The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิวัฒนาการของกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 ถึง 2

ม.3.1

รายงานวิวัฒนาการกรุงรัตนโกสินทร์
ในรัชกาลท่ี 1 และ รชั กาลท่ี 2

1.เดก็ หญิงธญั ภสั โดย เลขท่ี 11
2.เดก็ หญงิ นภสร ศรีประเสริฐ เลขท่ี 12
3.เด็กหญิงนัสราพร เอีย่ มสงวนจติ ต์ เลขท่ี 13
4.เด็กหญิงปพิชญา มาสวนชิ เลขท่ี 16
5.เดก็ หญงิ เปมิกา จริ กาญจน์ไพศาล เลขท่ี 21
6.เด็กหญิงพริมาภา บณุ ยศรสี วสั ดิ์ เลขท่ี 22
บรู ณากาญจน์

รายงานนเี้ ปน็ ส่วนหน่ึงของรายวิชาท23102 ภาษาไทย 6
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3.1 ปกี ารศึกษา 2563
โรงเรยี นสตรวี ทิ ยา

รายงานวิวฒั นาการกรุงรัตนโกสินทร์
ในรชั กาลที่ 1 และ รัชกาลท่ี 2

1.เด็กหญงิ ธัญภัส โดย เลขท่ี 11
2.เด็กหญงิ นภสร ศรีประเสริฐ เลขที่ 12
3.เด็กหญิงนสั ราพร เอยี่ มสงวนจติ ต์ เลขท่ี 13
4.เดก็ หญิงปพิชญา มาสวนชิ เลขท่ี 16
5.เดก็ หญงิ เปมิกา จริ กาญจน์ไพศาล เลขที่ 21
6.เด็กหญงิ พริมาภา บุณยศรสี วสั ด์ิ เลขท่ี 22
บรู ณากาญจน์

ครทู ป่ี รึกษา
อ.ธญั วทิ ย์ แสงขามป้อม



คานา

รายงานเล่มน้ีจัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา ท 23101 ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี3.1
เพือ่ ให้ไดศ้ กึ ษาหาความรูใ้ นเร่ือง วิวัฒนาการของกรุงรัตนโกสินทรร์ ชั กาลท่ี 1 และ รชั การท่ี 2 ซ่ึงรายงานนี้
มีเนื้อหาเก่ียวกับประวัติของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่1 และ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั รัชกาลที่2 รวมไปถงึ พฒั นาการด้านตา่ งๆในรัชสมัยนน้ั

ผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน ท่ีกาลังศึกษาหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมี
ข้อแนะนาหรอื ขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผ้จู ดั ทาขอน้อมรบั ไว้และขออภยั มา ณ ท่ีนี้ดว้ ย

คณะผูจ้ ัดทา
6 ม.ค. 2564

สารบัญ ข

เร่อื ง หนา้

- ประวตั ริ ชั กาลท่ี 1 1
- ด้านสังคม 2-3
- ด้านเศรษฐกจิ 4-6
- ด้านศาสนา 7-8
- ดา้ นการเมอื งการปกครอง 9-10
- ด้านการศกึ ษา 11-12
13
- ประวัติรัชกาลที่ 2 14-15
- ดา้ นการปกครอง 16-17
- ดา้ นเศรษฐกจิ 18-19
- ด้านสังคมและวัฒนธรรม 20
- ด้านประติมากรรม 21
- ด้านดนตรี 22-25
- ด้านศลิ ปกรรม 26
- ด้านการศกึ ษา 27

บรรณานกุ รม



สารบัญภาพ

ภาพที่ 1 ภาพพระบาทสมเด็จพระปรโมรรุ าชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลก หน้า 2

ภาพที่ 2 ภาพพระบาทสมเดจ็ พระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสนุ ทร พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั หนา้ 2

ภาพที่ 3 ภาพขุนนาง หน้า 3

ภาพที่ 4 ภาพไพร่ หน้า 3

ภาพที่ 5 ภาพทาส หนา้ 4

ภาพที่ 6 ภาพเคร่ืองแก้ว หน้า 5

ภาพท่ี 7 ภาพเงินโสฬส หนา้ 6

ภาพท่ี 8 ภาพเรือสาเภา หน้า 7

ภาพท่ี 9 ภาพเงนิ พดด้วง หนา้ 7

ภาพที่ 10 ภาพพระแก้วมรกต หนา้ 8

ภาพที่ 11 ภาพวดั พระแกว้ หน้า 8

ภาพที่ 12 ภาพวนั สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ หน้า 10

ภาพที่ 13 ภาพพระบาทสมเด็จพระปรโมรรุ าชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก หนา้ 10

ภาพที่ 14 ภาพสงครามเก้าทัพ หนา้ 10

ภาพท่ี 15 ภาพกฎหมายตราสามดวง หน้า 11

ภาพท่ี 16 ภาพกฎหมายตราสามดวง หน้า 12

ภาพท่ี 17 ภาพโรงเรียนวดั สมัยรัตนโกสนิ ทร์ หนา้ 12



ภาพที่ 18 ภาพเด็กเพศชายท่ีกาลังเรยี นหนังสือ หน้า 12

ภาพท่ี 19 ภาพพระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสนุ ทร พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย หนา้ 14

ภาพที่ 20 ภาพบา้ นเมืองสมัยยคุ รัตนโกสินทร์ หน้า 15

ภาพท่ี 21 ภาพแรงงานไพร่ หนา้ 16

ภาพท่ี 22 ภาพวกิ กฤตการณ์ในรชั กาลท่ี2 หนา้ 17

ภาพท่ี 23 ภาพการคา้ ขายในรชั กาลท2่ี หนา้ 17

ภาพที่ 24 ภาพวฒั นธรรมและการแบ่งชนช้ันของกษัตริย์ หน้า 19

ภาพที่ 25 ภาพภาพผังเมืองในรัชกาลที่2 หนา้ 19

ภาพท่ี 26 ภาพพระพุทธธรรมมศิ รราชโลกธาตดุ ลิ ก หนา้ 20

ภาพที่ 27 ภาพการบรรเลงเพลงบหุ ลนั ลอยเลอ่ื น หนา้ 21

ภาพที่ 28 ภาพรามเกียรติ์ หนา้ 22

ภาพที่ 29 ภาพไกรทอง หนา้ 22

ภาพท่ี 30 ภาพสังฆ์ทอง หน้า 23

ภาพที่ 31 ภาพพระอภยั มณี หน้า 25

ภาพที่ 32 ภาพการศึกษาอาชีวะ หน้า 26

1

รชั กาลท่ี1

ประวัติพระบาทสมเดจ็ พระปรโมรุราชามหาจกั รบี รมนารถ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลก

(20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — 7 กันยายน พ.ศ. 2352)
- เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเม่ือวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่า
ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันท่ี 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 ปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์แห่งกรุง
รตั นโกสินทร์ เม่อื วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 ขณะมีพระชนมพรรษาได้ 46 พรรษา และทรงยา้ ยราชธานี
จากฝัง่ ธนบรุ ีมาอยู่ฝงั่ พระนคร และโปรดเกลา้ ฯ ให้สรา้ งพระบรมมหาราชวังเปน็ ท่ปี ระทบั
- พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช มีพระนามเดิมว่า ทองด้วง เสด็จพระราชสมภพเม่ือ
วันท่ี 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 ในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศแห่งอาณาจักรอยุธยา พระองค์เป็น
บุตรคนที่ 4 ของพระอักษรสุนทรศาสตร์ ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาข้ึนเปน็ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก
กบั พระอัครชายาเม่ือเจริญวัยขึน้ ไดถ้ วายตัวเปน็ มหาดเล็กในสมเด็จเจา้ ฟ้ากรมขุนพรพินิตครั้นพระชนมายุ
ครบ 21 พรรษา ก็เสด็จออกผนวชเป็นภิกษุอยู่วัดมหาทลาย 1 พรรษา แล้วลาผนวชเข้ารับราชการเป็น
มหาดเล็กหลวงในสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรดังเดิม เมื่อพระชนมายุได้ 25 พรรษา พระองค์เสด็จออกไปรับ
ราชการที่เมืองราชบุรีในตาแหน่ง"หลวงยกกระบัตร" ในแผ่นดินสมเด็จพระท่ีนั่งสุริยาศน์อมรินทร์ และได้
สมรสกบั คุณนาค ธิดาในตระกูลเศรษฐีมอญท่มี รี กรากอย่ทู ี่บ้านอมั พวา เมอื งสมุทรสงคราม
- ในวันท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2325 หลังจากได้สาเร็จโทษพระเจ้าตากสินแล้ว สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์
ศกึ ไดข้ นึ้ ปราบดาภเิ ษกเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศจ์ ักรี ขณะทมี่ ีพระชนมายุได้ 46 พรรษา พระองค์โปรด
เกล้าฯ ให้ย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรีราชธานีเดิมที่อยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยามายังฝั่งตะวันออก
ของแมน่ ้าเจ้าพระยา พระองคโ์ ปรดให้สร้างพระราชวังหลวงและโปรดเกล้าฯ ให้อญั เชิญพระพุทธมหามณี
รัตนปฏมิ ากรมาประดษิ ฐานยังวดั วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม หลังจากนั้น ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้จัด
งานฉลองสมโภชพระนครเป็นเวลา 3 วัน ครั้งเสร็จการฉลองพระนครแล้ว พระองค์พระราชทานนามพระ
นครแหง่ ใหม่ให้ต้องกบั นามพระพุทธมหามณรี ัตนปฏิมากรวา่ "กรงุ เทพมหานคร บวรรัตนโกสนิ ทร์ มหินท
รายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบุรีรมย์ อุดม ราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สัก
กะทัตตยิ วษิ ณุกรรมประสทิ ธ์ิ" หรอื เรยี กอยา่ งสงั เขปวา่ "กรุงเทพมหานคร"

