The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การแก้ปัญหาการส่งงานในรายวิชาวิทยาการคำนวณ 1 โดยใช้วิธีการส่งงานผ่านระบบห้องเรียนออนไลน์ (Google Classroom) ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kitiya.m, 2022-06-04 07:38:32

วิจัยในชั้นเรียน64

การแก้ปัญหาการส่งงานในรายวิชาวิทยาการคำนวณ 1 โดยใช้วิธีการส่งงานผ่านระบบห้องเรียนออนไลน์ (Google Classroom) ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1

ชอื่ งานวจิ ยั ก
ชือ่ ผูว ิจยั การแกป ญ หาการสงงานในรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ 1 โดยใชว ิธีการสงงานผา นระบบหอ งเรียน
ออนไลน (Google Classroom) ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 1
นางกติ ิยา มิดเดิลตนั

บทคดั ยอ
การวิจัยในคร้ังนี้เปนวิจัยเร่ือง การแกปญหาการสงงานในรายวิชา วิทยาการคำนวณ 1 โดยใชวิธีการสง

งานผานระบบหองเรียนออนไลน (Google Classroom) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ซึ่งมีจุดประสงค
เพื่อแกปญหาการสงงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยประชากรในการทำวิจัย คือ นักเรียน
ช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 1 จำนวน 45 คน ซึ่งใชระยะเวลาในการทำวิจยั 1 ภาคเรยี น คอื ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา
2564

เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ นการวิจยั ครง้ั น้ี เปน เคร่ืองมือทผ่ี จู ดั ทำไดส รางขนึ้ ไดแ ก แบบประเมนิ ความพึงพอใจตอ
การ สง งานผานระบบ google classroom และระบบ google classroom ทเ่ี ปน เครือขายของ website
google เคร่อื งมือของแบบประเมินความพงึ พอใจเปนแบบมาตราการประเมนิ (Rating Scale) 5 ระดบั ตาม
แนวคดิ ของ ลิเคิรท ขอ คำถามจำนวน 6 ขอ โดยใชเกณฑน ้ำหนักคะแนนประเมินคาจัดอันดับความสำคญั และ
สำหรับการ แปลความหมายใชคา เฉลยี่ ของคา ท่ีวัดไดแ ละยึดแนวคดิ ของเบสท (Best, 1986 : 195)

การวิเคราะหขอมูลจะใชส ถิติท่ีใชวิเคราะหปริมาณการสงงานของนกั เรียน คอื คา เฉล่ยี (µ) และรอยละ
(%) สวนการวิเคราะหข อมลู ดานความพงึ พอใจใชสถิตทิ ี่ใชว ิเคราะหขอมูลคอื คาเฉล่ีย (µ) รอยละ(%) และสวน
เบย่ี งเบนมาตรฐาน(σ)

ส า ร บ ัญ ข
บ ท ค ัด ย อ
สารบ ญั หนา
บทท่ี 1 บทนำ ก
ความเปนมา และความสำคญั ของปญหา ข
สมมุตฐิ านการวิจยั 1
วตั ถุป ระ สงค ขอ งก ารวจิ ัย 2
ขอ บ เข ต ขอ งก ารวิจัย 2
ป ระ โย ช น ท ี่ค า ด วา จะ ได รบั 3
น ยิ า ม ศ ัพ ท เฉ พ าะ 3
บทท่ี 2 เอกสารและวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ ง 3
วจิ ัย ใน ช้ัน เรีย น 4
อปุ สรรคของการทำงาน 6
Google Classroom 7
บทที่ 3 วิธีการดำเนนิ งาน 10
ประชากร 10
ระยะเวลาท่ีใชในการทำงาน 10
เค รอื่ งม ือ ท ีใ่ ชใน ก ารวิจัย 10
ข้นั ดำเนินการ 11
ก ารวเิ ค ราะ ห ขอ ม ลู 11
ส ถิต ิท ่ใี ชใน ก ารงวิเค ราะ ห ขอ ม ูล 13
บทท่ี 4 ผลการวิจยั 15
ผ ลก า รวิจยั 15
บทที่ 5 สรปุ ผลการวิจยั อภิปราย และขอ เสนอแนะ 16
สรุป ผ ลก า รวิจยั 17
อ ภ ิป ราย ผล
ขอเสนอแนะในการทำวิจยั
ภาคผนวก

1
บทท่ี 1
บทนำ
ความเปน มาและความสำคญั ของปญ หา
ในโลกและยุคสมัยปจจุบันไดมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา แตละประเทศมีการแขงขันสงู
ในทางดานกิจการงานตาง ๆ มากมาย ไมว า จะเปนทางดานเศรษฐกิจ การเมือง สงั คม การศกึ ษา เทคโนโลยี
เปนตน ประเทศไทยเปนประเทศหน่ึงที่อยูทามกลางกระแสการเปล่ียนแปลงน้ัน เพอ่ื ใหสงั คมกาวทันยุคสมัย
สังคมไทยจงึ ตอ งมีการปรบั เปล่ียนระบบดา นการศกึ ษา เพอื่ เปน การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต สรางเสรมิ คุณลักษณะ
นิสัย ปลูกฝงใหคิดเปน ทำเปน แกปญหาเปน มีความใฝเรียนใฝรู ศึกษาคนควาความรูไดจากส่ือส่ิงอำนวย
ความสะดวกทางดานตาง ๆ โดยเฉพาะทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ กอใหเกิดความคิดท่ีริเริ่มสรางสรรค
ซ่งึ เปนรากฐานของการทำงานของประชากรในอนาคตที่เปน คนยุคใหม กา วทนั โลกแหง ความเจริญในปจจุบัน
และอนาคต สามารถปรับตัว ใหอยูรอด กาวทัน กาวหนา กาวนำ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไดอยางมี
คณุ ภาพ และยั่งยืน
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ แหงชาติ ฉบับท่ี 12 (ประจำป 2564 - 2564)
การเตรียมพรอมดานกำลังคนและการเสริมสรางศักยภาพของประชากรในทุกชวงวัย โดยมุงเนน
การพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนทุนมนุษยท่ีมีศักยภาพสูง ภายใตเง่ือนไขการเปล่ียนแปลง ท่ี
สำคญั ไดแ ก การเปล่ยี นแปลงไปสูโ ครงสรางประชากรสงั คมสูงวัยสมบูรณเม่อื สิ้นสุดแผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี ๑๒
คุณภาพคนยงั มีปญ หาในทุกชวงวัยและสง ผลกระทบตอเน่อื งถึงกันตลอดชวงชีวิต ผลลพั ธทางการศึกษาของ
เดก็ วัยเรยี นคอ นขางตำ่ ดงั น้นั จดุ เนนการพัฒนาคนทสี่ ำคญั ในชวงแผนพฒั นาฯฉบับท่ี ๑๒ มีดงั น้ี
๑) การพัฒนาเด็กใหมีสุขภาพกายและใจที่ดี มีทักษะทางสมอง ทักษะการเรียนรู ทักษะชีวิต
และทกั ษะทางสังคม เพื่อใหเ ตบิ โตอยา งมคี ณุ ภาพ
๒) การหลอหลอมใหคนไทยมีคา นยิ มตามบรรทัดฐานทดี่ ที างสงั คม คนไทยในทกุ ชวงวัยเปน คนดี มีสุข
ภาวะที่ดี มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวนิ ัย มีจติ สานกึ ท่ีดตี อ สังคมสว นรวม
๓) การพฒั นาทกั ษะความรูความสามารถของคน มงุ เนน การพัฒนาทักษะท่เี หมาะสมในแตล ะชว งวัย
เพือ่ วางรากฐานใหเปนคนมีคุณภาพในอนาคต การพฒั นาทักษะสอดคลองกับความตอ งการในตลาดแรงงาน
และทกั ษะทจ่ี ำเปน ตอ การดำรงชีวติ ในศตวรรษท่ี ๒๑ ของคนในแตล ะชว งวัยตามความเหมาะสม เชน เดก็ วัย
เรียนและวัยรนุ พัฒนาทักษะการวิเคราะหอ ยางเปนระบบ มีความคิดสรางสรรค รวมทง้ั การใหความสำคัญ
กบั การพฒั นาใหม คี วามพรอ มในการตอ ยอดพฒั นาทกั ษะในทุกดา น
๔) การเตรียมความพรอมของกาลังคนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในกลุมวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยที จ่ี ะเปลย่ี นแปลงโลกในอนาคตอยางสำคญั
๕) การยกระดับคุณภาพการศึกษาสูความเปนเลิศในทุกระดับและยกระดับการเรียนรู โดยเนน
การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาขั้นพ้นื ฐานทง้ั การบริหารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก ปรับระบบการจัดการเรียน
การสอน และการพัฒนาคุณภาพครูทั้งระบบ รวมท้ังการยกระดับคุณภาพการศึกษาสูความเปนเลิศใน
สาขาวิชาทม่ี คี วามเชย่ี วชาญเฉพาะดา น และพัฒนาระบบทวิภาคหี รือสหกจิ ศกึ ษาใหเอื้อตอ การเตรียมคนที่มี
ทกั ษะใหพ รอ มเขา สูตลาดแรงงาน นอกจากนีต้ อ งใหความสำคญั กบั การสรางปจจยั แวดลอมท่ีเอ้ือตอการเรียนรู
ตลอดชวี ิตทง้ั ส่อื การเรียนรูและแหลงเรยี นรทู ่ีหลากหลาย
พฒั นาเดก็ วัยเรยี นและวยั รุนใหมีทกั ษะการคดิ วิเคราะหอยางเปนระบบ มคี วามคดิ สรา งสรรค มีทกั ษะ
การทำงานและการใชช วี ิตทพ่ี รอมเขาสตู ลาดงาน

