด�ำเนินการอย่างเร่งด่วนเพ่ือท่ี จะลดการสูญเสียถ่ินท่ีอยู่อาศัยตามธรรมชาติและความหลาก
หลายทางชีวภาพทซ่ี ึง่ เปน็ สว่ นหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมรว่ มกันของเรา

Goal 16 : Peace Justice and Strong
Institution

16. สงั คมสงบสขุ ยตุ ิธรรม ไมแ่ บง่ แยก
สง่ เสรมิ สังคมสงบสุข ยุตธิ รรม ไมแ่ บง่ แยก เพอ่ื การพัฒนาอยา่ งย่ังยืน สนั ติภาพ ความมนั่ คง สทิ ธิมนษุ ย
ชนและการปกครองท่ีมปี ระสิทธภิ าพบนพืน้ ฐานของหลักนิติธรรมเปน็ การรวมกันที่ส�ำคัญเพอ่ื การพัฒนา
ที่ย่งั ยืน เราอาศยั อยู่ในโลกทีถ่ กู แบ่งแยกมากขึน้ บางภมู ภิ าคไดร้ ับสิทธ์ิในความสงบ การรกั ษาความ
ปลอดภยั ความเจรญิ อย่างเตม็ ทีแ่ ละตอ่ เน่ือง ในขณะท่ี ภมู ิภาคอนื่ ตกอยู่ในวงจรของความขัดแย้งและ
ความรุนแรงที่ดเู หมอื นวา่ จะไมม่ ีวนั สิน้ สุด ซ่งึ สิ่งเหลา่ นส้ี ามารถหลีกเลย่ี งได้และควรจะต้องได้รับการ
แก้ไข
เป้าหมายการพฒั นาทีย่ งั่ ยืน (SDGs) มุ่งม่ันท่ี จะลดความรนุ แรงทกุ รปู แบบ พรอ้ มท�ำงานรว่ มกบั รฐั บาล
และชมุ ชนเพือ่ หาแนวทางแก้ไขปัญหาความขดั แยง้ และความไม่มนั่ คงอยา่ งยั่งยืน การส่งเสรมิ การ
ปกครองดว้ ยกฎหมายและการส่งเสริมสทิ ธมิ นษุ ยชน เปน็ กุญแจส�ำคญั ในกระบวนการนเ้ี ช่นเดียวกบั การ
ลดอาวุธผดิ กฎหมาย สง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของประเทศก�ำลงั พัฒนาในสถาบนั การปกครองทัว่ โลก

KMUT SAFETY WEEK 2021 47

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

Goal 17 : Partnerships for the Goals

17. ความรว่ มมอื เพ่ือการพฒั นาท่ยี ่งั ยืน
สร้างพลังแห่งการเปน็ หุ้นสว่ นความร่วมมอื ระดบั สากลตอ่ การพฒั นาท่ียง่ั ยนื
ในโลกยคุ ปัจจุบันมีการเชอ่ื มตอ่ กันมากขึ้นกว่าเดิม การพฒั นาในการเขา้ ถึงเทคโนโลยีและความรเู้ ป็นสง่ิ
ส�ำคัญในการแบ่งปันความคดิ และสนับสนุนนวตั กรรม การประสานงานดา้ นนโยบายจะชว่ ยใหป้ ระเทศ
ก�ำลงั พฒั นาสามารถจัดการหนีไ้ ด้ เชน่ เดียวกบั การส่งเสริมการลงทุนเพอื่ การพฒั นาเป็นส่ิงส�ำคัญเพื่อให้
ประสบผลในการเตบิ โตและการพัฒนาอย่างย่ังยืน
เปา้ หมายนีม้ ุง่ มนั่ ท่ี จะเพิ่มความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศพัฒนาแลว้ กับประเทศก�ำลังพัฒนา (North-
South) และความรว่ มมือระหว่างประเทศก�ำลังพัฒนา (South-South) โดยการสนบั สนนุ แผนระดับ
ชาติเพ่ือการบรรลุเปา้ หมาย สง่ เสรมิ การค้าระหว่างประเทศและชว่ ยเหลือประเทศก�ำลงั พฒั นาเพิ่มอตั รา
การส่งออก ซงึ่ นค่ี อื สว่ นประกอบทัง้ หมดที่จะช่วยให้ประสบผลส�ำเร็จในหลักเกณฑส์ ากลและระบบการ
ค้าทเี่ สมอภาค ซง่ึ เปน็ สง่ิ ท่ียุติธรรม เปิดกวา้ งและเปน็ ประโยชนต์ ่อทกุ ฝ่าย