2

ภาพที่ 1

ดา้ นสังคม

- สภาพสังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีลักษณะโครงสร้างไม่แตกต่างจากสมัยอยุธยาและธนบรุ ี
ลักษณะโครงสร้างของสังคมไทยสมัยนี้ มีการแบ่งชนช้ัน ถึงแม้จะไม่มีการแบ่งวรรณะอย่างอินเดีย แต่
ฐานะความเป็นอยขู่ องผู้คนกแ็ ตกต่างกัน
- องคป์ ระกอบของสงั คมไทยแบง่ เป็น 4 ชนชน้ั
1. เจา้ นาย ได้แก่ พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ พระมหากษตั รยิ ์ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมี
ลกั ษณะเป็นท้งั เทวราชาและธรรมราชา

ภาพที่ 2

3

2. ขนุ นางและข้าราชการ

ภาพท่ี 3
3. ไพร่ เปน็ ชนสว่ นใหญข่ องประเทศ ประกอบอาชพี เกษตรกรรมเปน็ หลกั แบง่ เป็น ไพร่หลวง และไพร่สม

ภาพที่ 4
4. ทาส ชนชัน้ ต่าสดุ ในสังคมไทย ไมม่ อี สิ ระในการดาเนินชีวติ ชวี ติ ขน้ึ อย่กู บั นายทาส แบ่งเปน็ ทาสเชลย
ทาสในเรือนเบ้ีย ทาสสินไถ่ ทาสได้มาแต่บิดามารดา ทาสท่ีเลี้ยงไว้เม่ือเกิดทุพภิกขภัย ทาสท่ีช่วยมาจาก
ทณั ฑโ์ ทษ และทาสท่านให้ ทาสท่ที าความดีความชอบต่อบ้านเมอื งสามารถเล่ือนฐานะตนเองสงู ข้นึ เป็นขุน
นางได้ ส่วนขนุ นางท่ที าผิดกส็ ามารถลดฐานะลงเปน็ ทาสได้เชน่ กัน

4

ภาพที่ 5

ดา้ นเศรษฐกิจ

- รายได้ของประเทศในสมัยรชั กาลที่ 1 มรี ายไดจ้ ากการคา้ ขายกบั ตา่ งประเทศ ในทวีปเอเชียสว่ นใหญ่
ไทยค้าขายกับ ชาวจีน (การค้าสาเภาหลวงเป็นรายได้หลักที่สาคัญของสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นโดนพระ
คลังสินค้าหน่วยงานของรัฐ ขึ้นอยู่กับกรมคลัง หรือกรมท่า)ทาหน้าที่แต่งเรือสาเภาหลวงบรรทุกสินค้าไป
ขายยังต่างประเทศ โดยเฉพาะกับประเทศจีน ญ่ีปุ่น ชวา สิงคโปร์และอินเดีย ส่วนชาวตะวันตกท่ีเข้ามา
ติดตอ่ ทาการค้า ได้แก่ โปรตเุ กส(ความสัมพนั ธ์กับประเทศโปรตุเกส ในสมยั รัชกาลท่ี 1 โปรตเุ กสสง่ ทูตมา
เจริญสัมพันธไมตรีกับไทย โดยมีอันโตนิโอ เดอวิเสน คนไทยเรียกว่าองตนวีเสน ได้เชิญสาส์นมาถวาย
รัชกาลท่ี1) อังกฤษ การค้าขายในสมัยน้ี ใช้เรือสาเภาในการบรรทุกสินค้า การค้าของไทยนี้อยู่ในความ
ดูแลของพระคลังสินค้า สังกัดกรมท่า มีเรือสาเภาหลวงท่ีปรากฏ ในสมัย รัชกาลท่ี 1 ได้แก่ เรือหูสง และ
เรือทรงพระราชสาสน์
ผลประโยชน์ท่ไี ด้จากการค้ามดี งั นี้

1. ภาษีเบิกร่อง หรือ ค่าปากเรือ เป็นภาษีท่ีเรียกเก็บจากผู้นาสินค้าบรรทุกลงเรือเข้ามาขาย โดยเก็บ
จากเรือท่ีมีความกว้างตั้งแต่ 4 วาขึ้นไป คิดในอัตราวาละ 12 บาทสาหรับเรอื ท่ีเข้ามาตดิ ต่อค้าขายอย่เู ปน็
ประจาและมีไมตรีต่อกัน ถ้าเป็นเรือบรรทุกสินค้าของชาติท่ีนาน ๆ จะเข้ามาค้าขายสักคร้ัง เรียกเก็บใน
อัตราวาละ 20 บาท

2. อานาจในการเลือกซื้อสินค้าของทางราชการ กรมพระคลังสินค้า จะให้พนักงานลงไปตรวจดูสนิ คา้
ในเรือซึ่งเรียกว่า เหยียบหัวตะเภา เพ่ือคัดเลือกสินค้าท่ีจะซ้ือหรือเก็บภาษีขาเข้าก่อน พระคลังสินค้า
สามารถสัง่ พ่อคา้ ชาว ต่างชาติ ใหน้ าสนิ คา้ เขา้ มาขายให้กับรฐั บาลก่อน จึงจะขายให้กับประชาชนได้ หรอื

5

สินค้าบางอย่างที่จะเป็นภัย ต่อความมั่นคงของชาติ รัฐบาลสามารถส่ัง ห้ามขายให้กับประชาชน ต้องนา
ออกนอกราชกาณาจักร อาทเิ ช่น อาวุธปนื กระสุนปนื ฝนิ่ เป็นตน้

3. ภาษีสินค้าขาเขา้ รฐั บาลเก็บโดยชกั สว่ นสนิ ค้าทีเ่ รือบรรทกุ เขา้ มาขาย เรือที่มาเป็นประจาเกบ็ ร้อย
ชัก 3 นาน ๆ มาครง้ั เกบ็ ร้อยชกั 5 หรอื เก็บตามท่ีกฎหมายบญั ญัติไว้ สนิ คา้ ขาเขา้ ที่สาคัญ ได้แก่ ผ้าไหม
จากจีน ผา้ ฝา้ ย ผ้าจากอนิ เดีย เครอื่ งลายคราม ชา ไหมดบิ ไหมสาเรจ็ รูป เครอ่ื งแก้ว ฯลฯ

ภาพท่ี 6

4. ภาษีขาออก ภาษีชนิดน้ีเก็บเป็นอย่าง ๆ ไป ตามประเภทของสินค้า เช่น น้าตาลทรายเก็บหาบละ
50 สตางค์ ( 60 ก.ก ต่อ 2 สลึง ) สินค้าขาออกท่ีสาคัญได้แก่ คร่ัง ดีบุก ไม้ยาง งาช้าง รง เขาสัตว์ หนัง
สัตว์ นอแรด หมาก พลู พริกไทย กระวาน กานพลู ข้าว รังนก ผลเร่ว ฯลฯ อนึ่งการค้าขายของไทยเป็น
การค้าแบบผกู ขาดโดย
พระคลังสินค้า เป็นผู้กาหนดว่าสินค้าประเภทใด เป็นสินค้าผูกขาด สินค้าประเภทใดเป็นสินค้าต้องห้าม
สนิ ค้านอกเหนอื จากที่ พระคลงั สินค้ากาหนด ราษฎรสามารถนาสินคา้ ไปขายให้กับชาวต่างชาติได้โดยตรง
สินค้าผู้ขาด เป็นของหายาก เป็นสินค้าท่ีราษฎรจะต้องนามาขายให้กับพระคลังสินค้าเท่าน้ัน เช่น งาช้าง
กฤษณา ฝาง รงั นก ดบี กุ ผลเร่ว สนิ คา้ ต้องห้าม เปน็ สิง่ ของท่หี ้ามขายออกนอกราชอาณาจักรโดยเด็ดขาด
เชน่ ดินประสวิ กามะถนั

5. รายไดจ้ ากการเกบ็ ภาษีอากรและผลประโยชนข์ องแผ่นดิน
5.1 จังกอบ ภาษีที่เก็บจากผู้นาสินค้าเข้ามาขาย โดยชักส่วนจากสินค้าที่ผ่านด่านท้ังทางบก และ

ทางน้า
5.2 อากร ภาษีทเ่ี กบ็ จากราษฎรที่ประกอบอาชีพทุกชนิด ยกเว้นการค้า
5.3 ฤชา ค่าธรรมเนยี มทที่ างการเรยี กเกบ็ จากราษฎรทม่ี าใช้บริการของรฐั
5.4 ส่วย เงนิ หรือสิ่งของท่เี รียกเกบ็ จากไพร่ส่วยแทนการเกณฑ์แรงงาน

