The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by beforeafter95, 2019-09-17 04:14:56

โครงงานลดขยะในโรงเรียน

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน

โครงงานคอมพวิ เตอร์
เร่ือง สื่อเพอ่ื การศึกษาอาเซียน

โดย ม.6/12
1. นายจณิ ณวตั ร บริหารกิจอนันต์ ม.6/18
2. นายณพงศ์ สุวรรณเชษฐ ม.6/18
3. นางสาวณฏั ฐา โตรักษา

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนประกอบ
ของโครงงานคอมพวิ เตอร์
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 6

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ
สังกดั สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 2

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

โครงงานคอมพวิ เตอร์
เรื่อง สื่อเพอ่ื การศึกษาอาเซียน

โดย ม.6/12
1. นายจณิ ณวตั ร บริหารกจิ อนันต์ ม.6/18
2. นายณพงศ์ สุวรรณเชษฐ ม.6/18
3. นางสาวณัฏฐา โตรักษา

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ
สังกดั สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

ครูที่ปรึกษา
นางสาวปาณิศา เศรษฐศุภกูล

โครงงาน เร่ือง สื่อเพอื่ การศกึ ษาอาเซียน
ประเภทของโครงงาน โครงงานพฒั นาสื่อเพอ่ื การศึกษา
ผู้จดั ทาโครงงาน นายจณิ ณวตั ร บริหารกิจอนนั ต์ ม.6/12
นายณพงศ์ สุวรรณเชษฐ ม.6/18
ปี การศึกษา นางสาวณัฏฐา โตรักษา ม.6/18
2555

บทคดั ย่อ

การจดั ทาโครงงานในคร้ังน้ีมีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื ให้ความรู้แก่ผทู้ ่ีสนใจเก่ียวกบั ประชาคม
อาเซียน โดยสร้างสื่อวดี ีทศั นน์ าเสนอ โดยใชโ้ ปรแกรม Final cut pro ในการตดั ต่อวดี ีทศั น์ โปรแกรม
Motion5 ใชส้ รา้ ง Effect และโปรแกรม Adobe sound booth cs5 ในการบนั ทกึ เสียง

คณะผจู้ ดั ทาไดด้ าเนินงานตามข้นั ตอนท่ีไดว้ างแผนไว้ และไดน้ าเสนอเผยแพร่ผลงานโดย
การนาเสนอส่ือวดี ีทศั น์ในระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต

ผลการจดั ทาโครงงาน พบวา่ การพฒั นาส่ือวีดีทศั น์เพ่อื การศึกษาในเร่ืองประชาคมอาเซียน
ไดเ้ ผยแพร่ความรู้เก่ียวกบั ประชาคมอาเซียนในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ไดร้ ับความสนใจและเป็ น
วดี ีทศั นท์ ่ีมีประโยชน์

กติ ติกรรมประกาศ

โครงงานฉบับน้ีสาเร็จได้ด้วยความกรุณาของคณะผูบ้ ริหารและคณะอาจารย์หมวด
คอมพวิ เตอร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ ซ่ึงไดใ้ หค้ าปรึกษา ขอ้ ช้ีแนะ และความช่วยเหลือ
จนกระทงั่ โครงงานสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี คณะผจู้ ดั ทาขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงมา ณ ที่น้ี

ขอกราบขอบพระคุณ อาจารยท์ ่ีปรึกษา ท่ีใหค้ วามกรุณาในการแกไ้ ข ขอ้ บกพร่องต่างๆ ของ
โครงงาน และใหค้ วามรู้ ใหค้ าแนะนาท้งั ใหก้ าลงั ใจ

ทา้ ยสุดน้ีคณะผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ โครงงานน้ีจะเป็ นประโยชน์ต่อการศกึ ษาและเป็นที่
น่าสนใจสาหรับผทู้ ่ีสนใจต่อๆไป

คณะผจู้ ดั ทา
นายจิณณวตั ร บริหารกิจอนนั ต์ ม.6/12
นายณพงศ์ สุวรรณเชษฐ ม.6/18
นางสาวณฏั ฐา โตรกั ษา ม.6/18

สารบญั

บทคดั ยอ่ …........................................................................................................................... หน้า

กิตตกิ รรมประกาศ…............................................................................................................. ข
สารบญั ..................................................................................................................................
สารบญั ภาพ........................................................................................................................... ค
สารบญั ตาราง........................................................................................................................ ง



บทที่ 1
1
1. บทนา 1
ทมี่ าและความสาคญั ของโครงงาน............................................................................... 2
วตั ถุประสงค.์ ............................................................................................................... 3
4
ขอบเขตของโครงงาน.................................................................................................. 4
แผนการดาเนินงาน...................................................................................................... 8
วิธีการดาเนินงาน......................................................................................................... 11
ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ.....................................................................................................
2. เอกสารท่เี กย่ี วข้อง............................................................................................................................ 11
2.1 ประชาคมอาเซียน.................................................................................................... 11
2.2 การผลิตส่ือวดี ิทศั น์เพอื่ การประชาสมั พนั ธ์.............................................................. 12
3. อุปกรณ์และวธิ ดี าเนินงาน
3.1 ข้นั ตอนการดาเนินการ.............................................................................................
3.2 วธิ ีการเก็บรวบรวมขอ้ มูล.........................................................................................
3.3 อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการพฒั นาโครงงาน........................................................................

บทท่ี หน้า
4. ผลการดาเนินงาน............................................................................................................ 13
5. สรุปผลการดาเนินงาน / ข้อเสนอแนะ............................................................................. 15
15
5.1 การดาเนินงานจดั ทาโครงงาน............................................................................... 15
5.2 สรุปผลการดาเนินงาน.......................................................................................... 15
5.3 ขอ้ เสนอแนะ......................................................................................................... 16
บรรณานุกรม........................................................................................................................ 17
ภาคผนวก..............................................................................................................................

สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หน้า

1 แผนการดาเนินงาน............................................................................................................ 2

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หน้า
1 ภาพผลงานส่ือเพอ่ื การศึกษาอาเซียน ................................................................................. 13

บทที่ 1

บทนา

ที่มาและความสาคญั ของโครงงาน
ในยคุ โลกาภิวฒั น์ในปัจจุบนั น้ีสถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว ประเทศต่าง ๆ

ให้ความสาคญั กบั การรวมตวั กนั ในภูมิภาคเพื่อเพ่มิ อานาจต่อรองและเพ่ิมขีดความสามารถในการ
แขง่ ขนั ระหวา่ งประเทศ อาเซียนจงึ ตอ้ งปรับตวั ให้เท่าทนั สถานการณ์เพ่ือใหส้ ามารถรับมือกบั ความ
เปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ ท่ีเกิดข้นึ ได้

เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ จึงกาหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนข้ึนมาที่ประกอบไปดว้ ย
3 เสาหลกั ไดแ้ ก่ ประชาคมการเมืองความมน่ั คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคม
สงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน ภายในปี 2563 ซ่ึงต่อมาไดเ้ ลื่อนกาหนดเวลาสาหรับการรวมตวั กนั ให้
เร็วข้นึ เป็นปี 2558

ประเทศไทยเป็นหน่ึงในประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน เพอื่ เป็นการเตรียมความพร้อมใน
การกา้ วสู่ประชาคมอาเซียนทส่ี ่งผลต่อดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นการเมือง วฒั นธรรม และ ความมน่ั คง คณะ
ผจู้ ดั ทาเล็งเห็นความสาคญั จงึ สรา้ งโครงงานน้ีข้ึนมา โดยการสร้างวดี ีทศั น์เก่ียวกบั ประชาคมอาเซียน
เพอ่ื เป็นสื่อใหค้ วามรู้แก่ผทู้ ี่สนใจเก่ียวกบั ประชาคมอาเซียนไดเ้ ขา้ ใจและเห็นความสาคญั ของ
ประชาคมอาเซียน

วัตถุประสงค์
1. เพอ่ื เป็นส่ือใหค้ วามรูแ้ ก่ผทู้ ส่ี นใจเก่ียวกบั ประชาคมอาเซียน

ขอบเขตของโครงงาน
สรา้ งส่ือวดี ีทศั น์ เพอ่ื เผยแพร่ความรูเ้ ก่ียวกบั ประชาคมอาเซียน โดยใชโ้ ปรแกรม Final cut pro

ในการตดั ตอ่ วดี ีทศั น์ โปรแกรมMotion5 ใชส้ รา้ ง Effect และโปรแกรม Adobe sound booth cs5 ใน
การบนั ทึกเสียง

แผนการดาเนินงาน
ตารางท่ี 1 แผนการดาเนินงานโครงงาน

ระยะเวลาในการดาเนินงาน

ข้นั ตอนการดาเนินงาน มิถุนายน 2555 กรกฎาคม 2555 สิงหาคม 2555

1.คดิ หวั ขอ้ โครงงานเพอ่ื 12341234123 4
นาเสนออาจารยท์ ป่ี รึกษา

2. ศกึ ษาคน้ ควา้ รวบรวม
ขอ้ มูล ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั
โครงงานในการสร้างส่ือ
วดี ีทศั น์

3. จดั ทาโครงร่างโครงงาน
เสนออาจารยท์ ป่ี รึกษา

4. ศึกษาโปรแกรมต่างๆ
ในการสรา้ งวดี ีทศั น์

5. ออกแบบสร้างสื่อ
วดี ีทศั น์ ตกแต่งใส่เสียง

6. จดั ทาโครงงานสร้าง สื่อ
วดี ีทศั น์ เร่ือง สื่อเพอ่ื
การศึกษาอาเซียน

7. เผยแพร่ผลงานส่ือ
วดี ีทศั น์ผา่ นระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต

8. สรุปรายงานโครงงาน
จดั ทารูปเล่ม

ผลท่คี าดว่าจะได้รับ
1. ผสู้ นใจมีความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ประชาคมอาเซียน
2. ไดร้ บั ความรู้เกี่ยวกบั การสร้างส่ือวดี ีทศั น์
3. ไดน้ าเทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ชไ้ ดอ้ ยา่ งมีคุณคา่ และทาใหเ้ กิดประโยชน์

บทท่ี 2

เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง

ในการจดั ทาโครงงานคอมพวิ เตอร์ พฒั นาส่ือเพื่อการศึกษาอาเซียน ใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั
ประชาคมอาเซียน คณะผจู้ ดั ทาไดศ้ กึ ษาขอ้ มูล เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง ดงั น้ี

2.1 ประชาคมอาเซียน
2.2 การผลิตสื่อวดี ีทศั น์เพอื่ การประชาสมั พนั ธ์

2.1 ประชาคมอาเซียน
สมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (องั กฤษ: Association of South East Asian

Nations) หรือ อาเซียน เป็ นองคก์ รทางภมู ิรฐั ศาสตร์และองคก์ ารความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกท้งั หมด 10 ประเทศไดแ้ ก่ ไทย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์
อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กมั พชู า เวยี ดนาม และพม่า อาเซียนมีพน้ื ที่ราว 4,435,670 ตาราง
กิโลเมตร มีประชากรราว 590 ลา้ นคน ในปี พ.ศ. 2553 จดี ีพขี องประเทศสมาชิกรวมกนั คดิ เป็ นมูลคา่
ราว 1.8 ลา้ นลา้ นดอลล่าร์สหรัฐ คดิ เป็นลาดบั ที่ 9 ของโลกเรียงตามจดี ีพี มีภาษาองั กฤษเป็ นภาษา
ทางการอาเซียนมีจุดเร่ิมตน้ จากสมาคมอาสา ซ่ึงก่อต้งั ข้นึ เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย
มาเลเซีย และฟิลิปปิ นส์ แต่ไดถ้ ูกยกเลิกไปเม่ือไทยเสียดินแดนปราสาทพระวหิ ารใหก้ มั พชู าในปี พ.ศ.
2505 ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 ไดม้ ีการลงนามใน ปฏญิ ญากรุงเทพ อาเซียนไดถ้ ือกาเนิดข้ึนโดยมีรฐั
สมาชิกเริ่มตน้ 5 ประเทศ โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ความร่วมมือในการเพม่ิ อตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจ
การพฒั นาสงั คม วฒั นธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธารงรักษาสนั ตภิ าพและความมนั่ คงใน
ภมู ิภาค และเปิ ดโอกาสใหค้ ลายขอ้ พพิ าทระหวา่ งประเทศสมาชิกอยา่ งสนั ติ หลงั จาก พ.ศ. 2527 เป็ น
ตน้ มา อาเซียนมีรฐั สมาชิกเพม่ิ ข้ึนจนมี 10 ประเทศในปัจจบุ นั กฎบตั รอาเซียนไดม้ ีการลงนามเม่ือ
เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2551 ซ่ึงทาใหอ้ าเซียนมีสถานะคลา้ ยกบั สหภาพยโุ รปมากยง่ิ ข้ึน เขตการคา้ เสรี
อาเซียนไดเ้ ริ่มประกาศใชต้ ้งั แต่ตน้ ปี พ.ศ. 2553 และกาลงั กา้ วสู่ความเป็ นประชาคมอาเซียน ซ่ึงจะ
ประกอบดว้ ยสามดา้ น คอื ประชาคมอาเซียนดา้ นการเมืองและความมน่ั คง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
และประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 สมาคมอาสาและปฏญิ ญากรุงเทพ