48 KMUT SAFETY WEEK 2021

Guidelines for New Normal
in Laboratory

โดย ผศ.สุชาดา ไชยสวัสดิ์
จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชอ้ื โคโรน่า 2019 หรอื โรคโควดิ 19
(COVID-19) ที่ก่อให้เกิดวกิ ฤตเนอื่ งจากการแพรร่ ะบาดไปในทุกพน้ื ท่ีท่ัวโลก ซึง่ กอ่ ใหเ้ กดิ ความ
เสียหายตอ่ ชีวิตทรัพย์สิน และสง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ สงั คมและประชาชนทุกคน ผลจากการ
แพร่ระบาดของโรคโควิด19 ดังกลา่ ว ก่อใหเ้ กิดรูปแบบวถิ ชี วี ติ ใหม่ ที่รูจ้ ักกนั ว่า New normal
ซ่ึงเปน็ รปู แบบการด�ำรงชวี ิตแบบใหม่ท่ีเกดิ ขน้ึ ภายหลงั การเกิดวิกฤต ทีม่ นษุ ยท์ ุกคนมีความ
จ�ำเป็นท่ี ต้องเปล่ียนแปลงและปรับตัวเพ่ือรับมือกับสถานการณ์ปัจจุบันให้สามารถด�ำรงชีวิตอยู่
ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั และเปน็ สขุ โดยรปู แบบวิถชี วี ติ ใหม่ หรอื New normal น้ีเป็นการเปลีย่ นแปลง
รปู แบบของวิธีคดิ วิธีเรยี นรู้ วิธสี ่ิอสาร วิธปี ฎบิ ตั แิ ละวิธจี ดั การ ซ่ึงแตกตา่ งกนั ออกไปภายใต้ความ
รุนแรงของสถานการณ์ระบาดในพ้ืนทีน่ ั้นๆ ซึง่ ส่งผลกระทบในหลายๆดา้ น ทเี่ หน็ ไดช้ ดั เจนใน
ประเทศไทยคอื การทที่ ุกคนใหค้ วามส�ำคัญกับสขุ ภาพและความปลอดภยั เพมิ่ มากขนึ้ มกี ารใช้
หนา้ กากอนามัย การปฎบิ ตั ิตนเพ่อื ป้องกนั การแพรก่ ระจายของเชอ้ื การยอมรบั ระบบติดตามตัว
ผา่ นแอปพลเิ คช่ันทางโทรศพั ท์มือถอื รวมถงึ ยนิ ยอมใหก้ ักตวั (Quarantine) โดยรัฐบาลไดว้ าง
มาตรการในการควบคุมและก�ำกับดูแลให้สถานท่ีท�ำงานและสถานประกอบการทุกแห่งต้อง
ปฎบิ ัตติ ามมาตรการปอ้ งกนั โรคตามที่ราชการก�ำหนด โดยค�ำนงึ ถงึ ความเสีย่ งตอ่ การตดิ โรค การ
แพร่กระจายเชื้อและความปลอดภัยของทุกคนเป็นส�ำคญั