2
๑) ปรับกระบวนการเรียนรูท ่ีสงเสริมใหเดก็ มีการเรียนรจู ากการปฏิบัตจิ รงิ สอดคลอ งกบั พฒั นาการ
ของสมองแตละชวงวัย เนนพัฒนาทักษะพื้นฐานดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีดานวิศวกรรมศาสตร
ดา นคณติ ศาสตร ดา นศิลปะ และดา นภาษาตา งประเทศ
๒) สนบั สนุนใหเ ดก็ เขา รวมกจิ กรรมทง้ั ในและนอกหอ งเรยี นท่ีเอือ้ ตอการพัฒนาทักษะชีวิตและทกั ษะ
การเรียนรอู ยางตอ เน่ือง อาทิ การอา น การบำเพญ็ ประโยชนท างสงั คม การดูแลสุขภาพการทำงานรว มกนั เปน
กลมุ การวางแผนชีวิต
๓) สรางแรงจงู ใจใหเด็กเขาสูการศึกษาในระบบทวิภาคีและสหกิจศึกษาท่ีมงุ การฝกทักษะอาชีพให
พรอ มเขา สตู ลาดงาน
แผนงานการสรางสภาพแวดลอมใหเปนแหลงการเรียนรูตลอดชีวิต มุงเนนการพัฒนาพื้นที่แหลง
เรียนรูใหมีชวี ิต ทนั สมยั มีคณุ ภาพและไดม าตรฐานสากลเพ่ือดึงดูดใหคนทุกชวงวัยเกิดความสนใจเขาไปเรียนรู
และมีสวนรวมในการทากิจกรรมมีการศึกษาและพัฒนาแหลงเรียนรู รูปแบบใหมๆ ที่จะชวยเพิ่มพูน
ศักยภาพคนไทยใหสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เชน หองสมุด เสมือน (Virtual Library) ศูนย
ศึกษาบันเทิง (Edutainment Center)เปนตน การสงเสริมการอานการเรียนรู ผานบริการหองสมุดใน
ภูมิภาคที่ทันสมัย สรางโอกาสใหกลุมเด็กเยาวชนสามารถเขาถึงบริการไดอยาง มีคุณภาพ สะดวกและ
รวดเรว็ จดั ใหมเี ครือขายอทุ ยานการเรียนรูในระดับจงั หวดั และภูมิภาค รวมท้งั ประสาน ความรวมมือกับภาคี
เครือขายในชุมชนเพ่ือพัฒนาพิพิธภัณฑทองถ่ินใหเปนพื้นท่ีการเรียนรูประวัติศาสตร วัฒนธรรมดว ยรปู แบบ
ท่ีทันสมยั
การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาการคำนวณ 1 มกี ารเก็บคะแนนแบงออกเปน สองสว น คอื
คะแนนเก็บระหวางภาค 70 คะแนน และคะแนนสอบ ปลายภาค 30 คะแนน รวมเปน 100 คะแนน โดย
คะแนนเกบ็ ระหวางภาคมีสดั สวนคะแนนทมี่ ากกวารอ ยละ 70 ซ่งึ มาจากการทำใบงานหรือช้ินงาน 50
คะแนน และการสอบกลางภาค 20 คะแนน ดังนน้ั การทำใบงานหรือช้ินงานสง ครู จงึ เปน ส่ิงสำคญั ทจ่ี ะใช
ในการประเมนิ ทกั ษะของนกั เรียนในเรื่องนนั้ ๆ
การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาการคำนวณ 1 ใหกบั นกั เรยี นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 1
โรงเรยี นเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห) ไดพ บปญหาและอปุ สรรคจากการสง งาน เชน การสง งานชา หรอื ไม
สง งานของนักเรยี น อยูบอยครั้ง ซงึ่ ทำใหครูไมสามารถวัดทักษะและความกาวหนาของนักเรียนได ดังน้ัน
ครูผูสอนจึงมีความตอ งการท่ีจะแกไ ขปญหาดงั กลา ว ผูวิจยั จงึ ไดจ ดั ทำวิจยั แกป ญ หาการสงงานโดยลดอุปสรรค
ในการสง งานแบบปกติ ใหส งผา น Google Classroom ที่สามารถสงงานไดต ลอดเวลาและทกุ ท่ีทน่ี ักเรียนมี
สัญญาณอนิ เตอรเนต็ เพ่ือใหก ารเรียนการสอนมผี ลสัมฤทธแ์ิ ละประสทิ ธิภาพท่ีสูงข้นึ
สมมตฐิ านการวจิ ยั
สถิติปริมาณการสงงานของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ระหวางการสงงานแบบปกติ และ
การสงงานผาน Google Classroom มีความแตกตา งกนั
วตั ถปุ ระสงคของการวิจยั

1. เพื่อแกป ญ หาการสง งานของนกั เรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 1

3
ขอบเขตของงานวจิ ยั

1. ประชากรในการทำวิจยั คอื นกั เรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 1 จำนวน 45 คน
2. ระยะเวลาคอื ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2564
ประโยชนท ค่ี าดวาจะไดรับ
1. ไดร ับแนวทางแกไ ขปญ หาการจดั การเรยี นการสอนของการสง งานนกั เรยี น ทำให
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยงิ่ ขน้ึ
2. เปน แนวทางในการแกป ญหาการสงงานของนกั เรียนใหก บั ครูผสู อนในรายวิชาอื่น ๆ
นยิ ามศัพทเ ฉพาะ
อปุ สรรค หมายถงึ เครือ่ งขดั ขอ ง ความขดั ขอ ง หรอื เคร่อื งขดั ขวาง เชน อปุ สรรคทำใหเรา
แ ข็งแ ก รง ขึ้น ค น ท ่ีไม เ ค ย เผ ชญิ อ ุป ส รรค จะ ไม ร ูจัก ค วาม สาม ารถท ่ีแ ท จริงขอ งต น เลย
งาน หมายถึง แบบฝกหัดที่ครูใหในชั่วโมงเรียน แบบฝกหัดท่ีครูใหเปนการบาน ใบงาน
รวมถงึ การทำงานเปน กลุมและช้ินงาน
Classroom หมายถึง บริการบนเว็บฟรีสำหรับโรงเรยี น องคก รการกศุ ล และทุกคนท่ีมบี ญั ชี
Google สวนบคุ คล และ Classroom ยังชวยใหผ ูเรยี นและผสู อนเชือ่ มตอ ถึงกนั ไดง าย ทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียน
Join Class หมายถึง การเขารว มชน้ั เรียนผา นระบบ Google Classroom