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตม้ ีจุดเร่ิมตน้ นับต้งั แต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ.
2504 โดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ไดร้ ่วมกนั จดั ต้งั สมาคมอาสา (ASA, Association of
South East Asia) ข้ึนเพอ่ื การร่วมมือกนั ทาง เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม แตด่ าเนินการไดเ้ พยี ง 2 ปี
ก็ตอ้ งหยดุ ชะงกั ลง เน่ืองจากความผกผนั ทางการเมืองระหวา่ งอินโดนีเซียและมาเลเซีย และการเสีย

ดินแดนปราสาทพระวิหารให้กัมพูชาของไทย จนเมื่ออินโดนีเซียและมาเลเซียฟ้ื นฟูสัมพนั ธภาพ
ระหวา่ งกนั จึงไดม้ ีการแสวงหาลู่ทางจดั ต้งั องคก์ ารความร่วมมือทางเศรษฐกิจข้ึนในภูมิภาค "สมาคม
ประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต"้ และถนดั คอมนั ตร์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ
ของไทยสมยั รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร โดยมีการลงนาม "ปฏิญญากรุงเทพ" ที่พระราชวงั สราญ
รมย์ เม่ือวนั ท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ซ่ึงลงนามโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ
ประเทศสมาชิกก่อต้งั 5 ประเทศ ไดแ้ ก่ อาดมั มาลิกแห่งอินโดนีเซีย, นาร์ซิโซ รามอสแห่งฟิ ลิปปิ นส์,
อบั ดุล ราซคั แห่งมาเลเซีย, เอส. ราชารัตนัมแห่งสิงคโปร์ และถนัด คอมนั ตร์แห่งไทย ซ่ึงถูกพิจารณา
วา่ เป็ นบิดาผูก้ ่อต้งั องคก์ รในปัจจุบนั สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตป้ ระกอบดว้ ย
ประเทศสมาชิกจานวน 10 ประเทศ คิดเป็ นพ้ืนท่ีประมาณ 4.5 ลา้ นตารางกิโลเมตร และมีประชากร
ประมาณ 560 ลา้ นคน (ขอ้ มูลในปี พ.ศ. 2549) ยอดเขาที่สูงสุดในภูมิภาค คือ ยอดเขาข่ากาโบราซีใน
ประเทศสหภาพเมียนมาร์ ซ่ึงมีความสูง 5,881 เมตร และมีอาณาเขตติดต่อกบั จีน อินเดีย บงั กลาเทศ
และประเทศสงั เกตการณ์อาเซียน คือ ปาปัวนิวกินี ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตม้ ีสภาพภูมิอากาศ
แบบร้อนช้ืน อุณหภูมิอยรู่ ะหวา่ ง 27-36 °C พชื พรรณธรรมชาติเป็นป่ าฝนเขตร้อน ซ่ึงมีขนาดใหญ่เป็ น
อนั ดบั ทสี่ องของโลก ป่ าดงดิบ ป่ าเบญจพรรณ ป่ าสน ป่ าหาดทรายชายทะเล ป่ าไมป้ ลูก มีพืชเศรษฐกิจ
ทีส่ าคญั คอื ขา้ ว ขา้ วโพด มนั สาปะหลงั สบั ปะรด ยางพารา ปาลม์ น้ามนั และพริกไทย จากสนธิสญั ญา
ไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ไดม้ ีการสรุปแนวทางของสมาคมประชาชาติแห่ง
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใตไ้ วจ้ านวนหกขอ้ ดงั น้ี ให้ความเคารพแก่เอกราช อานาจอธิปไตย ความเท่า
เทียม บูรณภาพแห่งดินแดนและเอกลกั ษณ์ของชาติสมาชิกท้งั หมด รัฐสมาชิกแต่ละรัฐมีสิทธิท่ีจะ
ปลอดจากการแทรกแซงจากภายนอกการรุกรานดินแดนและการบงั คบั ข่เู ข็ญจะไม่เขา้ ไปยงุ่ เก่ียวกบั
กิจการภายในของรัฐสมาชิกอ่ืน ๆยอมรบั ในความแตกต่างระหว่างกนั หรือแกป้ ัญหาระหวา่ งกนั อยา่ ง
สัน ติ ป ระ ณ า ม หรื อ ไ ม่ ยอ ม รั บ กา ร คุ กค า ม ห รื อ ก า ร ใช้ก า ลังใ ห้ค วา ม ร่ ว มมื อ ร ะ หว่า ง กันอ ย่า ง มี
ประสิทธิภาพ