ห้องปฎิบัติการเป็นสถานท่ีท�ำงานท่ี ต้องด�ำเนินการภายใต้มาตรการป้องกันโรคของ
รัฐอยา่ งเคร่งครัด โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ห้องปฎบิ ัตกิ ารทางการแพทยซ์ ่งึ เปน็ หอ้ งปฎบิ ตั ิการท่ีมี
ความเส่ียงสูงอันเเน่ืองมาจากภาระกิจท่ี ต้องด�ำเนินการตรวจวิเคราะห์และทดสอบตัวอย่างท่ีเก็บ
จากผู้ปว่ ยและกลุ่มเสย่ี งจากโรคโควดิ และโรคติดตอ่ ร้ายแรงชนิดอื่นเพือ่ วนิ ิจฉยั โรค ซึ่งห้อง
ปฎบิ ตั ิการทางการแพทย์เหล่าน้ไี ด้รบั การรับรองมาตรฐานทง้ั ในสว่ นของ ISO15189 และ
ISO15190 ทีเ่ ป็นมาตรฐานความปลอดภยั ห้องปฎบิ ตั ิการทางการแพทย์ เพ่ือใหเ้ กดิ ความม่ันใจ
ในความปลอดภัยในการท�ำงานกับเช้ือก่อโรคและลดความเสี่ยงภัยในการท�ำงานกับเช้ือก่อโรค
ตามมาตรฐาน นอกเหนือจากหอ้ งปฎิบตั ิการทางการแพทย์ ประเทศไทยยงั มหี ้องปฎบิ ตั ิการ
ประเภทอ่ืนกวา่ สองหมื่นหอ้ งที่ด�ำเนินการอยู่ในมหาวทิ ยาลยั สถาบนั วิจัย และสถานประกอบ
การท้ังในสว่ นของภาครัฐและเอกชน ซง่ึ ประกอบดว้ ยหอ้ งปฎิบตั กิ ารดา้ นการเรยี นการสอน หอ้ ง
ปฎบิ ตั ิการวิจัยและห้องปฎบิ ัตกิ ารทีใ่ หบ้ รกิ ารวิเคราะห์ตา่ งๆ ซึ่งห้องปฎบิ ตั ิการทุกประเภท
จ�ำเป็นที่จะต้องปรับเปลี่ยนการด�ำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรการของรัฐซึ่งถือเป็นการด�ำเนิน
งานรูปแบบวถิ ีชีวิตใหม่(New normal)ของหอ้ งปฎิบัตกิ ารท่ี ต้องให้ความส�ำคญั กบั สุขภาพ ความ
ปลอดภัยและการลดความเสยี่ งภยั ในการท�ำงานของผปู้ ฎบิ ตั งิ านในห้องปฎบิ ัตกิ ารอย่างเครง่ ครัด
แนวทางในการด�ำเนนิ งานรปู แบบวถิ ีชวี ิตใหม่ (New Normal)ของหอ้ งปฎิบัตกิ าร มปี ระเดน็ ที่
ต้องมกี ารทบทวนและปรับเปล่ียนใน3ประเดน็ หลักดงั นี้

KMUT SAFETY WEEK 2021 49

Safety for all in KMUTT : Next Normal for Covid -19 Pandemic

1.การบริหารจดั การหอ้ งปฎบิ ตั ิการตามรูปแบบวิถีชีวิตใหม่(New normal Labora-
tory Management) เน้นการปรับระบบการจดั การห้องปฎบิ ัติการทเี่ ร่มิ จากนโยบายที่ใหค้ วาม
ส�ำคญั ดา้ นสขุ ภาพและความปลอดภัย การประเมนิ ความเสี่ยงภัยและการจดั การความเส่ยี ง การ
จดั ระบบการคัดกรองและการเฝ้าระวงั ทางสุขภาพ การปรับระเบียบปฎิบตั ใิ นการเขา้ ท�ำงานหอ้ ง
ปฎิบตั ิการใหเ้ ป็นในรูปแบบวถิ ีชีวิตใหม(่ New Normal)การจัดหาอปุ กรณเ์ พื่อความปลอดภัยท่ี
จ�ำเปน็ อย่างเพียงพอและมีประสทิ ธภิ าพ การจัดระบบการท�ำงาน การเหลีอ่ มเวลาท�ำงานและการ
จ�ำกัดคนเขา้ ท�ำงาน การประเมนิ และตรวจสอบระบบการจัดการ