4
บทที่ 2 เอกสารและงาน วิจยั ท เ่ี กี่ยวของ
แนวทางในการจัดทำวิจัยในเรื่อง การแกปญหาการสงงานในรายวิชาวิทยาการคำนวณ 1 โดยใช
วิธีการสงงานผาน ระบบหองเรียนออนไลน (Google Classroom) ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปท่ี 1
ผูว ิจยั จงึ ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวของโดยเสนอตามลำดบั หวั ขอ ดังนี้
1. วิจยั ในชนั้ เรียน
2. อปุ สรรคของการทำงาน
3. Google Classroom
1. วจิ ยั ในชนั้ เรียน
ความหมายของวิจยั ในชน้ั เรียน
การวิจยั ในชน้ั เรยี นเปน รปู แบบของการวิจยั ทางการศกึ ษาอกี รปู แบบหนงึ่ ซง่ึ เปนการวิจยั ที่ดำเนนิ การ
ควบคูไปกับการปฏิบัติงานของครู โดยมีครูเปนนักวิจยั ท้งั ผลิตงานวิจัย และบริโภคงานวิจัย หรือกลาวอีก
นัยหน่งึ คือ ครูเปนผูทำการวิจัยและนำผลการวิจัยไปใช ดวยลักษณะของการวิจัยในช้ันเรียนจึงมีนักศึกษา
และนักวิจัยหลายทานไดใหความหมายของการวิจัยในช้นั เรียนไวหลากหลายโดยเนน การวิจัยทางการศึกษา
และปฏิบัตกิ ารในหองเรียนดงั นี้
การวิจัยในชนั้ เรียน หากแปลความหมายโดยการแยกคำหลัก ๆ จะเห็นไดวาประกอบดวยคำวา
“การวิจยั ” และ “ชนั้ เรยี น” ซึ่งการวิจยั นัน้ ในบทท่ี 1 ไดอ ธิบายความหมาย ความสำคญั และหลกั การไว
แลว สวนคำวาช้นั เรยี น หากสอื่ ตามความหมายทเ่ี ก่ียวของจะเหน็ ไดว าส่ือถึง ครู นักเรยี น ดงั นน้ั หากหมาย
รวมกันแลวจะเหน็ ไดวา การวิจยั ในช้นั เรียน จะหมายถึงการวิจัยท่เี กี่ยวของกับครูหรือนักเรียน นอกจากน้ี
ความหมายของการวิจยั ในชนั้ เรียนนนั้ ไดมนี กั วิชาการ ไดน ยิ ามความหมายที่คลายคลงึ กนั ดงั น้ี
(Field ,1997 อา งถึงในสุภัทรา เอ้อื วงศ ออนไลน 2554) การวิจยั ในช้นั เรียน เปน การวิจยั เพื่อ
หานวัตกรรมสำหรับแกปญหาหรือเพ่ือพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน ซ่ึงเนนในลักษณะการวิจัย เชงิ
ปฏิบัตกิ าร (Action Research) โดยมีปญ หาการเรียนรเู ปน จุดเร่มิ ตน ผูสอนหาวิธีการ หรือนวัตกรรม เพ่ือ
แกปญหา มีการสังเกตและตรวจสอบผลของการแกปญหา/การพัฒนา แลวจึงบันทึกและสะทอนการ
แกป ญ หาหรือการพฒั นานนั้ ๆ การวิจยั ในชนั้ เรียนมักเปนการวิจยั ขนาดเล็ก (Small scale) ทด่ี ำเนินการโดย
ผสู อน เปน กระบวนการทผ่ี สู อนสะทอ นการปฏบิ ัตงิ าน และเสรมิ พลังอำนาจใหค รผู สู อน
(รัตนะ บัวสนธ,2544) การวิจัยในชั้นเรียน เปนการแกปญหาและ /หรือพัฒนางานท่ีเก่ียวกบั
การเรียนการสอนในช้ันเรียนโดยอาศัยกระบวนการวิจัยในการดำเนินงานทั้งนี้มีเปาหมายสำคัญท่ีอยูที่
การเรยี นรทู ีส่ ำคญั ของผูเรยี นใหเ ปนไปตามวัตถปุ ระสงคท ี่กำหนดไวในหลกั สูตรการศกึ ษาในแตล ะระดบั
(ส. วาสนา ประวาลพฤกษ,2541)การวิจัยในช้ันเรียน เปนวิธีการศึกษาคนควาท่ีสะทอนตัวครู
และกลุมผูรวมปฏิบัตงิ านในสถานการณสงั คม เพ่ือคน หาลักษณะที่เหมาะสมของรปู แบบการพฒั นาคุณภาพ
การปฏิบัติงานใหสอดคลองกับภาวะของสังคมหรือสถานการณ ดวยความรวมมือของเพื่อนครู ผูบริหาร
สถานศกึ ษา ผูปกครอง ตลอดจนสมาชิกในสงั คมที่เกี่ยวของ มีจดุ มุงหมายเพื่อพินจิ พเิ คราะหการกระทำของ
ตนเองและกลุม เพ่ือพัฒนาเพ่ิมพูนความรูเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนและการเรียนรู อันเปนผลจากการ
เปลี่ยนแปลงแบบมีแผน ดงั นนั้ การวิจยั ในชัน้ เรียน จงึ ไมใ ชเปนเพยี งการแกปญหา แตจะเปนการตงั้ ปญหา

5
จากแรงกระตนุ ของผวู ิจยั ทตี่ อ งการเปลย่ี นแปลงพฒั นาแลวปฏิบตั สิ งั เกต สะทอ นกลับเปนวฏั จกั รของการวิจยั
ทห่ี มนุ ไปเรอ่ื ย ๆ เพอ่ื การเปลยี่ นแปลงทีย่ ่ังยนื และสรางภาพลกั ษณข องการเรยี นการสอนใหม ีคณุ ภาพย่งิ ขน้ึ

สวนความสำคญั ของการวิจยั ในชน้ั เรยี นนนั้ จะเห็นไดว าการวิจยั ในชน้ั เรยี นนัน้ มุงแกป ญ หาและ/หรือ
พัฒนางานที่เก่ียวกับการเรียนการสอนในชั้นเรียน ซึ่งตองบังเกิดประโยชนแกนักเรียนใหในการพัฒนา
การเรยี นรูอยแู ลว และตองสงผลตอ ผลงานของครูผูสอนและโรงเรียนตามมา และนอกจากนก้ี ารวิจยั ในชั้น
เรียนน้ียังสอดคลองกับแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด4 แนวการจัด
การศกึ ษา มาตรา 24(5) สงเสริมสนับสนนุ ใหครผู ูส อนสามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอม ส่ือการเรยี นรู
และมีความรอบรู รวมท้งั สามารถใชก ารวิจัยเปนสวนหนง่ึ ของกระบวนการเรยี นรู ทั้งนผี้ ูสอนและผูเรยี นอาจ
เรียนรูไปพรอมกันจากการเรียนการสอนและแหลงวิทยาการประเภทตางๆ มาตรา 30 สงเสริมใหผูสอน
สามารถวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับผูเรียนในแตละระดับการศึกษาในห ลักสูตรการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 ไดกลาวถึงการวิจัย ในกระบวนการจัดการศึกษา ของผูเก่ียวของ ดังเชน ศึกษา
คนควา วิจัยเพ่ือพัฒนาส่ือการเรียนรูใหสอดคลองกับกระบวนการเรียนรูของผูเรียน ใหผูสอนนำ
กระบวนการวิจยั มาผสมผสานหรอื บูรณาการใชในการจดั การเรยี นรเู พือ่ พฒั นาคุณภาพของผูเรยี นและเพือ่ ให
ผเู รยี นเกดิ การเรียนรูสามารถใชกระบวนการวิจยั เปน สวนหน่ึงของกระบวนการเรยี นรู

สุวัฒนา สุวรรณเขตนคิ (2555) กลาววา การวิจยั ในชั้นเรียน คอื กระบวนการแสวงหาความรอู ันเปน
ความจริงท่ีเชือ่ ถือไดใ นเนอื้ หาเกย่ี วกบั การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อพฒั นาการเรยี นรูของนักเรียน
ในบริบทของขนั้ เรยี น การวิจยั ในช้ันเรยี นมีเปาหมายสำคญั อยูท ่กี ารพัฒนางานการจดั การเรยี นการสอนของครู
ลักษณะของการวิจัยเปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) คือ เปนการวิจัยควบคูไปกับ การ
ปฏิบัตงิ านจรงิ โดยมีครูเปน ทง้ั ผูผลิตงานวิจยั และผูบริโภคผลการวิจัย หรือกลาวอกี นัยหน่ึงคอื ครูเปน
นกั วิจยั ในชน้ั เรียนครูนกั วิจยั จะตงั้ คำถามท่ีมีความหมายในการพฒั นาการจดั การเรียนการสอน แลวจะวางแผน
การปฏิบัติงานและการวิจัย หลักจากน้ันครูจะดำเนินการการจัดการเรียนการสอนไปพรอม ๆ กับทำ
การจัดเก็บขอมูล ตามระบบขอมูลท่ีไดวางแผนการวิจัยไว นำขอมูลท่ีไดมาวิเคราะหสรุปผลการวิจัย นำ
ผลการวิจัยไปใชในการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนแลวพฒั นาขอความรทู ่ีไดน้นั ตอ ไปใหม ีความถกู ตอ ง
เปนสากลและเปนประโยชนม ากย่งิ ข้ึนตอการพัฒนาการเรยี นการสอนเพือ่ พฒั นานักเรยี นของครูใหมีคณุ ภาพ
ย่งิ ๆ ข้นึ ไป