6

ระบบเงินตรา
เงินตราที่ใช้ในสมัยรัชกาลที่ 1 นั้น เรียกว่า เงินพดด้วง หรือ เงินกลม โดยมีตราประทับของทาง

ราชการเป็นรูปจักร ดวงหนึ่ง และกรีดวงหนึ่ง ( ตรีศูล ) ต่อมาภายหลังให้เปลี่ยนจากรูปกรีเป็น ตราอุณา
โลม ( บวั ผนั ) มี 4 ขนาดคอื ชนดิ หนึ่งบาท สองสลงึ หนง่ึ สลึง และหนงึ่ เฟอื้ ง

ในระยะแรก มีตรารูปจักร และตรารูปกรี อย่างละหน่ึงตรา ต่อมาเม่ือได้มีพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว
จงึ ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหใ้ ช้ ตรารูปบัวผนั แทนตรา รูปตรี สาหรับตรารปู จกั รจะเปน็ จักรแบบ แปดกลบี กลาง
จกั รมีจุดเหมอื นกงจักร จงึ มรี ูปร่างคล้ายกงจักร อนั เปน็ อาวุธของพระวิษณุ หรอื พระนารายณ์ ผิดกับจักร
ในสมยั อยธุ ยา ซงึ่ มลี กั ษณะเหมือนธรรมจักรในพุทธศาสนา ตราประจารชั กาลมีอยู่สองตรา คือตราตรีศูล
หรอื เรยี กกนั วา่ ตรี หรอื กรี อันเปน็ อาวุธของพระศิวะ หรือพระอศิ วร รูปรา่ งเปน็ สามงา่ ม มีกรอบลอ้ มรอบ
อกี ตราหนึ่งคอื ตราบวั ผนั หรือตราบวั อุณาโลม มีรปู ร่างคล้ายสงั ข์เวียนขวา อยใู่ นกรอบมพี ื้นเป็นลายกนก

มาตราเงินไทย เท่ากบั 1 อฐั
2 โสฬส เทา่ กบั 1 ไพ
2 อฐั เท่ากบั 1 เฟ้ือง
4 ไพ เทา่ กบั 1 สลงึ
2 เฟ้ือง เท่ากับ 1 บาท
4 สลึง เทา่ กับ 1 ตาลึง
4 บาท เท่ากบั 1 ชั่ง
20 ตาลึง

ภาพที่ 7

นอกจากนี้ยงั นิยมแบ่งค่าเงินท่ชี าวบ้านเรยี กกัน เปน็ ซกี และ เสี้ยว โดย มลู คา่ เงิน 1 เฟือ้ ง เท่ากับ 2 ซีก
, 1 ซีก เท่ากับ 2 เสีย้ ว

7

ภาพท่ี 8

ภาพที่ 9

ดา้ นศาสนา

ได้ทรงทานบุ ารุงพระศาสนาเป็นอยา่ งมากและเกิดผลตอ่ มายังปจั จุบนั น้ี รวบรวมได้ 3 ลักษณะ กลา่ วคอื
- ประการที่ 1 ทรงชาระและสถาปนาพระเถรานเุ ถระชั้นผู้ใหญ่ ให้ดารงสมณศักดิ์รับผิดชอบศาสนจักรให้
รงุ่ เรอื งต่อไป และไดท้ รงตราพระราชกาหนดกฎหมายกวดขันการประพฤติของพระสงฆอ์ ย่างเครง่ ครดั
- ประการท่ี 2 ทรงชาระพระไตรปิฎกใหถ้ กู ตอ้ งบรบิ ูรณ์ เป็นหลักในการศึกษาค้นคว้า
- ประการที 3 มีพระราชศรัทธาก่อสร้างและปฏิสังขรณ์พระอารามน้อยใหญ่ได้มากมาย โดยเฉพาะอย่าง
ยิง่ คือ การสถาปนาวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม วดั พระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม และวัดสทุ ัศน์เทพวราราม
- การทานบุ ารุงพระศาสนาที่สาคัญทีส่ ดุ คือ การทาสังคายนาชาระพระไตรปฎิ กดว้ ยทุนรอนท่ีโปรดเกลา้ ฯ
ให้จ่ายจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ แต่ตอ่ มาปรากฏว่าพระไตรปิฎกท่ชี าระจากพระคัมภีร์ไมถ่ ูกต้อง มี
ความผิดเพย้ี นอยมู่ าก จงึ โปรกเกลา้ ฯให้มกี ารชาระใหม่ในปวี อก พ.ศ. 2331 อนั เปน็ ปีที่ 6 ในรัชกาล
- ส่วนทางดา้ นศาสนสถานนน้ั ทรงสถาปนาวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม ขน้ึ เปน็ พระอารามหลวง พร้อมกับ
สถาปนาพระบรมมหาราชวัง ในปี พ.ศ. 2525 เพอื่ เปน็ ทยี่ ดึ เหนยี่ วจิตใจและแสดงให้เห็นว่าประเทศไทย
น้ันฟ้ืนฟูแล้ว เม่ือสรา้ งวดั พระศรีรัตนศาสดารามเสร็จ ทรงโปรดเกล้าฯให้อญั เชญิ พระพุทธมหามณรี ัตน
ศาสดาราม หรอื พระแก้วมรกต มาประดิษฐาน ณ วัดพระศรีรตั น-ศาสดาราม พ.ศ. 2107 พระเจา้ หงสาวดี

8

บุเรงนองมีอานาจขนึ้ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชเหน็ วา่ ตัง้ อยทู่ ี่เมอื งหลวงพระบางจะสศู้ ึกพม่ามอญไม่ได้จงึ
ยา้ ยราชธานีไปทีเ่ มืองเวยี งจนั ทนพ์ ร้อมกบั อญั เขิญพระแก้วมรกตขน้ึ มาดว้ ยและทรงประดษิ ฐานอยู่ท่ีนั้น
เป็นเวลาถงึ 214 ปี จนเม่ือไทยทาสงครามกบั กรงุ ศรสี ตั นาคนหุต พระเจ้าตากสินมหาราชทรงโปรดเกล้าฯ
ให้สมเดจ็ เจ้าพระยามหากษัตริยศ์ ึกไปตเี มืองเวียงจนั ทน์ จึงไดอ้ ัญเชญิ พระแก้วมรกตมาไว้ยงั กรงุ ธนบรุ ี
- ครน้ั เมอื่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกข้ึนครองราชยท์ รงสร้างกรุงรัตนโกสนิ ทรเ์ ม่อื พ.ศ.2525
โปรดใหส้ ร้างพระอารามขึ้นในพระบรมมหาราชวังจงึ โปรดเกล้าฯใหอ้ ัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดษิ ฐาน
ในพระอุโบสถ

ภาพที่ 10

ภาพที่ 11

ดา้ นการเมอื งการปกครอง

- พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เม่ือครั้งยังดารงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหา
กษัตริย์ศึก ภายหลังที่ได้ทรงเลิกทัพกลับจากกรุงกัมพูชาเพราะในกรุงธนบุรีเกิดการจลาจล เมื่อถึงกรุง
ธนบุรบี รรดาขุนนางน้อยใหญท่ ้ังหลายก็พากันอ่อนน้อมยอมสวามภิ ักดิ์เรียกร้องให้แก้ไขวิกฤติการณ์พร้อม
กันน้ันก็พากันอันเชิญให้พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติเป็นพระเจ้าแผ่นดินไทยสืบต่อไป เม่ือวันที่ 6
เมษายน พ.ศ.2325 รัชกาลท่ี 1 แห่งราชวงศจ์ ักรี