อาเซียนหรือ สมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (ASEAN : The Association of
South East Asian Nations) ไดก้ ่อต้งั เม่ือวนั ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 โดยประเทศผกู้ ่อต้งั อาเซียน คือ
ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปิ นส์ และสิงคโปร์ ต่อมาในปี พ.ศ.2527 บรูไน ดารุสซาลาม ไดเ้ ขา้ มา
เป็นสมาชิก ตามดว้ ยเวยี ดนามเขา้ มาเป็นสมาชิกเม่ือ พ.ศ. 2538 ขณะท่ีพม่าและลาวเขา้ มาเป็ นสมาชิก
ใน พ.ศ.2540 และประเทศสุดทา้ ยคือกมั พชู า เขา้ เป็ นสมาชิกอาเซียน เม่ือ พ.ศ. 2542 ปัจจบุ นั อาเซียนมี
ประเทศสมาชิกท้งั หมด 10 ประเทศ

1.บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) 1.บรูไนดารุสาลาม ประเทศบรูไน มีชื่อเป็น
ทางการวา่ "เนการาบรูไนดารุสซาลาม" มีเมือง "บนั ดาร์เสรีเบกาวนั " เป็นเมืองหลวง ถือเป็นประเทศที่
มีขนาดไม่ใหญน่ กั เพราะมีพน้ื ทป่ี ระมาณ 5,765 ตารางกิโลเมตร ปกครองดว้ ยระบบสมบรู ณาญาสิทธิ

ราช โดยมีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมุข มีประชากร 381,371 คน (ขอ้ มูลปี พ.ศ.2550) โดยประชากร
เกือบ 70% นบั ถือศาสนาอิสลาม และใชภ้ าษามาเลยเ์ ป็นภาษาราชการ

2.ราชอาณาจกั รกมั พูชา (Kingdom of Cambodia) เมืองหลวงคือ กรุงพนมเปญ เป็ น
ประเทศที่มีอาณาเขตติดต่อกบั ประเทศไทยทางทิศเหนือ และทิศตะวนั ตก มีพ้นื ท่ี 181,035 ตาราง
กิโลเมตร หรือขนาดประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย มีประชากร 14 ลา้ นคน (ขอ้ มูลปี พ.ศ.2550)
โดยประชากรกว่า 80% อาศยั อยใู่ นชนบท 95% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ใชภ้ าษาเขมรเป็ น
ภาษาราชการ แต่ก็มีหลายคนท่พี ดู ภาษาองั กฤษ ฝรงั่ เศส และเวยี ดนามได้

3.สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) เมืองหลวงคือ จาการ์ตา ถือเป็ นประเทศ
หมู่เกาะขนาดใหญ่ท่ีสุดในโลก โดยมีพ้ืนท่ี 1,919,440 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากถึง 240
ลา้ นคน (ขอ้ มูลปี พ.ศ.2553) โดย 61% อาศยั อยบู่ นเกาะชวา ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาอิสลาม และใช้
ภาษา Bahasa Indonesia เป็นภาษาราชการ

4.สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) (The Lao People's Democratic
Republic of Lao PDR) เมืองหลวงคือ เวยี งจนั ทน์ ตดิ ต่อกบั ประเทศไทยทางทิศตะวนั ตก โดยประเทศ
ลาวมีพ้ืนที่ประมาณคร่ึงหน่ึงของประเทศไทย คือ 236,800 ตารางกิโลเมตร พ้ืนที่กวา่ 90% เป็ นภูเขา
และท่ีราบสูง และไม่มีพน้ื ท่สี ่วนใดติดทะเล ปัจจุบนั ปกครองดว้ ยระบอบสังคมนิยม โดยมีประชากร
6.4 ลา้ นคน ใชภ้ าษาลาวเป็ นภาษาหลกั แต่ก็มีคนที่พูดภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และภาษาฝรั่งเศสได้
ประชากรส่วนใหญน่ บั ถือศาสนาพทุ ธ

5.ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) เมืองหลวงคือ กรุงกวั ลาลมั เปอร์ เป็ นประเทศท่ีต้งั อยใู่ น
เขตศูนยส์ ูตร แบ่งเป็ นมาเลเซียตะวนั ตกบคาบสมุทรมลายู และมาเลเซียตะวนั ออก ต้งั อย่บู นเกาะ
บอร์เนียว ท้งั ประเทศมีพ้ืนที่ 329,758 ตารางกิโลเมตร จานวนประชากร 26.24 ลา้ นคน นับถือศาสนา
อิสลามเป็นศาสนาประจาชาติ ใชภ้ าษา Bahasa Melayu เป็นภาษาราชการ

6.สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of the Philippines) เมืองหลวงคือ กรุงมะนิลา
ประกอบดว้ ยเกาะขนาดตา่ ง ๆ รวม 7,107 เกาะ โดยมีพน้ื ทีด่ ิน 298.170 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 92
ลา้ นคน (ขอ้ มูลปี พ.ศ.2553) ส่วนใหญน่ บั ถือศาสนาคริสต์ และเป็นประเทศทมี่ ีประชากรนบั ถือศาสนา
คริสตน์ ิกายโรมนั คาทอลิกเป็ นอนั ดบั 4 ของโลก มีการใชภ้ าษาในประเทศมากถึง 170 ภาษา แต่ใช้
ภาษาองั กฤษ และภาษาตากาลอก เป็นภาษาราชการ

7.สาธารณรัฐสิงคโปร์ ( The Republic of Singapore) เมืองหลวงคือ กรุงสิงคโปร์ ต้งั อยบู่ น
ตาแหน่งยุทธศาสตร์ท่ีเป็ นศูนยก์ ลางคมนาคมทางเรือของอาเซียน จึงเป็ นประเทศท่ีมีการพฒั นา
ทางดา้ นเศรษฐกิจมากท่ีสุดในยา่ นน้ี แมจ้ ะมีพ้ืนท่ีราว 699 ตารางกิโลเมตรเท่าน้ัน มีประชากร 4.48
ล้านคน ใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาทางการ แต่มีภาษามาเลยเ์ ป็ นภาษาประจาชาติ ปัจจุบันใช้การ
ปกครองแบบสาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรฐั สภา มีสภาเดียว)