โดยท่ัวไปแลวประชากรเปาหมายของการวิจัยในชั้นเรียนจะถูกจำกัดเปนกลุมนักเรียนในความ
รับผิดชอบของครูนกั วิจัยเทานั้น และขอความรูที่ไดมักจะมีความเฉพาะคือจะเกี่ยวกับสภาพปญหาและผล
การพฒั นานักเรยี นในชนั้ เรยี นของครนู กั วิจยั เปน สำคญั

สรุปไดวาวิจัยในชั้นเรียนคือ การคนควาเพื่อแกไขปญหาของครูและนักเรียน ในการจัดการเรียน
การสอนเพ่ือใหบรรลุซ่ึงเปาหมายและพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพท่ีดีย่ิงขึ้น โดยมีการวางแบบแผน
การปฏิบัติการอยางมีระบบ ข้ันตอนและสืบคน หาขอมูลเพ่ือนำมาแกไ ขปญ หาเหลานัน้ ท่ีเกิดในช้ันเรียนของ
ครผู สู อน

ความสำคญั ของวิจยั ในชน้ั เรยี น
สุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม (2555) กลาววา การทำวิจัยในชัน้ เรียนนน้ั จะชว ยใหครูมีวิถีชีวิตของ
การทำงานครูอยางเปนระบบเห็นภาพของงานตลอดแนว มีการตัดสินใจที่มีคุณภาพ เพราะจะมองเห็น
ทางเลือกตา ง ๆ ไดก วา งขวางและลึกซง้ึ ขน้ึ แลวจะตัดสนิ ใจเลือกทางเลอื กตา ง ๆ อยา งมีเหตผุ ลและสรางสรรค
ค รูน ัก วิจัย จะ ม โี อ ก า ส ม าก ข้ึน ใน ก า รค ิด ใค รค รวญ เก ย่ี วก ับ เห ต ุผ ลข อ งก า รป ฏ ิบ ัต ิงา น แ ละ ค รูจะ สาม า รถบ อ ก ได ว า งาน
การจัดการเรียนการสอนที่ปฏิบัติน้ันไดผลหรือไมเพราะอะไร นอกจากนี้ครูที่ใชกระบวนการวิจัยใน

6
การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนน้ีจะสามารถควบคุม กำกับ และพัฒนาการปฏิบัติงานของตนเองได
อยางดี เพราะการทำงาน และผลของการทำงานน้ันลวนมีความหมาย และคุณคาสำหรับครูในการพัฒนา
นักเรียน ผลจากการทำวิจัยในช้ันเรียนจะชวยใหครูไดตัวบง ชี้ท่ีเปนรูปธรรมของผลสำเร็จในการปฏิบัติงาน
ของครู อันจะนำมาซ่ึงความรูในงานและความปติสุขในการปฏิบัติงานท่ีถูกตองของครู เปนท่ีคาดหวังวา
เมอื่ ครูผสู อนไดท ำการวิจัยในชั้นเรียนควบคไู ปกบั การปฏิบัตงิ านสอนอยา งเหมาะสมแลวจะกอ ใหเ กิดผลดีตอ
วงการศกึ ษา และวชิ าชพี ครูอยางนอ ย 3 ประการ คอื

1. นักเรยี นจะมกี ารเรยี นรทู ีม่ คี ณุ ภาพและประสทิ ธิภาพยงิ่ ข้นึ
2. วงวิชาการการศึกษาจะมีขอความรแู ละ/ หรือนวัตกรรมทางการจัดการเรียนการสอนที่เปนจรงิ
เกดิ มากขน้ึ อนั จะเปน ประโยชนตอ ครแู ละเพ่อื นครใู นการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนเปนอยา งมาก
3. วิถีชีวิตของครู หรือวัฒนธรรมในการทำงานของครู จะพัฒนาไปสูความเปนครูมืออาชีพ
(Professional Teacher) มากยง่ิ ขน้ึ ท้ังน้เี พราะครูนกั วิจยั จะมคี ณุ สมบตั ขิ องการเปน ผูแสวงหาความรูห รือ
ผูเรียน (Learner) ในศาสตรแหงการสอนอยางตอเนื่องและมีชีวิตชีวา จนในท่ีสุดก็จะเปนผูท่ีมีความรู
ความเขาใจที่กวา งขวาง และลึกซ้งึ ในศาสตรและศิลปแหง การสอนเปนครูท่ีมีวิทยายุทธแกรงกลาในการสอน
สามารถท่ีจะสอนนกั เรียนใหพัฒนากา วหนาในดา นตา ง ๆ ในหลายบริบทหรือท่ีเรยี กวาเปนครูผูรอบรู หรอื ครู
ปรมาจารย (Maser Teacher) ซึ่งถา มีปริมาณครนู ักวิจยั ดงั กลาวมากขน้ึ จะชว ยใหก ารพัฒนาวิชาชพี ครูเปน
อยางสรา งสรรคแ ละมั่นคง
สรปุ ไดว าการจดั ทำวิจยั ในช้นั เรยี นจะชวยใหค รูสามารถวิเคราะหถงึ ปญหาของผูเรยี นและวิเคราะหไ ด
ถงึ ปญ หาในการจัดการเรียนการสอนของครูผูสอนไดอ ยา งลกึ ซ้งึ เน่อื งจากครูผูสอนจะสามารถรูและเขาใจถึง
ปญหาท่ีเกิดกับผูเรียนไดโดยตรง เม่ือทราบถึงปญหาครูผูสอนสามารถทำการวิจยั เพ่ือสืบคน หาหนทางหรือ
วธิ กี ารแ ก ไ ข ได อ ย า งต รงเป าห ม าย ท ำให ผูเรีย น ม ีป ระ สิท ธภิ าพ แ ละ ค ุณ ภ า พ ท ี่ด มี าก ย ง่ิ ขึ้น
2. อปุ สรรคของการทำงาน
2.1 ขาดความพรอมในการทำงาน
บางคนมาทำงาน แตย งั ทำตัวเปน เดก็ ๆ ทำงานแบบเดก็ ๆ ไมมีความรับผิดชอบมากพอ เม่ือคณุ กาว
เขาสูโลกของการทำงาน คุณควรบอกตัวเองวาตอนน้ีคุณคือผูใหญแลว คุณไมใชเด็กอีกตอไป คุณจะตอง
รับผิดชอบงานทีไ่ ดรบั มอบหมายอยางเตม็ ความสามารถ อยาลืมวาคณุ จะตอ งพสิ จู นใ หนายจา งเห็นวา คณุ มี
ความสามารถและสามารถผา นการทดลองงานได
2.2 ไมช ำนาญในงานท่ที ำ

เน่อื งจากคณุ เพิง่ เรยี นจบ และงานทคี่ ุณไดร บั มักเปน ส่ิงทแี่ ปลกใหม ไมเ คยทำ ไมเคยเรียนมากอ น
เรอื่ งความชำนาญจงึ เปน อปุ สรรคอยางหน่งึ คณุ อาจรสู ึกวางานยากเกินไปสำหรบั คณุ แตเมอื่ คุณเรียนรมู ันสกั
ระยะหนงึ่ คณุ จะรูส ึกชนิ กบั มัน และสามารถทำงานไดอ ยางสบายใจขน้ึ

2.3 ขาดกำลงั ใจ
เวลาท่ีเจอกบั งานยาก บางครั้งคณุ อาจรูสึกทอ แทและหมดกำลงั ใจ จนคดิ วาคุณไมมีความสามารถ

คุณไมอาจทำมันใหสำเร็จไดอยางที่นายจางตองการ หากความรูสึกน้ีเกิดขึ้น คณุ ควรจะเตมิ ความมนั่ ใจให
ตัวเองใหเ ตม็ และหมนั่ เตมิ อยูเ ร่อื ย ๆ อยาปลอ ยใหค วามรูสึกขาดกำลงั ใจมาบ่ันทอนคุณ ถา นายจางคณุ คดิ วา
คณุ ทำไมได เขาคงไมใ หค ณุ ทำงานนี้หรอก ดงั น้ัน เมื่อเขามัน่ ใจในตวั คณุ แลวไยคณุ ถึงไมมน่ั ใจในตวั เองละ