2.การปรับลกั ษณะทางกายภาพของห้องปฎบิ ตั ิการ(Physical Rearrangement)
เป็นการปรับลักษณะทางกายภาพของหอ้ งปฎบิ ัติการให้สอดคล้องกบั มาตรการความปลอดภัย
และรูปแบบวถิ ีชีวิตใหม่ เน้นการใช้ระบบDoor Access และการจ�ำกัดการอนุญาตให้เขา้ พน้ื ท่ี
(Restriction Access) ท่สี อดคล้องกับมาตรการความปลอดภัย การจัดแบ่งโซนการท�ำงานและ
การใชร้ ะบบเว้นระยะห่าง 5ตารางเมตรต่อคน(Zoning & Social Distancing) การประเมิน
ความเสีย่ ง( Risk Assessment)และการจดั การความปลอดภัยโดยใชเ้ คร่อื งหมาย/สญั ญลักษณ/์
การส่ือสารอันตราย การจัดระบบระบายอากาศให้เป็นไปตามมาตรฐาน (Ventilation & Indoor
Air Quality) การตรวจวัด/ตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (Environmental Monitor-
ing) การเตรียมการและจัดระบบการจัดการเหตุฉุกเฉนิ (Emergency Preparedness &
Emergency Response) การประเมินและตรวจสอบลักษณะทางกายภาพเพือ่ ความปลอดภัย
3.การจดั การดา้ นสุขภาพความปลอดภยั (Health & Safety Management)
เปน็ การปรบั การจดั การดา้ นสขุ ภาพความปลอดภยั ของผปู้ ฎบิ ัติงาน ทีเ่ นน้ การประเมนิ ความเส่ียง
ผ้ปู ฎิบตั งิ านรายบคุ คล การตรวจสุขภาพผู้ปฎบิ ตั งิ านทุกหกเดอื นตามอันตรายและความเสยี่ ง
(Medical Checkup) การเฝา้ ระวังทางสขุ ภาพ (Health Surveillance) การฉีดวคั ซนี /ตรวจ
รา่ งกายกรณีท�ำงานเสี่ยงอนั ตราย การประกนั สุขภาพใหผ้ ู้ปฎิบัตงิ าน การจัดระบบห้องปฎิบตั ิ
การใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัย เชน่ ESPReLs Checklist, มอก.2677-2558,
ISO15190 เปน็ ตน้
การน�ำเสนอแนวทางการปรบั เปลี่ยนหอ้ งปฎิบัติการใหเ้ ขา้ สู่รปู แบบวิถีชวี ิตใหม่ (New
Normal)เปน็ แนวทางทท่ี กุ ห้องปฎิบัตกิ ารสามารถน�ำไปปรับใช้ภายใตค้ วามจ�ำเปน็ และความ
พร้อมทีแ่ ตกต่างกันออกไป หัวใจส�ำคญั ในการบริหารจดั การห้องปฎิบัติการยคุ New Normal คอื
การให้ความส�ำคญั กบั สขุ ภาพ ความปลอดภยั และการลดความเสี่ยงภัยในการท�ำงานของผู้ปฎิบตั ิ
งานในหอ้ งปฎบิ ัตกิ ารเปน็ ล�ำดับแรก ซง่ึ ถือเป็นโอกาสดขี องพวกเราท่ี จะได้ร่วมมือกนั พฒั นา
ระบบการจัดการห้องปฎบิ ตั ิการNew Normal ท่ีน�ำไปส่หู ้องปฎิบัติการปลอดภัยเต็มรปู แบบและ
พฒั นาคุณภาพชีวิตที่ดใี ห้กับคนท�ำงานในหอ้ งปฎบิ ัตกิ ารซงึ่ เป็นก�ำลงั ส�ำคญั ของประเทศชาตใิ น
การส้ภู ยั โควดิ เพือ่ ความปลอดภัยของคนไทยทกุ คน

50 KMUT SAFETY WEEK 2021


Click to View FlipBook Version