8.ราชอาณาจกั รไทย (Kingdom of Thailand) เมืองหลวงคือกรุงเทพมหานคร มีพ้ืนท่ี
513,115.02 ตารางกิโลเมตร ประกอบดว้ ย 77 จงั หวดั มีประชากร 65.4 ลา้ นคน (ขอ้ มูลปี พ.ศ.2553)
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และใชภ้ าษาไทยเป็ นภาษาราชการ ปกครองดว้ ยระบอบประชาธิปไตย
โดยมีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นองคป์ ระมุขของประเทศ

9.สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) เมืองหลวงคือ
กรุงฮานอย มีพน้ื ท่ี 331,689 ตารางกิโลเมตร จากการสารวจถึงเมื่อปี พ.ศ.2553 มีประชากรประมาณ 88
ลา้ นคน ประมาณ 25% อาศยั อยใู่ นเขตเมือง ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 นบั ถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ท่ี
เหลือนบั ถือศาสนาคริสต์ ปัจจบุ นั ปกครองดว้ ยระบอบสงั คมนิยมคอมมิวนิสต์

10.สหภาพพม่า (Union of Myanmar) มีเมืองหลวงคือ เนปิ ดอว ติดต่อกบั ประเทศไทยทาง
ทิศตะวนั ออก โดยท้งั ประเทศมีพ้นื ที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ลา้ นคน กว่า
90% นบั ถือศาสนาพทุ ธนิกายเถรวาท หรือหินยาน และใชภ้ าษาพม่าเป็ นภาษาราชการ

วัตถปุ ระสงค์ในการก่อต้ังประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน ก่อต้งั ข้ึนโดยมีวตั ถุประสงค์เร่ิมแรกเพ่ือสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชีย

ตะวนั ออกเฉียงใต้ อนั นามาซ่ึงเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญกา้ วหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม
และวฒั นธรรม และเมื่อการค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกนั การค้ารุนแรงข้ึน ทาให้
อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการคา้ ระหว่างกันมากข้ึน
วตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีกาหนดไวใ้ นปฏญิ ญาอาเซียน (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดงั น้ี

1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความกา้ วหนา้ ทางสงั คมและวฒั นธรรม
2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สนั ติภาพและความมนั่ คงของภูมิภาค
3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม วชิ าการ วทิ ยาศาสตร์

และดา้ นการบริหาร
4. ส่งเสริมความร่วมมือซ่ึงกนั และกนั ในการฝึกอบรมและการวจิ ยั
5. ส่งเสริมความร่วมมือในดา้ นเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การคา้ การคมนาคม

การส่ือสาร และปรับปรุงมาตรฐานการดารงชีวติ
6. ส่งเสริมการมีหลกั สูตรการศกึ ษาเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
7. ส่งเสริมความร่วมมือกบั องคก์ รระดบั ภมู ิภาคและองคก์ รระหวา่ งประเทศ

2.2 การผลิตส่ือวดี ที ัศน์เพอ่ื การประชาสัมพนั ธ์

ส่ือที่นิยมใชใ้ นงานประชาสมั พนั ธม์ ากกวา่ สื่ออ่ืนใด ในปัจจบุ นั น้ีก็คือ สื่อวดี ีทศั น์ วดี ีทศั น์ หรือ
วดิ ีโอ (Video) เป็ นการนาเอาโทรทศั น์ (Television) หรือเน้ือหาทางวิชาการ นโยบาย การประมวล
กิจกรรมการดาเนินงาน มาจดั ทาเป็ นรายการส้นั ๆ ใชเ้ ป็ นสื่อเพ่ือการนาเสนอ การอธิบาย การสอน
หรือเพ่ือจุดประสงคใ์ ดจุดประสงคห์ น่ึงตามความตอ้ งการของผผู้ ลิต วีดีทศั น์เป็ นผลผลิตท่ีเกิดจาก
กระบวนการทางานอยา่ งมีระบบของคณะทางาน ซ่ึงจะเรียกเป็ นผผู้ ลิต หน่วยผลิต ฝ่ ายผลิต หรือบริษทั
ผลิตรายการ (Prodution House) เพื่อใหไ้ ดม้ าซ่ึงงานวีดีทศั น์ ตามความประสงคข์ องงานหรือองคก์ ร
กระบวนการดงั กล่าวเรียกเป็นกระบวนการผลิตรายการซ่ึงมีเทคนิคข้นั ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี

1. การวางแผนการผลิต (Planning)
ในข้นั ตอนน้ีเป็ นการระดมความคิด ความเขา้ ใจของผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ งท้งั หมด ต้งั แต่ผูผ้ ลิตรายการ
ฝ่ ายเทคนิค ฝ่ายเน้ือหา ผอู้ อกแบบฉากเวที และผทู้ ่ีมีส่วนเกี่ยวขอ้ ง ประชุมปรึกษาถึงประเด็นการผลิต
รายการวา่ จะผลิตใหใ้ ครดู หมายถึง กลุ่มเป้ าหมายหรือผดู้ ู ผชู้ ม และในการผลิตรายการน้นั จะแสดงถึง
อะไรบา้ ง จะให้ผชู้ มไดร้ ู้ ไดเ้ ห็นเก่ียวกบั อะไร ประเด็นสุดทา้ ยในการวางแผนก็คือ ผลิตรายการออก
มาแลว้ คาดหวงั ผลอยา่ งไร หรือเพอื่ จุดประสงคอ์ ะไรบา้ ง
2. การเขียนบท (Script)
บทโทรทศั น์ หรือ บทวีดีทศั น์ เป็ นการนาเอาเน้ือหาเร่ืองราวที่มีอยูห่ รือจินตนาการข้ึนมา เพ่ือ
การนาเสนอใหผ้ ดู้ ู ผชู้ ม ไดร้ บั รูอ้ ยา่ งพอใจ ประทบั ใจ ผเู้ ขียนบทวีดีทศั น์ (Script Writer) จึงจาเป็ นตอ้ ง
มีความรอบรู้ในศาสตร์และศลิ ป์ ดา้ นตา่ ง ๆ มีความเขา้ ใจในธรรมชาติการรับรู้ของมนุษย์ ความศรัทธา
สิ่งละอนั พนั ละนอ้ ย ท่ีจะไปทาใหก้ ระทบกระทงั่ หรือกระทาในสิ่งท่ีผดิ ไปจากท่ีสงั คมยอมรับ บทวีดี
ทศั นค์ วรจะมีการใชภ้ าษาทส่ี ละสลวย ชวนอ่าน ชวนฟัง มีการเกริ่นนา การดาเนินเร่ืองและบทสรุปท่ี
กระชบั สอดคลอ้ งกนั รู้จกั สอดแทรกมุขตลกเกร็ดความรู้ หรือเทคนิคแปลก ๆ มีลีลาท่ีน่าสนใจ เพ่อื
เป็ นสีสันของเรื่องราว การเขียนบทวีดีทศั น์จะมีท้งั การร่างบทวดี ีทศั น์และการเขียนบทวดี ีทศั น์ฉบบั
สมบูรณ์ ร่างบทโทรทศั น์เป็ นการวางโครงเรื่อง (Plot) ของรายการแต่ละรายการ ปกติจะแบ่งเป็ น 3
ข้นั ตอน คือ การเกร่ินนา (Introduction) เน้ือเร่ืองหรือตวั เรื่อง (Body) และการสรุปหรือการส่งทา้ ย
(Conclusion) การเขยี นร่างบทจะเป็ นการกาหนดเร่ืองราวทน่ี าเสนอ นาเอาแก่นของเร่ือง (Theme) หรือ
ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องมาคลี่คลาย มาขยายใหเ้ ห็นอยา่ งเป็ นข้นั ตอน มีการสอดแทรก
อารมณ์ มีการหกั มุม สร้างความฉงน นาเรื่องราวไปสู่จุดสุดยอด (Climax) ให้ไดด้ ีท่ีสุดร่างบทวีดิทศั น์