7
2.4 ทีมไมเ วิรก

การทำงานเปน ทมี คอื การรวมตวั ของคนหลายคน จงึ ตอ งมกี ารปรบั ตัวใหทกุ ๆ คน สามารถทำงาน
รวมกันไดอยางราบร่ืน แตก็อาจมีบอยครั้งที่คนในทีมทำงานคลอมจังหวะกันบางคนชาเกินไป บางคนเร็ว
เกินไป ควรจะตอ งมกี ารตกลงทำความเขา ใจวาจะทำงานกนั อยา งไร จงึ จะทำใหท มี ของคณุ ประสบความสำเร็จ

2.5 ขาดมนษุ ยสมั พนั ธท ี่ดี
คนทเ่ี ปนพนกั งานใหม แนน อนจะตอ งเปนฝายที่เขา หาผอู ื่น เพอ่ื แนะนำตวั คณุ ใหผอู ่นื รจู กั และขอ

คำแนะนำจากพวกเขา เมื่อเวลาผานไปสักระยะหน่ึงคุณก็จะมีเพ่ือนมากมาย ที่เขาสามารถใหคำแนะนำ
และชวยเหลอื คุณในเร่อื งตาง ๆ ได แตส ิง่ ท่ีเปนปญหาคอื พนกั งานใหมบ างคนขาดมนุษยสัมพันธที่ดกี บั ผอู ่ืน
ไมวาจะดวยความขอ้ี าย พูดนอย หรือม่นั ใจในตัวเองมากจนไมสนใจผูอนื่ คิดวาตนเองสามารถอยูคนเดียว
ทำงานคนเดยี วได จงึ ทำตวั ไมนา รัก ไมนา เอน็ ดู และในท่ีสดุ ก็จะถูกโดดเดยี่ วจากเพื่อนรว มงาน ในทางกลบั กัน
คนที่รจู กั เขาหาผูอื่น มีนิสัยรา เริง เขา กบั คนงาย มกั จะเปน ทรี่ ักของคนในที่ทำงาน เม่อื ตองการความชวยเหลือ
ใด ๆ กจ็ ะมีแตค นยินดใี หค วามชวยเหลือ

สรุปไดว าการอปุ สรรคในการทำงานมปี จ จยั จากภายนอกในหลายดา นทำใหผทู ำงานไมสามารถทำงาน
ใหบรรลุสูเปาหมายของตนเองที่วางไวได ไมวาจะเปนดานความพรอมในการทำงาน งานท่ีทำนน้ั ไมมีความ
ชำนาญหรือความรูเกี่ยวกับงานท่ีทำ ไมมกี ำลงั ใจตองานที่ทำหรือเกิดจากการที่ทำงานนั้นไมไดแลวเกิดความ
ทอแทสิ้นหวังทีมหรือกลุมท่ีทำงานรวมกันไมมีความสามัคคีขาดการวางแผนและรวมมือกัน และขาด
มนษุ ยสัมพนั ธทด่ี ที ำใหไ มไดร ับการชว ยเหลอื จากผูอ ่ืน และทำงานไดล าชาลงในทส่ี ุด
3. Google Classroom

Classroom คือบริการบนเว็บฟรีสำหรับโรงเรียน องคกรการกุศล และทุกคนท่ีมีบัญชี Google
สวนบุคคล และ Classroom ยังชวยใหผูเรียนและผูสอนเช่ือมตอถึงกันไดงาย ท้ังภายในและภายนอก
โรงเรียน

ตั้งคางา ย ครูสามารถสรางชน้ั เรียน เชิญนักเรียน และผูสอนรวม จากน้ันครูจะสามารถแชรขอมูล
ตา งๆ ไดแ ก งาน ประกาศ และคำถามในสตรมี ของช้นั เรียนได

ประหยัดเวลาและกระดาษ ครูสามารถสรางช้ันเรียน แจกจายงาน ส่ือสาร และจัดรายการตางๆ
ใหเปนระเบียบอยเู สมอไดใ นทแ่ี หงเดยี ว

จัดระเบียบไดดีขนึ้ นักเรียนสามารถดูงานไดในหนางาน ในสตรีมของชั้นเรียน หรือในปฏิทินของ
ชนั้ เรียน โดยเน้ือหาประกอบทง้ั หมดของชั้นเรยี นจะเกบ็ ไวในโฟลเดอร Google ไดรฟโ ดยอตั โนมตั ิ

การส่อื สารและการแสดงความคิดเหน็ ทป่ี รบั ปรุงขนึ้ ครูสามารถสรา งงาน สงประกาศ และเริม่ การ
อภิปรายในช้นั เรียนไดทันที นักเรยี นก็สามารถแบงปนแหลง ขอ มูลรวมกับเพ่ือนๆ และโตตอบกันไดในสตรมี
ของชั้นเรียนหรือผานทางอีเมล ครูสามารถดูไดอยางรวดเร็ววาใครทำงานเสร็จหรือไมเสร็จบาง ตลอดจน
สามารถแสดงความคดิ เห็นและใหค ะแนนโดยตรงไดแ บบเรียลไทม

ใชไ ดก บั แอปท่ีคณุ ใชอ ยู Classroom ใชไ ดก บั Google เอกสาร, ปฏทิ ิน, Gmail, ไดรฟ และฟอรม
ประหยดั และปลอดภยั Classroom ใหคณุ ใชง านฟรี ไมมีโฆษณา และไมใชเนือ้ หาของคณุ หรือขอ มลู
ของนกั เรยี นเพอื่ การโฆษณา

8

คณุ ลักษณะและประโยชนของ Classroom
Classroom เปนชุดเคร่อื งมือเพิ่มประสทิ ธิภาพท่ีใชง านไดฟ รี โดยมที ้งั อเี มล เอกสาร และพนื้ ที่เกบ็ ขอ มูล
Classroom ผา นการออกแบบมารว มกบั ครูเพอื่ ชวยประหยดั เวลา จดั ชน้ั เรยี นใหเปน ระเบียบ และปรับปรงุ
การส่อื สารกบั นกั เรียน

ผใู ช สิง่ ท่ีคณุ ทำไดโ ดยใช Classroom

ครู สรางและจดั การชน้ั เรียน งาน และคะแนน แ สด งค วา ม
ค ิด เห ็น แ ละ ให ค ะ แ น น ได โ ด ย ต รงใน แ บ บ เรยี ล ไท ม 

นกั เรยี น ตดิ ตามงานของชัน้ เรียนและเนือ้ หาประกอบการเรยี น
แบง ปน แหลง ขอมูลหรอื โตต อบกบั เพอื่ นรว มชนั้ ในสตรมี ของชนั้ เรียนหรือทางอเี มล
สง งาน
รับความคิดเห็นและคะแนน

ผูป กครอง รบั อเี มลสรุปงานของนกั เรยี น ซ่ึงอเี มลสรุปนจ้ี ะมขี อ มลู เกย่ี วกบั งานทไ่ี มไดส ง งานทใ่ี กลค รบ
กำหนด และกิจกรรมของช้นั เรียน

หมายเหต:ุ ผปู กครองไมสามารถลงช่ือเขา ใช Classroom ไดโดยตรง แตต อ งรบั อเี มลสรุปผาน
บัญชีอ่นื

ผดู ูแล สราง ดู หรอื ลบชั้นเรียนในโดเมน
ระบบ เพ่ิมหรือนำนกั เรยี นและครอู อกจากชนั้ เรยี น

ดงู านในชนั้ เรียนทกุ ชั้นในโดเมน

เพ่มิ นกั เรียนไดง า ย นกั เรยี นสามารถเขารวมชัน้ เรียนโดยใชร หัส ทำใหคณุ มีเวลาในการสอนมากข้นึ
จดั การหลายชน้ั เรยี น นำประกาศ งานที่มอบหมาย หรือคำถามท่มี อี ยูแ ลว จากชัน้ เรียนอ่นื มาใชซ 
าได แชรโพสตก บั ช้นั เรยี นตา งๆ และเกบ็ ชัน้ เรยี นไวเพื่อนำขอ มูลมาใชในอนาคต

รว มกนั สอน สอนหลักสตู รรว มกบั ผูสอนคนอน่ื ๆ ไดถ ึง 20 คน
แผน งานแบบคลกิ เดียวสรา งเอกสารแยกสำหรับนักเรียนแตล ะคนไดเ พียงคลกิ เดยี วโดยใชเ ทมเพลต
แ ผนงาน