9

- ภายหลงั เมื่อเหตุการณ์เขา้ ส่ภู าวะปกติแล้ว รชั กาลที่ 1 ทรงเห็นวา่ กอ่ นจะประกอบพิธปี ราบดาภิเษกเป็น
กษตั รยิ ์เหน็ ว่าควรจะยา้ ยราชธานีไปอยู่ฟากตะวันออกของแม่นา้ เจ้าพระยาเสียก่อนโดยบรเิ วณท่ีทรงเลือก
ทจี่ ะสรา้ งพระราชวังน้ัน เคยเปน็ สถานีการค้าขายกับชาวต่างประเทศ ในแผน่ ดนิ สมัยสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช มีนามเดมิ ว่า “บางกอก” ซึง่ ในขณะน้ันเปน็ ที่อยู่อาศัยของชาวจีนเมื่อได้ทรงชดเชยค่าเสยี หายให้
พอสมควรแล้วทรงใหช้ าวจีนย้ายไปอยูต่ าบลสาเพ็ง แล้วโปรดเกล้าฯใหส้ ร้างรว้ั ไมแ้ ทนกาแพงข้นึ และสร้าง
พลับพลาไม้ขึ้นช่ัวคราว หลังจากนั้นในเดือนมิถุนายน พ.ศ.2325 ขณะที่พระองค์ทรงมีพระชนมายุได้ 45
พรรษา ได้ทรงประกอบพิธีการปราบดาภิเษกข้ึนมาเป็น ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงมีพระนามว่า
“พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดีฯ” แต่ในยุคสมัยปัจจุบันผู้คนมักนิยม เรียกพระนามว่า
“พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช” และทรงสถาปนาตาแหน่งวังหน้า(กรมพระราชวัง
บวรสถานมงคล) และตาแหน่งวังหลัง (กรมพระราชวังบวรสถานพมิ ุข)
- พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงได้รับอัญเชิญขึ้นครองราชย์ในวันท่ี 6 เมษายน
พ.ศ.2325 แต่ในขณะน้ันยังไม่ได้สร้างพระราชวังใหม่จึงทรงประทับในพระราชวังเดิมไปก่อนต่อมาเมื่อ
ก่อสร้างพระบรมมหาราชวังและราชธานีแห่งใหม่ทางฝ่ังตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยาเสร็จในปี พ.ศ.
2328 กโ็ ปรดฯใหม้ ีการสมโภชนพ์ ระนครและกระทาพธิ ปี ราบดาภิเษกข้นึ เป็นพระมหากษตั ริย์อีกครงั้
และพระราชทานนามพระนครใหม่น้วี ่า“กรงุ เทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยา มหาดิลก
ภพนพรัตน์ ราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์ มหาสถาน อมรพิมาน อวตาลสถิต สักกทิตติย วิษณุกรรม
ประสิทธิ์”หรือที่คนยุคปัจจุบันนิยมเรียกว่า“กรุงรัตนโกสินทร์”น่ันเองคร้ันในสมัยรัชกาลท่ี 4 ทรงเปลี่ยน
สร้อยที่ว่า“บวรรัตนโกสินทร์”เป็น“อมรรัตนโกสินทร์”นอกน้ันคงเดิมและในบริเวณพระบรมมหาราชวัง
ได้สร้างวัดพระแก้ว (วัดพระศรีรัตนศาสดาราม) เป็นวัดที่ใช้ประกอบพระราชพิธีทางศาสนา เป็นวัดที่ไม่มี
พระสงฆ์จาพรรษาอยู่และเมื่อสร้างพระนครเสร็จสมบูรณ์ได้มีการอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่
วัดนี้ และได้พระราชทานนามให้ใหมว่ ่า พระพุทธมหามณีรัตนปฏมิ ากร เพื่อให้สอดคล้องกับนามของพระ
นครใหม่
- สาเหตุคอื กรุงธนบรุ ีเป็นเมืองทมี่ ีการสรา้ งป้อมปราการเอาไวท้ ้ังสองฝ่งั แมน่ า้ โดยเอาแม่นา้ ผา่ กลาง
(เรยี กว่าเมืองอกแตก) เหมือนเมอื งพิษณโุ ลกมปี ระโยชนต์ รงท่อี าจเอกเรือรบไว้ในเมอื งเมอื่ เวลาถูกขา้ ศึก
มาตั้งประชดิ แต่ การรกั ษาเมืองคนข้างในจะถ่ายเทกาลงั เข้ารบพุง่ รักษาหนา้ ท่ีได้ไม่ทนั ท่วงทีเพราะตอ้ ง
ขา้ มแมน่ ้า แต่แม่น้าเจ้าพระยาท้งั กว้างและลึกจะทาสะพานขา้ มก็ไม่ได้ ทาให้ยากแกก่ ารรักษาพระนคร
เวลาข้าศกึ บุก

10

ภาพท่ี 12
ภาพที่ 13
ภาพท่ี14

11

ภาพท่ี15

การศึกษา

- การศึกษาของไทยในตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 – รัชกาลที่3เป็นการศึกษาท่ียังไม่มี
ระเบียบแบบแผนเช่นเดียวกับสมัยปลายอยุธยาคือไม่มีโรงเรียน ไม่มีกาหนดเวลาเรียนและไม่มีหลักสูตร
เรียนกันไปตามแต่ครูจะสอนและเท่าท่ีครูมีความรู้ คนทั่วไปมักส่งลูกหลานไปเรียนกับพระภิกษุสงฆ์ตาม
วัด เป็นลูกศิษย์วัดบ้าง หรือบวชเป็นสามเณรบ้าง ภิกษุรูปใดมีความรู้กว้างขวางก็มีคนไปสมัครเป็นศิษย์
มาก
- การเรียนหนงั สอื ในสมยั กอ่ นจึงมศี นู ย์กลางอยทู่ ่ีวัดกบั วัง แตก่ ไ็ มไ่ ด้มอี ยู่ทกุ วดั เพราะพระสงฆท์ ่ีทรง
ความรูม้ ไี มม่ ากนัก การสอนหนังสือสอนดว้ ยความสมัครใจและสอนลูกศษิ ย์ได้คราวละ 4–5 คนเท่านัน้
ความสัมพันธ์ระหว่างศิษย์กับอาจารยจ์ งึ มีความใกลช้ ดิ กนั มากการสอนเรยี กวา่ ต่อหนังสือคอื เรียงตัวเข้า
มาต่อทีละคน ใครปญั ญาทบึ ทา่ นกต็ ่อให้น้อย ใครปญั ญาไวกต็ ่อใหม้ ากสถานทีเ่ รยี น ได้แก่ หอสวดมนต์
หอฉนั หรือระเบียงกฏุ ิ เวลาเรยี นเริม่ แตเ่ ช้าเม่ือพระฉันเชา้ เสร็จแล้วก็สอนหนังสือไปหยดุ เรียนเอาตอน
กอ่ นเพล เม่อื ฉันเพลเสร็จแลว้ โดยมากพระอาจารยจ์ ะจาวดั คือหลบั พักผ่อน ปล่อยให้ลูกศิษยท์ ่อง อ่าน
หัดเขียนหนงั สอื ของตนไปตามลาพงั

12

ภาพที่ 16
ภาพท่ี 17
ภาพที่ 18

13

รัชกาลที่2

ประวัตพิ ระบาทสมเดจ็ พระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลศิ หล้านภาลยั

(24 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2310 – 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367)
- พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระนามเดิมว่า ฉิม เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ใน
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชขณะทรงมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงยกรบัตรเมืองราชบุ รี
ประสูติแต่ท่านผู้หญิงนาคเม่ือเจริญพระชนม์ได้ทรงศึกษาในสานักพระพนรัตน์ (ทองอยู่) วัดบางว้าใหญ่
และได้ติดตามสมเดจ็ พระบรมชนกนาถไปในการสงครามทุกครงั้
- ในปี พ.ศ. 2349 เมื่อสมเด็จพระบรมชนกนาถปราบดาภิเษกแล้วจงึ ได้รบั สถาปนาเป็นสมเด็จพระเจา้ ลูก
ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ถึงวันอาทิตย์ ข้ึน 7 ค่า เดือน 4 ปีขาล พ.ศ. 2449 (นับแบบปัจจุบัน
เปน็ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2350) จงึ ได้รบั อปุ ราชาภิเษกเป็นกรมพระราชวงั บวรสถานมงคล
- เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชประชวรพระโสภะอยู่ 3 ปีก็เสด็จสวรรคต ในวันท่ี
7 กันยายน พ.ศ. 2352 ขณะมีพระชนมพรรษาได้ 73 พรรษา นับเวลาในการเสด็จครองราชย์ได้นานถึง
27 ปี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชกรมพระราชวังบวรสถานมงคล จึงได้สาเร็จราชการแผ่นดินต่อมา เม่ือ
จัดการ พระบรมศพเสร็จแล้ว พระบรมวงศานุวงศ์ขุนนางและพระราชาคณะจึงกราบบังคมทูลเชิญเสด็จ
ข้ึนผ่านพิภพ
- ต่อมาวันที่ 10 กันยายน พบหนังสือฟ้องว่าเจ้าฟ้ากรมขุนกระษัตรานุชิตกับพวกร่วมกันคิดการขบถ ไต่
สวนแลว้ โปรดให้ประหารชีวติ ทงั้ หมดในวนั ท่ี 13 กนั ยายน
- การพระราชพิธีบรมราชาภิเษกจัดข้ึนในวันท่ี 17 กันยายน พ.ศ. 2352 โดยย้ายมาทาพิธีท่ีหมู่พระที่น่ัง
จักรพรรดิพิมาน เน่ืองจากพระที่น่ังดุสิตมหาปราสาท ซ่ึงสร้างข้ึนมาแทนพระท่ีนั่งอมรินทราภิเษกมหา
ปราสาทอันเป็นสถานท่ีทาพิธีปราบดาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชน้ันใช้
เป็นสถานท่ีประดิษฐานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชอยู่ ในรัชกาลต่อ ๆ
มาจึงใช้หมู่พระที่นั่งจักรพรรดิพิมานเป็นสถานท่ีจัดการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและใช้พระท่ีนั่งดุสิต
มหาปราสาทเป็นสถานท่ีต้ังพระบรมศพ หลังจากเสร็จพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระองค์จึงเสด็จเลียบ
พระนครโดยกระบวนพยุหยาตราตามโบราณราชประเพณี
- พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั ทรงพระประชวรด้วยโรคพษิ ไข้ ทรงไมร่ ูส้ กึ พระองค์เป็นเวลา 8
วัน พระอาการประชวรกไ็ ด้ทรดุ ลงตามลาดับ และเสด็จสวรรคตเม่ือวันท่ี 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริ
พระชนมพรรษาได้ 57 พรรษา และครองราชย์สมบตั ิได้ 15 ปี