เขียนเป็ นความเรียง ท่ีใช้ภาษาสละสลวย ทันสมัย สอดแทรกสาระ เกร็ดความรู้และสร้างความ
ประทบั ใจ อาลยั อาวรณ์ ในท่สี ุด บทวดี ีทศั น์ฉบบั สมบูรณ์ (Full Script) หรือเรียกเป็ นบทสาหรับถ่าย
ทา (Shooting Script) เป็ นการนาเอาร่างบทมาขยายอยา่ งละเอียด ในลกั ษณะของการถ่ายทา ซ่ึงจะมี
ลกั ษณะของภาพขนาดของภาพ กาหนดกลอ้ งและการแสดงของผูแ้ สดง หรือ เหตุการณ์น้ัน อย่าง

สมจริงคณะทางาน หรือผผู้ ลิตรายการจะยดึ การปฏิบตั ิงานตามบทวีดีทศั น์น้ี แต่ลกั ษณะท่ีเป็ นจริงบท
วดี ีทศั น์อาจจะมีการปรบั เปล่ียนบทบา้ ง ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์น้นั

3. การเตรียมวสั ดุอุปกรณ์ (Preparation)
ในการเตรียมเพอื่ การผลิตรายการน้นั คณะทางานจะเตรียมทุกสิ่งทุกอยา่ งท่ีมีส่วนเอ้ืออานวยต่อ
การทางาน เครื่องมือ อุปกรณ์ ในการถ่ายทา เตรียมสถานท่ี เตรียมบุคลากรที่เกี่ยวขอ้ งซ่ึงพร้อมที่จะ
ทางานไดท้ ันทีในกรณีที่ มีการเสริมแต่ง หรือแก้ไขปัญหาการถ่ายทา เพราะความไม่พร้อมของ
เร่ืองราวเหตกุ ารณ์และสถานที่ยง่ิ ตอ้ งมีการเตรียมสิ่งต่าง ๆ เพอ่ื จาลองสถานการณ์ให้สมจริง เท่าท่ีจะ
ทาไดใ้ หด้ ีท่สี ุด

4. การบนั ทกึ (Recording)
กระบวนการถ่ายทา จะดาเนินไปตามแผนท่ีไดว้ างไว้ และถ่ายทาตามบท โดยมุ่งให้ไดภ้ าพตรง
ตามความตอ้ งการมากท่ีสุด อาจจะถ่ายทาหลาย ๆ คร้ัง ในฉากใดฉากหน่ึง เพ่ือมาคดั เลือกหาภาพท่ีดี
ในตอนจะตดั ตอ่ อีกคร้ังหน่ึง ในการบนั ทึกแบ่งเป็ น บนั ทึกภาพและบนั ทึกเสียงซ่ึงการบนั ทึกภาพน้ัน
จะไดท้ ้งั ภาพท้งั เสียงอยแู่ ลว้ เมื่อตดั ต่อสามารถเลือกไดว้ า่ ช่วงไหนจะใชแ้ ต่ภาพ หรือใชท้ ้งั ภาพและ
เสียง การบนั ทึกภาพ บนั ทึกหรือถ่ายทาตามสภาพความเป็ นจริง และความจาเป็ นก่อนหลัง ไม่
จาเป็นตอ้ งเรียงฉาก ตามบทวีดีทศั น์ (Script) ในการบนั ทึกเสียง จะบนั ทึกท้งั เสียงเหตุการณ์จริง เสียง
สมั ภาษณ์ เสียงสนทนา เสียงบรรยาย เสียงเพลงประกอบ และเสียงเหตุการณ์หรือเสียงท่ีนามาใชเ้ ป็ น
เอฟเฟค (Sound Effect) ให้เร่ืองราวน่าสนใจซ่ึงกระบวนการเก่ียวกบั เรื่องเสียง จะมีการผสมเสียงอีก
คร้งั หน่ึง ในกระบวนการตดั ต่อภาพและเสียง
ขอ้ สาคญั ในการทาความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ส่ือวดี ีทศั น์ในการผลิตสื่อวดี ีทศั น์เพอื่ จุดมุ่งหมาย
ใด ๆ ก็ตาม คณะทางานควรจะมีความรู้ความเขา้ ใจในเน้ืองาน นโยบายและกิจกรรมขององค์กร
พ้ืนฐานของงานโทรทศั น์ หรือ การทาวีดีทศั น์ไวบ้ า้ ง เพื่อการสร้างงาน การคิดสร้างสรรค์ จะได้
หลากหลาย น่าสนใจ และที่สาคญั จะช่วยให้งานดาเนินไปไดอ้ ยา่ งราบร่ืน บรรลุเป้ าหมายไดด้ ียงิ่ ข้ึน
ส่ิงท่ีควรรู้ ควรเขา้ ใจมีมากมาย อาทิ อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการผลิต เทคนิคกลอ้ ง ชนิดของภาพ การลาดบั
ภาพและตดั ตอ่ ภาพ การนาเสียงมาใชใ้ นงานวดี ีทศั น์ตลอดจนการใชก้ ราฟิกคอมพวิ เตอร์