งานทีม่ ีสอื่ การสอนหลายรปู แบบ ใสส อ่ื ตางๆ ในงานทมี่ อบหมาย เชน วิดโี อ YouTube, แบบสำรวจ
Google ฟอรม, PDF และรายการอ่นื ๆ จากไดรฟ ครูและนักเรยี นสามารถวาด เขยี นโนต และไฮไลตใน
เอกสารและไฟล PDF ในแอป Classroom ในอุปกรณเ คลื่อนที่ได

ปรับแตงงานท่ีมอบหมาย ใสวนั ท่ีครบกำหนด จัดทำคาคะแนนท่ีกำหนดเอง และติดตามไดวาให
คะแนนงานใดแลว บาง

เตรยี มการสอนลว งหนา จดั ทำโพสตแ ละงานฉบับราง หรอื กำห น ด เว ลา ให โพ ส ต ใ น ส ต รมี ข อ งชั้น เรีย น
ใน วนั เวลาอ ื่น โด ย อ ัต โน ม ัต ิ

9

คำถามทา ยบทเรยี นและแบบสำรวจความคิดเห็นดว น โพสตคำถามถึงนกั เรียน จากน้นั ดผู ลลพั ธใน
Classroom

ปรับธมี ของชนั้ เรียน เปลี่ยนสีเริ่มตน หรอื ภาพธมี เริ่มตนของชนั้ เรยี น
เกบ็ ทรพั ยากรไวใ นที่เดยี ว จัดทำหนา ทรพั ยากรของชนั้ เรยี นเพือ่ เกบ็ เอกสาร เชน ประมวลรายวชิ า
หรอื กฎของชน้ั เรยี น
จดั ระเบียบใหนกั เรยี น Classroom จะสราง Google ปฏทิ นิ ใหกบั ชั้นเรียนแตละชน้ั และบันทกึ งาน
และวนั ทคี่ รบกำหนดลงในปฏทิ ิน นกั เรียนสามารถดงู านทีก่ ำลงั จะครบกำหนดสงในสตรมี ของชน้ั เรียน ในหนา
งานของตวั เอง หรือในปฏิทนิ ของชั้นเรยี นได
จดั ระเบยี บใหครู ตรวจทานงานของนักเรียน ทง้ั งานที่มอบหมาย คำถาม คะแนน และความคดิ เห็น
เกา ๆ ดงู านแบบทลี ะชั้นเรยี นหรอื ทกุ ช้ันเรยี นพรอ มกนั และจดั เรยี งตามงานทตี่ อ งตรวจทาน
จัดระเบียบใหชั้นเรียน ครูสามารถจัดระเบียบสตรีมของช้ันเรียนไดโดยการเพ่ิมหัวขอลงในโพสต
และกรองสตรมี ตามหัวขอ
ใหค ะแนนไดง า ยและเร็ว จดั เรยี งนักเรียนตามช่ือหรอื นามสกลุ ดวู าใครสง งานแลว รางคะแนนครา วๆ
เพ่ือแชรกับนักเรียนในภายหลงั และเพ่ิมความคดิ เห็นสวนตัว นอกจากน้ยี ังสามารถเพม่ิ คำอธิบายประกอบ
และความคดิ เห็นแบบรปู ภาพสำหรบั งานของนกั เรยี นไดใ นแอป Classroom ในอุปกรณเ คลอื่ นที่
โอนคะแนน สง ออกคะแนนสรุปสดุ ทายเปน Google ชตี หรอื ไฟล CSV เพอื่ นำไปอปั โหลดทีอ่ ื่น รวม
กบั เคร่ืองมอื การสอนอน่ื ๆ ทชี่ อบ ซงิ คช ้นั เรยี นใน Classroom กบั แอปพลเิ คชันของพารทเนอร งาน
เด่ีย ว ค รูสาม ารถโพ ส ต งา น แ ละ ป ระ ก าศ ถึงน ัก เรีย น แ ต ละ ค น ใน ช้ัน เรีย น ได 
ดังนน้ั การทำงานผานระบบ Google Classroom จะเปนการทำงานท่ีงายผานเครือขายระบบ
อนิ เตอรเ น็ต ซงึ่ สามารถเชอื่ มตอ การทำงานระหวางครู นกั เรียน และผูป กครองไดง ายไมว า จะอยนู อกโรงเรยี น
นักเรียนสามารถตรวจสอบงาน สง งานครูผานระบบออนไลน Google Classroom นไ้ี ดตลอดเวลาไมวา
นักเรียนจะอยทู ่ไี หนกจ็ ะสามารถสง งานไดท นั และครบตามกำหนดโดยไมจำเปน ทจี่ ะตอ งมาสง กบั ครดู ว ยตนเอง
ลดปญหาการหาครไู มเจอ สง งานไมท นั เวลา หรอื สงงานไมครบ

10

บทที่ 3
วธิ กี ารดำเนนิ งาน

วิจยั เรือ่ ง การแกป ญ หาการสงงานในรายวชิ าวิทยาการคำนวณ 1 โดยใชว ิธีการสง งานผา นระบบ
หอ งเรียนออนไลน (Google Classroom) ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ
แกปญหาหรือลดอุปสรรคในการสงงานของนักเรียนโดยเปรียบเทียบ ระหวางการสงงานแบบปกตกิ บั การ
สงงานผาน Google Classroom มรี ายละเอียดดงั น้ี

1. กลมุ ประชากร
กลุมประชากร คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาล

สงเคราะห) จำนวน 45 คน
2. ระยะเวลาทใี่ ชใ นการทำงาน
ระยะเวลาทีใ่ ชในการทำวิจยั ตลอดภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2564
3. เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการวจิ ยั
- การสง งานผานระบบ Google Classroom
- แบบประเมินความพงึ พอใจ
4. ขนั้ ดำเนนิ การ
1. ศกึ ษาปญหาและอปุ สรรคทีท่ ำใหนกั เรยี นสง งานชา หรอื ไมคอ ยสงงาน
2. ใช Google classroom ในการแกไ ขปญ หาทางดา นการสงงานของนกั เรียนระดับชน้ั

มัธยมศึกษาปท่ี 1
2.1 ขั้นเตรียมแนะนำวิธีการใช google classroom กับนักเรียน โดยการใช

นักเรยี นสมคั ร e-mail ของตวั เองท่เี ปน ของ G-mail เพ่ือสรางความเขา ใจในการใชง าน google classroom
ใหกบั นักเรียน

2.2 ขั้นสอน ครูสอนนักเรียนในบทเรียนท่ีกำลังเรียนในขณะนี้แลวส่ังใบงานให
นักเรยี นไดท ำแลวใหนกั เรียนทดลองสงงานผาน google classroom

3. เช็คปริมาณงานและประเมนิ ผลจากการทีน่ กั เรยี นสงงานผา นระบบ google classroom
จากนั้นนำปริมาณที่ไดมาคิดหาคาเฉล่ีย หรือ รอยละของปริมาณงานท่ีนักเรียนสงผานระบบ google
classroom

4. การสรางแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนในการสงงานผานระบบ google
classroom

4.1 ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวของกบั การสรางแบบประเมินความพึงพอใจ

11
เพ ือ่ น ำม าเป น แ น ว ท างใน ก ารสรางแ บ บ สอ บ ถาม ค วา ม พ งึ พ อ ใจ

4.2 ศึกษาวิธีสรางแบบประเมินความพงึ พอใจ และกำหนดรูปแบบแบบสอบถาม
จากเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวของ

4.3 ออกแบบแบบประเมินความพงึ พอใจ ตอ การแกปญหาการสงงานในรายวิชา
วิทยาการคำนวณ 1 โดยใชวิธีการสงงานผานระบบหอ งเรยี นออนไลน (Google Classroom) ของนักเรยี น
ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 1

มาตราการประเมิน (Rating Scale) 5ระดับ ตามแนวคิดของลิเคิรท ขอ คำถาม
จำนวน 6 ขอ โดยใชเ กณฑน ้ำหนักคะแนนประเมนิ คา จดั อันดบั ความสำคญั ดงั นี้