14

ภาพที่ 19

ดา้ นการปกครอง

- เมือ่ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัยขึ้นครองราชย์สมบัติแล้วพระองค์ต้องการกาจัดเส้ียนหนาม
ศัตรภู ายในเสยี กอ่ นแล้วค่อยกาจัดข้าศึกที่มาแต่ภายนอกด้วยเหตุนี้พอเสด็จผา่ นได้ 3 วนั เกิดเหตกุ ารณ์ว่า
“พบหนังสือฉบับหน่ึงอยู่ใต้ต้นแจง ในลานชลาพระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาท กล่าวกันว่ากาคาบมาทิ้งไว้ใน
หนังสอื ฟอ้ งวา่ เจา้ ฟ้ากรมขุนกษัตรานชุ ิต(เจ้าฟ้าสุพนั ธุวงศ)์ , คณุ หนูดา และเจา้ จอมมารดาสาลี พระโอรส
และพระธดิ าของพระเจา้ กรุงธนบุรี กบั ขนุ นางอกี 10คน ได้คิดก่อการกบฏทุกคนจงึ ถูกถอดยศและประหาร
ชีวิต นบั ว่าเหตุการณ์ครัง้ น้สี อดคล้องกบั คาโบราณทว่ี ่า “ตดั หวายอย่าไวห้ นอ่ ฆ่าพ่ออย่าไว้ลูก” การกาจัด
เสี้ยนหนามแผน่ ดนิ น้ี นอกจากจะเสริมพระราชอานาจของพระองค์ให้มน่ั คงแล้ว ยงั เปน็ การปรามเจ้านาย
และขุนนางทั้งหลายด้วย
- เมื่อต้นรัชกาลท่ี2 ขุนนางผุ้ใหญ่ที่รู้งานมีเหลืออยู่น้อย รัชกาลท่ี2 ทรงเห็นว่าเจ้านายที่เจริญพระชันษา
และมีความสามารถมีอยู่หลายพระองค์สมควรที่จะจัดให้มีหน้าที่ประจาราชการบ้างโดยในปีพ.ศ. 2354
พระองค์โปรดเกล้าฯใหเ้ จา้ นายมีหนา้ ท่กี ากับราชการในกรมใหญท่ ่ที าหน้าทดี่ ูแลหัวเมือง 3 กรม มดี งั น้ี
เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี กากับราชการกรมมหาดไทยและกรมวัง, เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์ และ
กรมหมื่นศักดิพลเสพ ให้กากับกรมกลาโหม, พระองค์เจ้าทับ กากับราชการกรมพระคลัง เหตุผลสาคัญท่ี
รชั กาลท2่ี ทรงสง่ เจ้านายไปกากับราชการนา่ จะเพ่อื การควบคุมรายได้ของรัฐไม่ใหร้ ัว่ ไหล
- วเิ ทโศบายทางการเมืองในสมัยรัชกาลท่ี2 เปน็ ท่นี า่ สนใจประการหนึ่งคือ ทรงดาเนินนโยบาย “แบ่งแยก
และปกครอง” โดยทรงมอบหมายให้เจ้านายท่ีทรงไว้วางพระราชหฤทัยแยกย้ายกันไปดูแลกากับงาน
ราชการดังกล่าวข้างต้น เป็นการกระจายอานาจให้เจ้านายฝ่ายต่างๆ อย่างสมดุลเพ่ือให้มีการคานอานาจ
ซึ่งกันและกัน แต่เจ้านายมักมีพระชนมายุไม่ยืนยาวนัก ทาให้ต้องมีการปรับดุลอานาจทาง การเมืองอยู่
ตลอดเวลา

15

- ตราพระราชกาหนดสักเลก ในรัชกาลท่ี 2 บังคับให้ชายฉกรรจ์ ทางานหลวงปีละ 3 เดือน คือ เข้า 1
เดือน เปน็ การเกณฑแ์ รงงานและเพอ่ื ความพร้อมรบในยามปกติ
- เมื่อกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ทิวงคตในปีพ.ศ.2360แล้ว รัชกาลที่ 2 ไม่โปรดเกล้าฯให้เจ้านาย
พระองค์ใดขึ้นมาดารงตาแหน่งวังหน้า มีแตเ่ พียงตาแหน่งผู้สาเรจ็ ราชการแทนเท่านนั้ ซงึ่ ถอื เปน็ เทโศบาย
ในการแบ่งแยกและปกครองของรชั กาลที่2 ในทสี่ ดุ หลังการทวิ งคตของกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์
การคานอานาจ กลายเปน็ การแขง่ ขนั อานาจทางการเมืองกนั ระหวา่ งเจา้ นายทง้ั 2 กลุ่ม คือกลุม่ เจา้ ฟ้าซึ่ง
มกี รมหลวงพิทักษ์มนตรีเป็นแกนนาสนับสนุนเจ้าฟ้ามงกฎุ และกลุ่มพระองค์เจ้าท่ีเป็นผู้สนับสนุนกรมหม่ืน
เจษฎาบดินทร์ (พระองค์เจา้ ทบั )
- สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอกรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์ได้รับมอบหมายให้กากับราชการกรมพระคลังมาต้ังแต่
พระชนมายุ 24พรรษา พระองคท์ รงจัดการหาพระราชทรัพยม์ าเพิม่ ให้ทอ้ งพระคลงั เป็นจานวนมาก
- ช่วงก่อนรัชกาลที่2จะสวรรคต พระองคไ์ ม่ไดม้ อบราชสมบตั ิพระราชทานแก่ผู้ใด เจ้านายและขนุ นางแบ่ง
ออกเป็น 2ฝ่าย ฝ่ายหน่ึงสนับสนุนเจ้าฟ้ามงกุฎ และอีกฝ่ายหนึ่งสนับสนุนพระองค์เจ้าทับขึ้นเป็นกษัตริย์
ในที่สุดแล้วเจ้านายพระองค์เจ้าหลายพระองค์รวมทั้งขุนนางราชินิกุลบางช้างโดยเฉพาะตระกูลบุ นนาค
และข้าราชการจานวนมากได้พร้อมใจให้กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์หรือพระองค์เจ้าทับขึ้นเถลิงถวัลยราช
สมบัติ ซง่ึ เรยี กการเถลิงถวัลยราชสมบตั ิน้วี ่า “อเนกนิกรสโมสรสมมติ”

ภาพท่ี 20

16

ภาพที่ 21

ด้านเศรษฐกิจ

- รายได้จากการค้ากับต่างประเทศ กรุงเทพฯ นับว่าอยู่ในทาเลท่ีเหมาะสมในการติดต่อค้าขายทางเรือ
เพราะตั้งอยู่ไม่ไกลจากปากทะเล ในสมัยรัชกาลที่ 2 พระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (ต่อมาได้
ขึ้นครองราชย์ ทรงพระนามว่าพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3) ซ่ึงทรงบังคับบัญชา
กรมท่า มบี ทบาทในการสง่ เสรมิ การคา้ โดยเฉพาะกับจนี จนสมเด็จพระบรมชนกนาถ ทรงเรยี กพระนามว่า
"เจา้ สัว" ต่อมาเม่อื เสด็จขน้ึ ครองราชย์ พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลา้ เจ้าอย่หู ัวทรงสนพระทยั ฟ้นื ฟเู ศรษฐกิจ
อย่างจรงิ จงั การคา้ ขายกบั ตา่ งประเทศจึงขยายตวั ออกไปอยา่ งกวา้ งขวางยิ่งกว่าใน 2 รัชกาลแรก

1. การคา้ สาเภาหลวง พระคลังสนิ ค้า ซง่ึ เป็นหน่วยงานของรฐั ขึน้ อย่กู ับพระคลัง (พระยาโกษาธบิ ด)ี มี
หน้าท่รี ับผิดชอบในการแต่งเรือสาเภาหลวงบรรทุกสงิ่ ของที่เป็นสว่ ย เช่น ดีบุก พรกิ ไทย ครัง่ ขี้ผงึ้ ไม้หอม
ฯลฯ รวมทั้งสินค้าอน่ื ๆ

2. กาไรจากการผกู ขาดสนิ คา้ พระคลังสินค้ามหี นา้ ท่ีควบคมุ การคา้ กบั ต่างประเทศ เช่นในสมัยอยธุ ยา
โดยผกู ขาดสินค้าบางอย่าง เช่น รงั นก ฝาง ดบี กุ งาช้าง พรกิ ไทย เน้ือไม้ ตะก่วั และพลวง

3. ภาษีปากเรือ เป็นค่าธรรมเนียม ซ่ึงเก็บจากเรือสินค้าของชาวต่างประเทศท่ีเข้ามาจอดในเมืองท่า
ของไทย กาหนดเก็บภาษีตามส่วนกว้างที่สุดของเรือ โดยคิดอัตราภาษีเป็นวาและเรียกเก็บในอัตราท่ี
ต่างกนั