ข้อควรจาในการประชาสัมพนั ธ์ด้วยสื่อวดี ีทัศน์
เป็ นที่ทราบกันดีแล้วว่า สื่อวีดีทัศน์ เป็ นส่ือท่ีมีความพร้อมในลักษณะของมัลติมีเดีย

(Multimedia) ซ่ึงได้รวบรวมเอาความโดดเด่นของรูปแบบ และแนวทางการนาเสนอท่ีสมบูรณ์

ครบถ้วนไวท้ ้งั ภาพเคล่ือนไหว เสียงประกอบ คอมพิวเตอร์กราฟิ ก และเทคนิคพิเศษอีกมากมาย
หน่วยงานหรือองค์กรใด จะผลิตสื่อวีดีทศั น์เพื่อใช้ในการประชาสัมพนั ธ์ นอกจากจะเข้าใจถึง
คุณสมบตั ทิ น่ี ่าสนใจดงั กล่าวแลว้ ควรพจิ ารณาถึงประเดน็ เร่ืองราวต่าง ๆ เช่น

• จะผลิตสื่อวดี ีทศั น์ สาหรับกลุ่มเป้ าหมายใด การผลิตวีดีทศั น์ ควรเลือกใหเ้ หมาะกบั กลุ่มผูด้ ู
ผชู้ ม เพราะเน้ือหาเรื่องราว จะมีความเขม้ ขน้ หรือละเอียดลึกซ้ึงแตกตา่ งกนั

• การผลิตส่ือวีดีทศั น์ตอ้ งการแสดงถึงเน้ือหาสาระมากน้อยแค่ไหน ประเด็นของเรื่องราวหรือ
แก่นแท้ (Theme) จะแสดงถึงอะไรบา้ ง

• การผลิตสื่อประชาสมั พนั ธน์ ้ี คาดหวงั ผลอะไรบา้ ง ถา้ หากรู้ถึงวตั ถุประสงคห์ รือความคาดหวงั
ถึงผลท่ีไดจ้ ากสื่อทผ่ี ลิต จะช่วยใหเ้ น้ือหาเร่ืองราวในวดี ีทศั นต์ รงประเดน็ ไดม้ ากข้ึน

• ในกระบวนการผลิตวีดีทศั น์ได้มีการประสานงานกบั บุคลากรระดับสูงผูบ้ งั คบั บญั ชา หรือ
ผเู้ ก่ียวขอ้ งมากนอ้ ยเพยี งใดเพอื่ ความเขา้ ใจในเร่ืองราวเพอื่ ความถูกตอ้ งและการประสานสมั พนั ธ์ที่ดีใน
การทางาน

• ผผู้ ลิตควรเขา้ ใจถึงประเด็นในการทาวีดีทศั น์ ถึงความเหมาะสมของเรื่องราวความโดดเด่น
หรือความน่าจะเป็ นของการเลือกสิ่งท่ีนาเสนอ ท้งั บุคลากร สถานท่ีกิจกรรมหรือเหตุการณ์ตลอดจน
ขอ้ มูลตา่ งๆ พยายามหามุมมองท่มี ีคุณค่า เลือกสิ่งท่นี ่าสนใจออกมานาเสนอซ่ึงบางคร้ังอาจมีการเสริม
แตง่ บา้ งก็ควรตอ้ งเลือก ตอ้ งพยายาม เพอ่ื ใหไ้ ดส้ ่ือวดี ีทศั น์ทนี่ ่าสนใจ

• คณะทางานควรเปิ ดใจกวา้ ง ในการวพิ ากษแ์ ละตรวจทานผลงาน เพือ่ จะไดป้ รับปรุงและสรรค์
สรา้ งงานใหม้ ีประสิทธิภาพ

บทที่ 3
อุปกรณ์และวธิ ีการดาเนินการ

การจดั ทาโครงงานคอมพวิ เตอร์ ส่ือเพอ่ื การศกึ ษาอาเซียน คณะผจู้ ดั ทาโครงงานมีวธิ ีการ
ดาเนินงานโครงงาน ตามข้นั ตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี
3.1 ข้นั ตอนการดาเนนิ การ

1. คิดหวั ขอ้ โครงงานเพอื่ นาเสนออาจารยท์ ี่ปรึกษา
2. ศึกษาคน้ ควา้ รวบรวมขอ้ มูล ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั โครงงานในการสร้างส่ือวดี ีทศั น์
3. ศึกษาโปรแกรม Adobe audition ในการสรา้ ง
4. จดั ทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารยท์ ปี่ รึกษา
5. ออกแบบส่ือวดี ีทศั น์
6. จดั ทาโครงงานสรา้ ง ส่ือวดี ีทศั น์ เร่ือง สื่อเพอื่ การศึกษาอาเซียน
7. เผยแพร่ผลงานโดยการนาเสนอผา่ นส่ือวดี ีทศั น์
8. ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน

3.2 วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
1. ศึกษา เร่ือง ประชาคมอาเซียน
2. ศึกษา เร่ือง การทางานของตวั โปรแกรมต่างๆ ไดแ้ ก่
- โปรแกรม Final cut pro
- โปรแกรม Motion 5
- โปรแกรม Adobe sound booth cs5

3.3 วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมท่ีใช้ในการพัฒนาโครงงาน

1. เครื่องคอมพวิ เตอร์พร้อมเชื่อมตอ่ ระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต
2. ซอฟตแ์ วร์