5 หมายถึง เห็นดว ยมากที่สดุ
4 หมายถึง เห็นดว ยมาก
3 หมายถึง เหน็ ดว ยปานกลาง
2 หมายถึง เหน็ ดว ยนอ ย
1 หมายถงึ เห็นดว ยนอ ยทส่ี ุด
สำหรบั การแปลความหมายใชค าเฉลย่ี ของคาที่วัดไดแ ละยึดแนวคิดของเบสท (Best, 1986 :
195) ดงั นี้
1.00 - 1.50 หมายถึง เห็นดว ยอยูในระดบั นอ ยท่ีสดุ
1.51 - 2.50 หมายถึง เหน็ ดว ยอยูในระดบั นอ ย
2.51 - 3.50 หมายถงึ เห็นดว ยอยูในระดบั ปานกลาง
3.51 - 4.50 หมายถึง เหน็ ดว ยอยูในระดบั มาก
4.51 - 5.00 หมายถงึ เหน็ ดว ยอยูในระดบั มากท่ีสดุ
5. การวเิ คราะหข อ มลู
ผูวิจัย ด ำเน ิน ก า รวิเค รา ะ ห ขอ ม ูล เพ ่ือ ให ส อ ด ค ลอ งก ับ วัต ถุป ระ ส งค ข อ งก า รวิจัย ด ว ย วิธีก า รท า ง
สถิติ ดงั นี้
1.วิเคราะหรอยละของปริมาณการสงงานของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จำนวน
นักเรยี นประชากรท้งั หมด 45 คน
2. วิเคราะหค าเฉลยี่ แบบประเมินความพึงพอใจ ของนักเรียนระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 1 ที่ใช
วิธีการสงงานผา นระบบ google classroom
3. ผูวิจัยไดใชวิธีการทางสถิติวิเคราะหขอมูล โดยการหาคาคะแนนเฉลี่ย คารอยละวิเคราะห
ขอมูลโดยใช Microsoft Excel หลังจากวิเคราะหขอมูลแลวทำการแปลผลและนำเ ส น อ ใ น ร ูป ต า ร า ง
ป ระ ก อ บ ค วาม เรยี งแ ลว สรปุ ผ ลก ารวิจัย โด ย ก ารบ รรย าย
6. สถติ ิท่ใี ชใ นการวิเคราะหข อ มลู
6.1 สถิตทิ ใ่ี ชใ นการวิเคราะหข อ มูล
6.1.1 คา เฉลยี่ เลขคณติ ประชากร (จตภุ ัทร เมฆพายัพ, 2557 : 46-47) โดยใชส ตู ร

กำหนดให xi แทนขอมูลหนว ยที่ i ของประชากรขนาด N
ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตประชากรหาไดจากผลรวมของขอมูลประชากรท้ังหมดหารดวย
ขนาดของประชากร เขียนแทนดว ยสัญลักษณ “µ”

12
6.1.2 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานประชากร (Standard Deviation) (จตภุ ัทร เมฆพายพั , 2557
: 75-76) โดยใชส ูตร

สว นเบ่ียงเบนมาตรฐานประชากรเขยี นแทนดว ยสัญลกั ษณ “σ” หาไดจ ากรากท่ีสองของ
ความแปรปรวน หรือ σ2

6.1.3 ความแปรปรวนประชากร (จตภุ ัทร เมฆพายพั , 2557 : 82-83) โดยใชสูตร

ความแปรปรวนหาไดจ ากคาเฉลย่ี ของผลตางกำลงั สองระหวางขอมลู และคา เฉล่ียของขอมูล
6.2 หาคา สถิตพิ ้ืนฐาน ไดแ ก

6.2.1 รอยละ(Percentage) (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545 : 102-105)

P= f × 100
N

เมอื่ P แทน รอ ยละค วาม ถ่ีท ่ีต อ งการแ ป ลงให เป น
f แทน รอ ย ละ จำนวนคะแนนในกลุม
N แทน

13

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข อ มูล

ในการวิจยั คร้งั นีเ้ ปน การวิจยั เพือ่ แกป ญหาการสงงานในรายวิชาวทิ ยาการคำนวณ โดยใชวิธีการสง
งานผานระบบ หองเรียนออนไลน (Google Classroom) ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 1 ไดว ิเคราะห
ขอ มูลทางดา นสถิตไิ ดด งั นี้
ตารางที่ 1 แสดงการสง งานผานระบบ google classroom ของนักเรียนมัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 จำนวน
45 คน
จำนวน จำนวน
ช้ินงาน ปรมิ าณ นักเรียน รอ ยละ นักเรยี น สง รอยละ จำนวน รอยละ จำนวน รอยละ
ท่ี นกั เรยี น ไม Join งาน ตาม นกั เรียน นกั เรียน
Class สงงานชา ไมส ง งาน
กำหนด
1 45 12 26.67 17 37.78 3 6.67 13 28.88
2 45 12 26.67 19 42.22 5 11.11 9 20.00
รวม
คาเฉลี่ย 45 12 26.67 18 40.00 4 8.89 11 24.44

จากตารางท่ี 1 พบวา จำนวนนกั เรียนทไี่ ม Join Class คดิ เปน คา เฉลีย่ รวม (µ=12) คิดเปน รอ ยละ
26.67 ของจำนวนนกั เรยี นทั้งหมด
จำนวนนักเรียนท่ีสงงานตามกำหนด คิดเปนคาเฉลี่ยรวม (µ=18) และคิดเปนรอยละ40 ของ
จำนวนนักเรียนทง้ั หมด เมือ่ พิจารณาเปนช้ินงานจะเหน็ วา สามารถเรียงลำดับจำนวนนกั เรียนท่ีสง งาน ตาม
กำหนดจากมากไปหานอย ไดดงั น้ี ชน้ิ งานที่ 2 จำนวนนักเรียนท่ีสงงานตามกำหนด คิดเปนรอยละ42.22
ของนักเรียนท้ังหมด และชนิ้ งานที่ 1 จำนวนนักเรียนท่ีสงงานตามกำหนด คดิ เปนรอ ยละ37.78 ของนกั เรยี น
ทั้งหมด
จำนวนนักเรียนท่ีสงงานชา คิดเปนคาเฉลี่ยรวม (µ=4) และคิดเปนรอยละ8.89 ของจำนวน
นักเรียนท้ังหมด เมอื่ พจิ ารณาเปน ชนิ้ งานจะเหน็ วา สามารถเรยี งลำดบั จำนวนนักเรยี นสงงานชา จากมากไปหา
นอย ไดดังน้ี ชิ้นงานที่ 2 จำนวนนักเรียนท่ีสงงานชา คิดเปนรอยละ11.11 ของนักเรียนท้ังหมด และ
ช้นิ งานที่ 1 จำนวนนักเรียนที่สงงานชา คดิ เปน รอ ยละ6.67 ของนกั เรียนทง้ั หมด
จำนวนนักเรียนที่ไมสงงาน คิดเปนคาเฉลี่ยรวม (µ=11) และคิดเปนรอยละ24.44 ของจำนวน
นักเรยี นทั้งหมด เมือ่ พิจารณาเปน ช้นิ งานจะเหน็ วา สามารถเรยี งลำดบั จำนวนนักเรยี นทไี่ มสง งานจากมากไป
หานอย ไดดังน้ี ชิ้นงานท่ี 1 จำนวนนักเรียนท่ีไมสงงาน คิดเปนรอยละ28.88 ของนักเรียนท้ังหมด และ
ชิน้ งานที่ 2 จำนวนนกั เรียนทไ่ี มส งงาน คดิ เปนรอ ยละ 20.00 ของนกั เรยี นทงั้ หมด

14

ตารางที่ 2 แสดงคา เฉลี่ยความพึงพอใจของนักเรยี น ท่มี ตี อ การสง งานผา นระบบ google classroom
ขอที่ หวั ขอ การประเมนิ µ σ ระดบั คุณภาพ
1 ความเขาใจในการใชระบบ google classroom 4.92 0.28 มากที่สดุ
ประหยดั เวลาในการสง งานลดขนั้ ตอนและอปุ สรรคในการ 5.00 0.00 มากท่สี ดุ
2 สงงาน

3 ใชไ ดเหมาะสมกบั วิชาท่ีเรียน 5.00 0.00 มากที่สดุ
4 สามารถนำไปใชในวชิ าอื่น ๆ ได 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ
5 สามารถสงงานไดตรงตามเวลาท่กี ำหนด 4.97 0.17 มากที่สดุ
มีความตองการทใี่ ชร ะบบ google classroom ในการสง 4.98 0.15 มากที่สดุ
6 งานตอไป