4. ภาษีสินค้าขาเข้า เก็บจากสินค้าที่พ่อค้าต่างประเทศนาเข้ามาจาหน่าย เช่น ผ้าฝ้าย ผ้าแพรจีน
เครือ่ งแกว้ เคร่อื งลายคราม ใบชา

5. ภาษีสินค้าขาออก เก็บจากสินค้าที่ส่งออกในอัตราที่ต่างกันไปตามชนิดของสินค้า เช่น ในสมัย
รัชกาลที่ 2 รังนกนางแอ่นกับเขากวางอ่อน เสียภาษีร้อยละ 20 ของราคาสินค้า งาช้างหาบละ 10 สลึง
เกลอื เกวียนละ 4 บาท หนงั วัว หนงั ควาย กระดกู ช้าง หาบละ 1 บาท

17

- ในสมัยรัชกาลที่ 2 มีการปรับปรุงภาษี ดังน้ี การเดินสวน คือ การให้เจ้าพนักงานท่ีได้รับการแต่งตั้ง
ออกไปสารวจเรือกสวนของราษฎรว่าได้จัดทาผลประโยชน์ในท่ีดินมากน้อยเพียงใด แล้วออกหนังสือ
สาคัญให้เจ้าของถือไว้เพื่อเป็นหลักฐานการเสียภาษีอากร ซ่ึงการจัดแบ่งภาษีการเดินสวนจัดแบ่งตาม
ประเภทของผลไม้ การเดินนา คือ การให้เจ้าพนักงานออกไปสารวจท่ีนาของราษฎร แล้วออกหนังสือ
สาคัญให้เจ้าของถือไว้เพื่อเป็นหลักฐานในการเสียภาษีอากรท่ีเรียกว่า "หางข้าว" คือ การเก็บข้าวในอัตรา
ไร่ละ 2 ถัง และตอ้ งนาไปสง่ ท่ีฉางหลวงเอง

ภาพที่ 22

ภาพท่ี 23

18

ด้านสงั คมและวัฒนธรรม

โครงสร้างชนช้ันของสังคมยังคงคล้ายสมัยกรุงศรีอยุธยาคือมี 2 ชนชั้น ได้แก่ ชนชั้นปกครองและขุนนาง
โดยมีรายละเอียดดังนี้ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจสูงสุด พระบรมราชโองการของพระองค์
เป็นกฎหมาย พระมหากษัตริย์ทรงมีฐานะดุจสมมติเทพ พระบรมวงศานุวงศ์ เป็นผู้ท่ีสืบเชื้อสายของ
พระมหากษัตรยิ ์ ตาแหน่งของพระบรมวงศานุวงศ์ จะแบง่ เป็น 2 ประเภท คือ

- สกุลยศ หมายถึง ตาแหน่งที่สืบเชื้อสายมาโดยกาเนิด ซึ่งสกุลยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มี
3 ตาแหนง่ ได้แก่ เจา้ ฟ้า พระองคเ์ จ้า และหม่อมเจา้

- อิสสริยยศ หมายถึง ตาแหน่งที่พระมหากษัตริย์ทรงพระราชทานหรือเลื่อนยศให้ ซึ่งอิสสริยยศท่ีมี
ตาแหน่งสูงท่ีสุด คือ พระมหาอุปราช ขุนนาง เป็นกลุ่มบุคคลท่ีช่วยเหลือกิจการบริหารราชการแผ่นดิน
ของพระมหากษัตรยิ ์ ให้ดาเนนิ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ขนุ นางไดร้ ับการยกเว้นการเกณฑแ์ รงงาน และ
ขุนนางในสมยั กรงุ รัตนโกสินทร์ตอนต้นมอี ทิ ธพิ ลและบทบาททางการเมืองสงู ไพร่หมายถึงราษฎรท่วั ไป
ทั้งชายและหญิงท่ีมิได้เป็นเจ้านาย ขุนนาง และมิได้เป็นทาสนับเป็นชนชั้นท่ีมีจานวนมากที่สุดของสังคม
ไพร่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ที่สาคัญ คือ ไพร่สม ไพร่หลวง และไพร่ส่วย เหมือนสมัยกรุงศรี
อยุธยา ไพร่หลวงในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นนั้นได้รับการผอ่ นผัน ลดหย่อนเวลาเกณฑ์แรงงาน ด้วย
เหตุผลทางเศรษฐกิจท่ีต้องการให้ไพร่เหล่าน้ีไดผ้ ลิตสินค้าเพื่อขายสู่ตลาดมากขึ้นในสมัยน้ีเน่ืองจากการค้า
เจริญรุ่งเรือง ไพร่ส่วยมีความสาคัญมาก เพราะรัฐบาลเร่งเอาส่วยส่ิงของต่าง ๆ เพ่ือนาไปค้าขาย นับเป็น
ภาระหนักอย่างหนึ่งของไพร่ จึงมีคนจานวนมากหนีระบบไพร่ โดยการไปเป็นไพร่สมของเจ้านายหรือขุน
นางผู้มอี านาจหรือขายตัวเป็นทาส จนในสมยั รชั กาลท่ี 3 ประกาศห้ามขุนนางหรือเจ้านายซอ่ งสมุ กาลังคน
ทาส เป็นชนช้ันต่าสุดของสังคม ทางานให้แก่นายเงินของตนเท่าน้ัน ไม่ต้องเข้าเวรรับราชการเช่นไพร่ ใน
สมยั กรุงรตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ ไดร้ ะบปุ ระเภทของทาสไว้ 7 ประเภท คือ

1. ทาสสนิ ไถ่ คอื ทาสท่ีไถ่หรือซื้อมาดว้ ยทรัพย์
2. ทาสในเรอื นเบ้ยี คอื เดก็ ทเี่ กดิ มาในขณะที่พ่อแม่เป็นทาส
3. ทาสท่ไี ดม้ าจากฝา่ ยบิดามารดา คอื ทาสท่ีได้รับเปน็ มรดกสืบทอด
4. ทาสทา่ นให้ คอื ทาสที่มผี ูย้ กให้
5. ทาสท่ไี ด้เนอ่ื งมาจากนายเงนิ ไปช่วยให้ผู้นนั้ พน้ โทษปรับ
6. ทาสทมี่ ลู นายเลีย้ งไว้ในยามข้าวยากหมากแพง
7. ทาสเชลย คอื ทาสที่ไดม้ าจากสงคราม

19

พระสงฆ์ เป็นกลุ่มสังคมท่ีมาจากทุกชนช้ันในสังคมมีหน้าท่ีอบรมส่ังสอนประชาชนเป็นครูผู้สอนหนังสือ
และวทิ ยาการตา่ งๆ แก่เดก็ ผชู้ าย

ภาพท่ี 24

ภาพที่ 25

20

ด้านประตมิ ากรรม

นอกจากจะทรงสง่ เสรมิ งานช่างดา้ นหล่อพระพทุ ธรูปแล้ว พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัยยัง
ไดท้ รงพระราชอุตสาหะปน้ั หนุ่ พระพักตรข์ องพระพุทธธรรมมศิ รราชโลกธาตุดิลก ซึ่งทรงพระประธานใน
พระอุโบสถ ณ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร อันเป็น พระพุทธรูปที่สาคัญยิ่งองค์หนึ่งของไทยดว้ ย
พระองค์เอง ซ่ึงลักษณะและทรวดทรงของพระพุทธรูปองค์น้ีเป็นแบบอย่างที่ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมาใหม่ใน
รัชกาลท่ี 2 สว่ นด้านการช่างฝมี ือและการแกะสลักลวดลายในรัชกาลของพระองค์ได้มีความเจรญิ ก้าวหน้า
ไปอยา่ งมาก และพระองค์เองก็ทรงเปน็ ช่างทั้งการป้ัน และการแกะสลักทเ่ี ชี่ยวชาญย่ิง พระองค์หนึ่งอย่าง
ยากทจี่ ะหาผู้ใดทัดเทยี มได้ นอกจากฝพี ระหตั ถ์ในการป้ันพระพักตร์พระพุทธธรรมศิ รราชโลกธาตุดิลกแล้ว
ยงั ทรงแกะสลักบานประตูพระวิหารพระศรีศากยมนุ ี ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร คหู่ นา้ ดว้ ย
พระองค์เองร่วมกับกรมหมื่นจิตรภักดี ทาให้กลายเป็นอีกสิ่งพิเศษของพระวิหารคือ“บานประตูไม้คู่หน้า”
เปน็ ไมส้ ลักแผ่นเดียว จาหลักบายตน้ พฤกษา มกี ง่ิ กา้ นเกาะเก่ียวซ้อนกันอยา่ งงดงาม เป็นศิลปกรรมฝีพระ
หัตถ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั โดยทรงกาหนดลักษณะลาย แบบวิธีแกะสลัก และทรงเร่ิม
จาหลักด้วยพระองค์เอง และทรงแกะหน้าหุ่นหน้าพระใหญ่และพระน้อยท่ีทาจากไม้รักคู่หนึ่งท่ีเรียกว่า
พระยารกั ใหญ่ และพระยารักนอ้ ยไว้ดว้ ย