- โปรแกรม Final cut pro
- โปรแกรม Motion 5
- โปรแกรม Adobe sound booth cs5

บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน

การจดั ทาโครงงานคอมพวิ เตอร์พฒั นาส่ือเพอื่ การศึกษา เรื่อง สื่อเพอ่ื การศกึ ษาอาเซียน
เน้ือหาเก่ียวกบั ประชาคมอาเซียน มีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกบั ประชาคมอาเซียน
มีผลการดาเนินงานโครงงาน ดงั น้ี

4.1 ผลการพฒั นาโรงงาน
การพฒั นาโครงงาน ส่ือเพอื่ การศึกษาอาเซียน เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกบั ประชาคมอาเซียน

ที่ประเทศไทยได้เขา้ ร่วม และจะก้าวสู่ประชาคมอาเซียนในพุทธศกั ราช 2558 น้ี คณะผูจ้ ดั ทาได้
ดาเนินงานตามข้นั ตอนการดาเนินงานทไี่ ดว้ างแผนไว้ และไดน้ าเสนอเผยแพร่ผลงานผา่ นทางเครือข่าย
ระบบอินเทอร์เน็ต www.youtube.com ท่สี ามารถเขา้ ถึงไดท้ ุกเวลาและทุกสถานท่ี เป็ นแหล่งเรียนรู้ใน
โลกออนไลน์และรวดเร็วในการรบั ขอ้ มูล

4.2 ตวั อย่างผลงาน

ภาพท่ี 1 ภาพผลงานส่ือเพอื่ การศึกษาอาเซียน



บทท่ี 5

สรุปผลการดาเนินงาน / ข้อเสนอแนะ

การจดั ทาโครงงานคอมพวิ เตอร์ สื่อเพอ่ื การศกึ ษาอาเซียน สามารถสรุปผลการดาเนินงาน
โครงงานและขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี
5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน

5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.เพอ่ื ใหค้ วามรู้แก่ผทู้ ่สี นใจเก่ียวกบั ประชาคมอาเซียน

5.1.2 วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือหรือโปรแกรมทใ่ี ช้ในการพฒั นาโครงงาน
1. เครื่องคอมพวิ เตอร์พรอ้ มเชื่อมตอ่ ระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต
2. ซอฟตแ์ วร์
- โปรแกรม Final cut pro
- โปรแกรม Motion 5
- โปรแกรม Adobe sound booth cs5

5.2 สรุปผลการดาเนนิ งานโครงงาน
การดาเนินงานโครงงานน้ีบรรลุวตั ถุประสงคท์ ไ่ี ดก้ าหนดไว้ คอื เพอื่ เป็นส่ือใหค้ วามรู้แก่ผทู้ ่ี

สนใจเก่ียวกบั ประชาคมอาเซียน ส่ือเพอ่ื การศึกษาอาเซียน เป็นสื่อวดี ีทศั น์นาเสนอผา่ นระบบเครือขา่ ย
อินเทอร์เน็ต www.youtupe.com ทม่ี ีท้งั ภาพและเสียงสรา้ งความสนใจช่วยพฒั นาใหค้ วามรู้ของผชู้ ม
มีความเขา้ ใจ เห็นความสาคญั ของประชาคมอาเซียนทจี่ ะเขา้ มามีบทบาทในประเทศไทย สื่อวดี ีทศั น์
เพอ่ื การศึกษาอาเซียน จงึ เป็นสื่อที่มีประโยชน์ เป็ นการนาซอฟตแ์ วร์มาพฒั นาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์

5.3 ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการจดั ทาเน้ือหาของโครงงานใหห้ ลากหลายและมีเน้ือหาที่ออกมาหลายๆรูปแบบ

บรรณานุกรม

การผลติ ส่ือวดี ีทศั น์เพอ่ื การประชาสัมพนั ธ์.สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 19 สิงหาคม 2555 จากเวบ็ ไซต์:

http://www.moe.go.th/webhr/index.php?option=com_content&view=article&id=102:videof
orpr&catid=35:prkm&Itemid=37

ประชาคมอาเซียน.สืบคน้ เม่ือ วนั ท่ี 19 สิงหาคม 2555 จากเวบ็ ไซต:์ http://th.wikipedia.org/wiki/

สมาคมประชาชาติเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
รู้จัก ประเทศอาเซียน ก่อนก้าวสู่ ประชาคมอาเซียน 2558.สืบคน้ เม่ือ วนั ที่ 14 มิถุนายน 2555

จากเวบ็ ไซต:์ http://hilight.kapook.com/view/67028

ภาคผนวก

ประวตั ผิ ู้จดั ทาโครงงาน

นายจณิ ณวตั ร บริหารกิจอนนั ต์ เกิดวนั ท่ี 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2538 ท่จี งั หวดั กรุงเทพฯ
จบการศึกษาระดับช้นั ประถมจากโรงเรียน สารสาสน์วิเทศร่มเกลา้ จบการศึกษาช้นั มธั ยมศึกษา
ตอนต้นจาก โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ ในปัจจุบนั กาลังศึกษาอยู่ที่โรงเรียน เตรียม
อุดมศึกษาพฒั นาการ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 6

นายณพงศ์ สุวรรณเชษฐ เกิดวนั ท่ี 10 เมษายน 2538 ท่ีจงั หวดั กรุงเทพฯจบการศึกษา
ระดบั ช้นั ประถมจากโรงเรียน อนุบาลพบิ ูลเวศม์ จบการศึกษาช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จาก โรงเรียน
เตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ ในปัจจุบนั กาลงั ศึกษาอยู่ที่โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ ช้ัน
มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6

นางสาว ณัฏฐา โตรักษา เกิดวนั ที่ 21 มิถุนายน 2538 ที่จงั หวดั กรุงเทพฯจบการศึกษา
ระดับช้นั ประถมจากโรงเรียน กฤตศิลป์ วิทยา จบการศึกษาช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน้ จาก โรงเรียน
เตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ ในปัจจุบันกาลงั ศึกษาอยู่ท่ีโรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ ช้ัน
มธั ยมศึกษาปี ที่ 6






Click to View FlipBook Version