รวม 4.98 0.12 มากที่สุด
จากตารางท่ี 2 พบวา นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 มีความพงึ พอใจในการใชร ะบบ google
classroom ในการสง งานคดิ เปน คาเฉล่ีย (µ =4.98) และ (σ = 0.12) ซงึ่ อยใู นระดบั คณุ ภาพมากทส่ี ดุ เม่อื
พจิ ารณาเปนรายขอแลว พจิ ารณาจากมากไปหานอยได ดงั น้ี ดา นประหยดั เวลาในการสงงาน ลดขน้ั ตอนและ
อปุ สรรคในการสง งาน ดานใชไ ดเ หมาะสมกบั วิชาท่ีเรียน และดานนำไปใชในวิชาอนื่ ๆ ไดมีความพึงพอใจ
มากท่ีสุด มีคาเฉลี่ย (µ =5.00) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(σ = 0.00) ดา นมคี วามตอ งการทใี่ ชร ะบบ google
classroom ในการสง งานตอ ไป มีคาเฉลย่ี (µ =4.98) สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(σ = 0.15) มีความพึงพอใจ
ในระดับมากท่ีสุด สามารถสงงานไดตรงตามเวลา ท่ีกำหนด มีคาเฉลี่ย(µ =4.97) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(σ = 0.17) มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และดานความเขาใจในการใชระบบ google classroom
มีคาเฉลีย่ (µ =4.92) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(σ = 0.28) มีความพึงพอใจในระดบั มากทสี่ ุด ตามลำดบั

15

บทท่ี 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ

สรปุ ผลการวิจยั
การวิจยั ในครัง้ นเี้ ปน วจิ ยั เรอ่ื ง การแกป ญ หาการสงงานในรายวิชาวทิ ยาการคำนวณ 1 โดยใชวิธีการสง

งานผา นระบบหองเรียนออนไลน (Google Classroom) ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 1 ซ่งึ มจี ดุ ประสงค
เพอ่ื แกป ญหาการสง งานของนกั เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 โดยประชากรในการทำวิจยั คอื ของนกั เรียน
ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 จำนวน 45 คน ซึ่งใชร ะยะเวลาในการทำวิจยั 1 ภาคเรยี น คอื ภาคเรียนที่ 1 ป
การศกึ ษา 2564

เคร่อื งมือทใ่ี ชใ นการวิจยั ครงั้ น้ี เปนเครื่องมือท่ีผูจัดทำไดส รางข้ึนไดแ ก แบบประเมนิ ความพึงพอใจตอ
การสงงานผา นระบบ google classroom และระบบ google classroom ท่เี ปนเครือขายของ website
google เครือ่ งมอื ของแบบประเมนิ ความพึงพอใจเปนแบบมาตราการประเมนิ (Rating Scale) 5 ระดบั
ตามแนวคดิ ของลิเคริ ท ขอ คำถามจำนวน 6 ขอ โดยใชเ กณฑน ำ้ หนักคะแนนประเมินคาจัดอันดบั ความสำคัญ
และสำหรับการแปลความหมายใชคา เฉลยี่ ของคา ท่ีวัดไดแ ละยึดแนวคดิ ของเบสท (Best, 1986 : 195)

การวิเคราะหข อมูลจะใชสถติ ิที่ใชว ิเคราะหปรมิ าณการสงงานของนกั เรียน คอื คา เฉล่ยี (µ) และรอยละ
(%) สวนการวิเคราะหขอมูลดานความพึงพอใจใชสถิติที่ใชวิเคราะหขอมูลคือ คาเฉลี่ย (µ)รอยละ(%) และ
สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(σ)
อภิปรายผล

จากผลการวิจยั เร่อื ง การแกปญ หาการสงงานในรายวิชาวิทยาการคำนวณ 1 โดยใชว ิธีการสง งาน
ผา นระบบหอ งเรียนออนไลน (Google Classroom) ของนักเรยี นระดับมัธยมศกึ ษาปท่ี 1 สามารถอภปิ ราย
ผลไดด งั นี้

1. จากผลการวิจยั พบวา มีจำนวนนักเรยี นทไี่ ม Join Class ในปรมิ าณนอ ย มีจำนวนนักเรยี นทีส่ งงาน
ผา นระบบ Google Classroom ตามกำหนดต่ำกวาครึง่ หนึ่งของจำนวนนักเรยี นทงั้ หมด แตม ีจำนวนนักเรียน
สงงานในปรมิ าณทเี่ พ่มิ ขึ้นจากการสงงานในครงั้ แรก และมีจำนวนนักเรยี นท่ีสง งานชา ในปรมิ าณนอ ยมาก สว น
นักเรียนทไี่ มสง งานนนั้ มีปริมาณนอยกวาจำนวนนกั เรยี นที่สงงานตามกำหนด

2. จากผลการประเมนิ ความพึงพอใจพบวา นกั เรียนมีความพึงพอใจในการสง งานผา นระบบ google
classroom ในระดบั มากทส่ี ุด โดยพิจารณาจากการประเมินเปนรายขอ ไดว า นักเรยี นมีความเขาใจในระบบ
google classroom ในระดบั มากที่สดุ มคี วามประหยดั เวลาในการสง งาน ลดขั้นตอนและอุปสรรคในการสง
งาน ในระดบั มากทสี่ ุด มกี ารใชร ะบบไดเหมาะสมกบั วิชาทเ่ี รียนในระดบั มากที่สุด สามารถนำไปใชใ นวิชา
อื่น ๆ ได ในระดบั มากทส่ี ุด นั่นคอื นกั เรียนมกี ารคดิ ตอ ยอดและประยกุ ตวธิ ีการสง งานของตนในรายวชิ าอ่ืน ๆ
ได สามารถสงงานไดตรงตามเวลาที่กำหนดไดในระดับมากที่สุด และนักเรียนยังมีความตองการที่ใชระบบ
google classroom ในการสง งานตอ ไป ในระดบั มากที่สดุ

16
จะเห็นไดวาการสงงานผานระบบ google classroom น้ัน นักเรียนไมสามารถ Join Class ไดครบ
ตามจำนวนนักเรียนทั้งหมด ซึ่งมาจากปจจัยดานอื่น เชน นักเรียนไมมาเรียนในวันที่สอนใชงาน Google
Classroom และนกั เรียนมีพฤติกรรมไมสนใจเรียน ถึงแมว า จำนวนนักเรียนท่ีสงงานตามกำหนดจะต่ำกวา
คร่ึงหนึ่งของจำนวนนักเรียนทั้งหมด แตจำนวนนักเรียนที่สงงานตามกำหนดมีมากกวาคร่ึงหน่ึงของจำนวน
นกั เรยี นที่ Join Class ซึง่ จำนวนนกั เรียนสงงานตามกำหนดมีมากขนึ้ จากการสง งานในครง้ั แรก หากมีจำนวน
ชิ้นงานที่มากกวานี้ คาดวาอาจทำใหจำนวนนักเรียนที่สงงานตามกำหนดมีมากขึ้น สวนความพึงพอใจของ
นักเรียนน้ันมีความรู ความสนใจ และอยากใหมีการใช Google Classroom เปนวิธีการสงงานในครั้งตอไป
แตขัดแยงกับจำนวนนักเรียนที่สงงานตามกำหนด นั่นหมายความวา ระบบ Google Classroom ยังไม
สามารถปรับพฤติกรรมการสงงานของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ไดดีเทาท่ีควร เพียงแตสามารถ
ชวยอำนวยความสะดวกในการสงงานมากขึน้ เทา นัน้
ขอ เสนอแนะในการทำวจิ ยั
1. ควรทำวิจยั เพอ่ื แกไ ขปญ หาการจดั การเรยี นการสอน โดยการสอนผานระบบ Google Classroom
2. ควรทำวิจยั เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นผา นระบบ Google Classroom

ภาคผนวก

แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรยี นทมี่ กี ารสง งานผา นระบบ google classroom

คำชแี้ จง เขยี นเครอื่ งหมาย ✓ในชองที่ตรงกบั ระดบั ความพงึ พอใจของนกั เรยี น

ขอ รายการ นอยทส่ี ดุ ระดบั ความพึงพอใจ มากที่สดุ
นอย ปาน มาก
ความเขาใจในการใชระบบ google
classroom กลาง

1

2 ประหยัดเวลาในการสงงาน ลดขน้ั ตอน
และอุปสรรคในการสง งาน
3 ใชไดเหมาะสมกบั วิชาที่เรยี น
4 สามารถนำไปใชในวชิ าอ่ืน ๆ ได
5 สามารถสง งานไดต รงตามเวลาทกี่ ำหนด
มีความตอ งการทใ่ี ชระบบ google
6 classroom ในการสง งานตอไป

รวม

รูปภาพท่ี 1 การสงงานชนิ้ งานท่ี 1 ผานระบบ Google Classroom
ของนกั เรยี นระดบั มัธยมศึกษาปที่ 1

รปู ภาพท่ี 2 การสงงานช้ินงานที่ 2 ผานระบบ Google Classroom ของนกั เรียน
ระดบั มัธยมศึกษาปท่ี 1


Click to View FlipBook Version