ภาพที่ 26

21

ด้านดนตรี

ทรงพระราชนิพนธ์เพลง “บุหลันลอยเล่ือน” พระองค์ทรงเป็นศิลปินที่มีพรสวรรค์ท้ังทางด้านกวีนิพนธ์
และการดนตรีที่ชานาญการเป็นเย่ียม ยากจะหาผู้ใดมาเทียบ พระองค์ทรงโปรดซอสามสายมากเป็น
พิเศษ ถึงกับโปรดให้ยกหรืองดเก็บภาษีอากรส่วนใดก็ตามท่ีท่ีมีต้นมะพร้าวชนิดพิเศษท่ีใช้ผลทากะโหลก
ซอสามสาย ทรงสร้างซอสามสายด้วยพระองค์เองไว้หลายคันมีอยู่คันหน่ึงโปรดมากพระราชทานนามว่า
“ซอสายฟ้าฟาด” และโปรดทรงซอนี้เสมอในเวลาว่างพระกิจยามราตรี ถ้าไม่ร่วมวงก็มักทรงเดี่ยวตาม
ลาพังพระองค์เอง จนกระท่ังเกิดเป็นเพลง “บุหลันเล่ือนลอยฟ้า” ขึ้นในคืนวันหน่ึง ในคืนวันน้ันหลังทรง
ซอสามสายจนดึกแล้วเสด็จเข้าที่บรรทมทรงพระสุบินว่า “พระองค์ได้เสด็จพระราชดาเนินไปในสถานท่ี
แห่งหนึ่ง ตามปรากฏในพระสุบินนิมิตน้ันว่า เป็นสถานท่ีสวยงามอย่างย่ิงจนไม่มีท่ีแห่งใดในโลกเสมอ
เหมือน ทอดพระเนตรเหน็ ดวงจันทร์ค่อยๆลอยเคลื่อนเข้ามาใกล้พระองค์ทีละน้อยๆและสาดแสงสว่างไป
ท่ัวบริเวณ ทันใดน้ันปรากฏเป็นเสียงทิพยดนตรี แว่วกังวานหวานไพเราะเสนาะพระกรรณเป็นอย่างย่ิง
พระองค์เสด็จทรงประทับทอดพระเนตร และทรงสดับเสียงดนตรีอันไพเราะอยู่ด้วยความเพลิดเพลินพระ
ราชหฤทัย จากนั้นดวงจันทร์ก็ค่อยๆลอยถอยเลื่อนเคลื่อนห่างออกไปในท้องฟ้า พร้อมท้ังสาเนียงเสียง
ทิพยดนตรีนี้นก็ค่อยๆเบาจางห่างจนหมดเสียงหายไป พลันเสด็จตื่นบรรทมแม้เสด็จตื่นรู้พระองค์กระจ่าง
แจ้งแจ่มพระทัยแล้วสาเนียงดนตรีในพระสุบินยังแว่วกังวานพระโสตอยู่จึงโปรดให้ตามมหาดเล็ก ซ่ึงเป็น
เจ้าพนักงานการดนตรี เข้ามาต่อเพลงไว้ในยามราตรีนั้นเอง พระราชทานนามเพลงว่า “เพลงบุหลันลอย
เลื่อน หรือ เพลงบุหลันลอยฟ้า” หรือบางทีเรียกกันว่า “เพลงทรงพระสุบิน” และเคยเรียกว่า “เพลง
สรรเสริญพระจนั ทร์” เพราะเคยใชเ้ ป็นเพลงสรรเสริญพระบารมมี าสมยั หนึง่ ต่อมาเกดิ เพลงสรรเสริญพระ
บารมีทานองสากล จึงเรียกเพลงน้ีว่าเพลงสรรเสริญพระจันทร์ เป็นเพลงสรรเสริญบารมีแบบไทย ซึ่งเคย
ใชบ้ รรเลงเปน็ เพลงชาติไทยในสมัยหน่ึงคาร้อง “กิดาหยนั หมอบกรานอยู่งานพัด พระบรรทมโสมนัสอยู่ใน
ที่ บุหลันเลื่อนลอยฟ้าไม่ราคี รัศมีส่องสว่างดังกลางวัน พระนิ่งนึกตรึกไตรไปมา ที่จะแต่งคูหาสะตาหมัน
ป่านนี้พระองค์ทรงธรรม์ จะนับวันเคร่าคอยทุกเวลา ครั้นล่วงเข้ายามดกึ สงัด สงบเงียบเสียงสตั ว์ทุกภาษา
วังเวงวเิ วกวญิ ญาณ์ พระนทิ ราหลบั ไปในราตรฯี ”

ภาพที่27

22

ด้านศลิ ปกรรม

- มีการปรับปรุงท่าโขนและละคร มีบทละครท่ีเกิดข้ึน ได้แก่ เร่ืองรามเกียรต์ิ เพื่อให้ละครหลวงเล่น โดย
เลือกมาเป็นตอนๆ ส่วนบทละครนอก ได้แก่ เร่อื งไกรทอง คาวี ไชยเชษฐ์ สังข์ทอง และมณพี ชิ ัย
• รามเกยี รต์ิ

ภาพที่ 28
ต้นเค้าของเร่ืองรามเกียรต์ิมาจากเร่ืองรามายณะซึ่งเป็นนิทานท่ีแพร่หลายอยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้
ต่อมา อารยธรรมอินเดียได้แพร่สู่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ่อค้าชาวอินเดียได้นาวัฒนธรรมและ
ศาสนามาด้วย ทาให้รามายณะแพร่หลายออกไปท่ัวภูมิภาค กลายเป็นนิทานที่รู้จักกันเป็นอย่างดีและได้
ปรับเปล่ียนเน้ือหา ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมของประเทศนั้นๆจนกลายเป็นวรรณคดีประจาชาติไป ดัง
ปรากฏในหลายชาติ เชน่ ไทย ลาว พมา่ กมั พชู า มาเลเซยี อินโดนเี ซยี ล้วนมวี รรณคดเี รื่องรามเกยี รติ์เป็น
วรรณคดปี ระจาชาติทั้งสิน้
• ไกรทอง

ภาพท่ี 29

23

เป็นนิทานพื้นบ้านภาคกลางของไทย ท่ีมีตัวเอกช่ือ ไกรทอง เล่าไว้หลายสานวนด้วยกัน ภายหลังในสมัย
รัชกาลท่ี 2 ได้ทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทละครสาหรับละครนอก และได้รับความนิยม ยกย่องเป็นฉบับ
มาตรฐานฉบบั หนง่ึ ซงึ่ เป็นเรอื่ งราวความรักเก่ยี วกบั คนและจระเข้
• สงั ขท์ อง

ภาพที่ 30

24

เดมิ ทนี ้นั เป็นบทเลน่ ละครในมมี าแตก่ รุงสุโขทัยยงั เปน็ ราชธานีถงึ กรุงรัตนโกสินทรต์ ่อมาในพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงตัดเรื่องสังข์ทองตอนปลาย (ต้ังแต่ตอนพระสังข์หนีนางพันธุรัต) มาทรงพระ
ราชนิพนธ์ให้ละครหลวงเล่น มีตัวละครท่ีเป็นรู้จักกันเป็นอย่างดี คือ เจ้าเงาะซึ่งคือพระสังข์ กับนางรจนา
เน้ือเรื่องมคี วามสนุกสนานและเปน็ นิยม จงึ มกี ารนาเนื้อเร่อื งบางบททีน่ ิยม ไดแ้ ก่ บทพระสังข์ไดน้ างรจนา
เพ่อื นามาประยกุ ต์เปน็ การแสดงชดุ รจนาเส่ยี งพวงมาลัย

- ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้รับการยกย่องว่า เป็นยุคทองของวรรณคดี
สมัยหน่ึงเลยทีเดียว ด้านกาพย์กลอนเจริญสูงสุด จนมีคากล่าวว่า "ในรัชกาลที่ 2 นั้น ใครเป็นกวีก็เป็นคน
โปรด" กวีทมี่ ีชอ่ื เสียงนอกจากพระองค์เองแลว้ ยงั มีกรมหม่นื เจษฎาบดินทร์ (รัชกาลที่ 3) สมเดจ็ พระมหา
สมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สุนทรภู่ พระยาตรัง และ นายนรินทรธิเบศร์ ซ่ึงทาให้ด้านศิลปกรรม
และวรรณกรรมเจรญิ เป็นอยา่ งมาก โดยจะขอยกผลงานของสนุ ทรภมู่ า ณ ทีน่ ี้
• นริ าศ

นริ าศเมอื งแกลง (พ.ศ. 2349) - แตง่ เมอื่ หลังพน้ โทษจากคุก และเดินทางไปหาพ่อที่เมอื งแกลง
นิราศพระบาท (พ.ศ. 2350) - แต่งหลังจากกลับจากเมืองแกลง และต้องตามเสด็จพระองค์เจ้าปฐม
วงศ์ไปนมัสการรอยพระพุทธบาททีจ่ งั หวดั สระบุรใี นวนั มาฆบชู า
นิราศภูเขาทอง (ประมาณ พ.ศ. 2371) - แต่งโดยสมมุติว่า เณรหนูพัด เป็นผู้แต่ง ไปนมัสการพระ
เจดียภ์ เู ขาทองท่จี งั หวดั อยุธยา
นิราศสุพรรณ (ประมาณ พ.ศ. 2374) - แต่งเมื่อคร้ังยังบวชอยู่ และไปค้นหายาอายุวัฒนะท่ีจังหวัด
สพุ รรณบรุ ี เปน็ ผลงานเรอ่ื งเดยี วของสนุ ทรภู่ที่แต่งเป็นโคลง
นิราศวัดเจ้าฟ้า (ประมาณ พ.ศ. 2375) - แต่งเม่ือคร้ังยังบวชอยู่ และไปค้นหายาอายุวัฒนะตามลาย
แทงท่ีวัดเจ้าฟ้าอากาศ (ไม่ปรากฏว่าท่ีจริงคือวัดใด) ท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทพ สุนทรศารทูลเสนอ
ว่า นริ าศดงั กลา่ วเป็นผลงานของพดั ภเู่ รือหงส์ บตุ รของสุนทรภู่
นิราศอิเหนา (ไม่ปรากฏ, คาดว่าเป็นสมัยรัชกาลที่ 3) - แต่งเป็นเนื้อเรื่องอิเหนาราพันถึงนางบุษบา
เทพ สนุ ทรศารทลู เสนอว่า นิราศดังกล่าวเป็นผลงานของกรมหลวงภวู เนตรนรนิ ทรฤทธ์ิ
ราพันพิลาป (พ.ศ. 2385) - แต่งเมื่อครั้งจาพรรษาอยู่ที่วัดเทพธิดาราม แล้วเกิดฝันร้ายว่าชะตาขาด
จึงบันทกึ ความฝันพรอ้ มราพันความอาภัพของตัวไวเ้ ป็น "ราพนั พลิ าป" จากนน้ั จึงลาสิกขาบท
นิราศพระประธม (พ.ศ. 2385) - เชื่อว่าแต่งเมื่อหลังจากลาสิกขาบทและเข้ารับราชการใน
พระบาทสมเด็จพระป่ินเกลา้ เจา้ อย่หู ัว ไปนมัสการพระประธมเจดยี ์หรือพระปฐมเจดยี ์ ทีเ่ มืองนครชยั ศรี

25

นริ าศเมืองเพชร (พ.ศ. 2388) - แตง่ เมือ่ เขา้ รบั ราชการในพระบาทสมเด็จพระปิน่ เกล้าเจา้ อยูห่ วั เชือ่
ว่าไปธุระราชการอย่างใดอย่างหนึ่ง นิราศเร่ืองนี้มีฉบับค้นพบเนื้อหาเพ่ิมเติมซ่ึง อ.ล้อม เพ็งแก้ว เช่ือว่า
บรรพบรุ ุษฝ่ายมารดาของสุนทรภ่เู ป็นชาวเมืองเพชรบรุ ี
• นิทาน

โคบุตร : เชอ่ื ว่าเป็นงานประพันธ์ชิ้นแรกของสนุ ทรภู่ เป็นเร่อื งราวของ "โคบุตร" ซ่งึ เปน็ โอรสของพระ
อาทติ ย์กบั นางอัปสร แตเ่ ติบโตข้ึนมาด้วยการเลยี้ งดขู องนางราชสีห์

พระอภยั มณี :

ภาพท่ี 31
คาดว่าเร่ิมประพันธ์ในสมัยรัชกาลที่ 2 และแต่ง ๆ หยุด ๆ เรื่อยมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นผลงานช้ิน
เอกของสุนทรภู่ ได้รบั ยกย่องจากวรรณคดสี โมสรให้เป็นสดุ ยอดวรรณคดีไทยประเภทกลอนนิทาน

พระไชยสุริยา : เป็นนิทานที่สุนทรภู่แต่งด้วยฉันทลักษณ์ประเภทกาพย์หลายชนิด ได้แก่ กาพย์ยานี
11 กาพย์ฉบัง 16 และกาพย์สุรางคนางค์ 28 เป็นนิทานสาหรับสอนอ่าน เน้ือหาเรียงลาดับความง่ายไป
ยาก จากแม่ ก กา แมก่ น กง กก กด กบ กม และเกย เชือ่ ว่าแต่งขึ้นประมาณ พ.ศ. 2383 - 2385

ลักษณวงศ์ : เป็นนิทานแนวจักร ๆ วงศ์ ๆ ท่ีนาโครงเรื่องมาจากนิทานพ้ืนบ้าน แต่มีตอนจบที่
แตกต่างไปจากนิทานท่ัวไปเพราะไม่ได้จบด้วยความสุข แต่จบด้วยงานสมโภชศพนางทิพเกสร ชายาของ
ลกั ษณวงศท์ ่ีสิน้ ชวี ิตดว้ ยการสัง่ ประหารของลักษณวงศเ์ อง

สงิ หไกรภพ : เชื่อว่าเร่มิ ประพนั ธ์เมอื่ ครั้งถวายอักษรแดเ่ จ้าฟ้าอาภรณ์ ภายหลงั จงึ แต่งถวายกรมหม่ืน
อัปสรสุดาเทพ และน่าจะหยุดแต่งหลังจากกรมหม่ืนอัปสรสุดาเทพส้ินพระชนม์ สิงหไตรภพเป็นตัวละคร
เอกทแ่ี ตกต่างจากตัวพระในเรอ่ื งอนื่ ๆ เนอื่ งจากเป็นคนรกั เดียวใจเดยี ว
• สภุ าษติ

สวสั ดิรกั ษา : คาดวา่ ประพันธ์ในสมัยรชั กาลที่ 2 ขณะเปน็ พระอาจารยถ์ วายอกั ษรแด่เจา้ ฟ้าอาภรณ์
เพลงยาวถวายโอวาท : คาดว่าประพนั ธใ์ นสมยั รชั กาลที่ 3 ขณะเป็นพระอาจารย์ถวายอักษรแด่เจ้าฟ้า
กลางและเจ้าฟา้ ปว๋ิ

26

สุภาษิตสอนหญิง : เป็นหน่ึงในผลงานซึ่งยังเป็นที่เคลือบแคลงว่า สุนทรภู่เป็นผู้ประพันธ์จริงหรือไม่
เทพสุนทรศารทูลเสนอว่านา่ จะเปน็ ผลงานของภู่ จลุ ละภมร ศิษย์ของสนุ ทรภูเ่ อง
25
• บทละคร

มีการประพันธ์ไว้เพียงเร่ืองเดียวคือ อภัยนุราช ซึ่งเขียนข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี 4 เพื่อถวายพระองค์เจ้า
ดวงประภา พระธิดาในพระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกลา้ เจา้ อยู่หัว
• บทเสภา

ขุนช้างขุนแผนตอนกาเนดิ พลายงาม
เสภาพระราชพงศาวดาร
บทเห่กล่อมพระบรรทม

ด้านการศึกษา

แนวพระราชดาริด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 มีแบบแผน
เช่นเดียวกับในสมัยรัชกาลที่ 1 ท่ีมีลักษณะเป็นวัฒนธรรมแบบไทยโดยเฉพาะ ไม่มีระบบโรงเรียนเช่นใน
ปัจจุบัน ไม่มีครูอาชีพ และ ไม่มีใบรับรองวิทยฐานะ ผู้ที่ได้รับการศึกษาในสมัยนี้จึงมีจานวนท่ีไม่มากนัก
โดยมากมักรับการศึกษาด้านอาชีวศึกษาภายในครอบครัว จนสามารถดาเนินอาชีพของสกุลวงศ์ต่อไปได้
การศึกษาในลักษณะนี้มีกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ความคิด และความเช่ือ ภายในกรอบแนวคิดทาง
พระพุทธศาสนาและภายใตพ้ ระบรมราชูปถมั ภ์จากพระมหากษตั รยิ ์

ภาพท่ี 32

27

บรรณานุกรม

Mda. (2563). ประวัตริ ชั กาลที่1. สืบคน้ 9 ธันวาคม 2563, จาก shorturl.at/HO137
จินตนา เชยี วน้อย. (2555). เศรษฐกจิ และสังคมในรชั กาลที2. สืบค้น 9 ธนั วาคม 2563,

จาก shorturl.at/fpsPV
ชาญวทิ ย์ ปรชี าพาณชิ พฒั นา. (2558). การศกึ ษารัชกาลท2่ี . สบื ค้น 9 ธันวาคม 2563,

จาก shorturl.at/ezIRY
บี. (2562). เศรษฐกิจรัชกาลท่ี1. สบื คน้ 9 ธันวาคม 2563, จาก shorturl.at/bhxX9
พฒั นี นธิ ิวัฒนา. (2561). ศาสนารชั กาลท1ี่ . สืบค้น 9 ธนั วาคม 2563, จาก shorturl.at/hCDH9
สคุ น สนิ ธพานนท์. (2542). สังคมและการเมอื งการปกครอง. สบื ค้น 9 ธันวาคม 2563,

จาก shorturl.at/hG027


Click to View FlipBook Version