ก
คำนำ
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรือ่ งไฟฟา้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้จัดทำข้ึนให้สอดคล้องกับธรรมชาติของวิชาและ
สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และหลักสูตร
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560) เพ่ือให้นกั เรยี นสามารถนำไปใช้ได้อยา่ ง
เหมาะสม ชุดกจิ กรรมการเรียนรชู้ ดุ น้ี ผู้สอนไดจ้ ดั ทำข้นึ เพอ่ื เป็นคูม่ ือในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้
ร่วมกับแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สืบเสาะหาความรู้และ
สรา้ งความรู้ใหม่ สามารถคดิ วิเคราะห์ สอ่ื สารใหเ้ ขา้ ใจตรงกัน
มจี ิตวิทยาศาสตร์ ตลอดจนเชื่อมโยง และนำความรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้
การจดั ทำชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งไฟฟ้า รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ว23102) กลมุ่ สาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เสร็จสมบูรณ์ได้ เพราะได้รับความ
อนุเคราะห์จากผูเ้ ชี่ยวชาญหลายท่านท่ีได้ใหค้ ำปรกึ ษา แนะนำ จึงขอขอบพระคณุ ไว้ ณ โอกาสน้ี และหวัง
เป็นอย่างย่ิงว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดนี้ จะช่วยพัฒนานักเรียน ให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ สามารถ
เรยี นรู้ได้ตลอดชวี ติ ตามเจตนารมณ์ท่ตี งั้ ไว้
ข
คำช้ีแจง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ืองไฟฟ้า รายวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เนอื้ หาแบ่งออกเป็นเร่ืองยอ่ ยทงั้ หมด 5 ชดุ ดงั นี้
ชดุ ที่ 1 เรือ่ ง ความตา่ งศกั ย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟา้
ชดุ ท่ี 2 เรอ่ื ง การใชพ้ ลังงานไฟฟ้า
ชุดท่ี 3 เรื่อง การใชเ้ ครื่องใชไ้ ฟฟา้ ในบา้ นอย่างประหยัดและปลอดภยั
ชดุ ท่ี 4 เร่อื ง การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน
ชุดที่ 5 เรือ่ ง อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นวงจรไฟฟ้า
แต่ละชุดประกอบด้วย คำนำ คำชี้แจง คำแนะนำสำหรับครู คำแนะนำสำหรับ
นักเรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้ กิจกรรม แนวคำตอบ
กิจกรรม แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ซึ่งจัดทำข้ึนเพ่ือให้
นักเรียนใช้เรียนในห้องเรียน นักเรียนต้องเรียนรู้ด้วยตนเองโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ผู้สอนคอย
กำกับดูแล และช่วยเหลือ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แลกเปล่ียน
เรยี นรใู้ นขนั้ ตอนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามแผนการจดั การเรียนรูท้ ีผ่ ู้สอนจัดทำข้ึน
สารบญั ค
เรือ่ ง หนา้
คำนำ ก
สารบญั ข
คำชี้แจงในการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรูส้ ำหรบั ครู ค
คำช้ีแจงในการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนรู้สำหรับนักเรียน ง
สาระสำคัญ 1
สาระการเรยี นรู้ 1
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1
แบบทดสอบก่อนเรยี น เรอื่ ง การใช้เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าในบ้านอยา่ งประหยดั และปลอดภัย 2
ใบความรู้ เรอ่ื ง การใชเ้ ครอื่ งใช้ไฟฟา้ ในบ้านอย่างประหยัดและปลอดภยั 5
กจิ กรรมที่ 1 เรอ่ื ง การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟา้ อยา่ งประหยดั และปลอดภยั 18
กิจกรรมท่ี 2 เรือ่ ง ปรมิ าณกระแสไฟฟา้ ทมี่ ผี ลต่อร่างกายและการประหยัดไฟฟา้ 19
กิจกรรมท่ี 3 เกมการใชอ้ ปุ กรณ์ไฟฟา้ อยา่ งปลอดภัย 20
กิจกรรมที่ 4 แผนผงั ความคดิ เรอ่ื ง การใช้เครือ่ งใช้ไฟฟา้ ในบ้านอย่างประหยัดและปลอดภยั 22
แบบทดสอบหลังเรียน เร่อื ง การใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในบา้ นอย่างประหยดั และปลอดภัย 23
แนวคำตอบกิจกรรมท่ี 1 เรอ่ื ง การใชเ้ คร่ืองใช้ไฟฟ้าอยา่ งประหยดั และปลอดภยั 26
แนวคำตอบกจิ กรรมที่ 2 เร่ือง ปรมิ าณกระแสไฟฟา้ ท่มี ีผลตอ่ ร่างกายและการประหยดั ไฟฟ้า 27
แนวคำตอบกจิ กรรมที่ 3 เกมการใชอ้ ุปกรณไ์ ฟฟา้ อย่างปลอดภยั 28
แนวคำตอบกิจกรรมที่ 4 แผนผงั ความคดิ เร่ือง การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ในบา้ นอยา่ งประหยดั
และปลอดภัย 29
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรอื่ ง การใช้เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ในบ้านอย่างประหยัดและปลอดภยั 30
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น เรือ่ ง การใชเ้ ครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ในบ้านอย่างประหยัดและปลอดภยั 31
บรรณานกุ รม 32
ง
คำช้ีแจงในการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้
สำหรบั ครู
1. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ เรื่องไฟฟา้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมด
5 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรือ่ ง ความตา่ งศักย์ไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ และความตา้ นทานไฟฟา้
ชดุ ที่ 2 เร่ือง การใชพ้ ลังงานไฟฟา้
ชดุ ท่ี 3 เรื่อง การใชเ้ คร่อื งใชไ้ ฟฟ้าในบา้ นอย่างประหยดั และปลอดภัย
ชดุ ที่ 4 เร่อื ง การต่อวงจรไฟฟา้ ในบา้ น
ชุดท่ี 5 เรอ่ื ง อปุ กรณท์ ี่ใช้ในวงจรไฟฟา้
2. ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดนค้ี ือ ชุดท่ี 3 เรื่อง การใช้เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าในบา้ น
อยา่ งประหยัดและปลอดภัย ใช้เปน็ ส่อื การเรียนรปู้ ระกอบการใช้แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 เรื่อง การใช้
เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าในบา้ นอยา่ งประหยดั และปลอดภยั และแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 เรอ่ื ง อนั ตรายจาก
กระแสไฟฟา้ และการปฐมพยาบาล หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 ไฟฟ้า
3. ครูควรศกึ ษาคำแนะนำในการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้ใหเ้ ขา้ ใจกอ่ นจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
4. ครตู ้องชแ้ี จงขนั้ ตอนการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรใู้ หน้ กั เรียนเข้าใจทกุ คน
ก่อนดำเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ
5. ถา้ นกั เรยี นศึกษาชดุ กจิ กรรมการเรียนรูไ้ มเ่ ขา้ ใจ ครคู วรแนะนำเพม่ิ เติม อาจใหน้ ักเรยี นได้
ปฏิบัตกิ ิจกรรมท้ังในและนอกเวลาเรียน จะทำใหผ้ ู้เรยี นมีทักษะ
และมคี วามรู้ความเขา้ ใจมากยิง่ ขึน้
จ
คำช้ีแจงในการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
สำหรบั นักเรยี น
1. ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ เรือ่ งไฟฟา้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ชดุ นคี้ อื ชดุ ท่ี 3 เรอื่ ง การใช้เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ใน
บา้ นอย่างประหยัดและปลอดภัย
2. ตรวจสอบชดุ กจิ กรรมการเรียนรวู้ า่ ครบถ้วนหรอื ไม่ ถา้ ไมค่ รบถว้ นต้องแจ้ง
ครูผู้สอนทนั ที
3. ศกึ ษาจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรขู้ องชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ ก่อนทจี่ ะเร่ิมศกึ ษา
หาความรใู้ นลำดับตอ่ ไป
4. นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน จำนวน 10 ข้อ
5. ศกึ ษาชดุ กิจกรรมการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองตามลำดับทจ่ี ดั ไว้ในชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
เมื่อเข้าใจแลว้ ทำกิจกรรมให้ครบทุกกิจกรรม
6. ศึกษาชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ดว้ ยความเอาใจใส่ และมคี วามซื่อสตั ยไ์ มเ่ ปดิ ดเู ฉลยกอ่ น
7. เม่อื ศึกษาเนื้อหาและทำกจิ กรรมในชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้เสรจ็ แลว้ ตรวจสอบ
ความถกู ต้องจากเฉลย
8. นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น จำนวน 10 ขอ้
9. ในกรณีท่นี ักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี นได้ไมถ่ งึ 8 ข้อ ให้นักเรยี นย้อนกลบั ไป
ศกึ ษาชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ชุดนีใ้ หม่ แลว้ ทำแบบทดสอบหลังเรยี นอีกคร้ังจนกว่าจะไดค้ ะแนน
ตามเกณฑ์
10. เมื่อมีปัญหาใด ๆ เช่น ไม่เข้าใจเนอื้ หา สามารถขอคำแนะนำจากครู
ไดต้ ลอดเวลา
-1-
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ เรื่องไฟฟา้ รายวิชาวิทยาศาสตร์
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3
ชดุ ท่ี 3 เรอ่ื งการใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟ้าในบา้ นอยา่ งประหยัดและปลอดภยั
สาระสำคัญ
การเลือกเคร่อื งใช้ไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งานและใช้อย่างถูกวธิ ี ชว่ ยให้ประหยัด
พลงั งานไฟฟ้าในบา้ น และมีความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งใช้ไฟฟา้
สาระการเรียนรู้
1. เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ทใ่ี หพ้ ลงั งานแสงสวา่ ง
2. เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ที่ใหพ้ ลงั งานความร้อน
3. เครอื่ งใช้ไฟฟา้ ท่ใี หพ้ ลงั งานกล
4. อันตรายจากกระแสไฟฟา้ และการปฐมพยาบาล
จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกวธิ ีการเลอื กเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ภายในบ้านอย่างเหมาะสมได้
2. บอกแนวทางในการประหยดั พลังงานไฟฟา้ ในบา้ นได้
-2-
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เร่ือง การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ในบา้ นอยา่ งประหยัดและปลอดภยั
คำสง่ั ให้นักเรยี นเลือกคำตอบทถ่ี ูกทสี่ ดุ เพียงคำตอบเดียว แล้วทำเคร่อื งหมายกากบาท (X)
ลงในกระดาษคำตอบ
1. ข้อใดเป็นการใช้เตารดี ที่ทำใหป้ ระหยัดไฟฟา้ ได้มากทสี่ ดุ
ก. เลือกเตารดี ท่ีมีกำลังไฟต่ำ
ข. ปรับปุ่มควบคุมอุณหภูมบิ ่อยครั้ง
ค. รีดผ้าบอ่ ยครงั้ แต่ละคร้งั มีผา้ น้อยชนิ้
ง. รดี ผา้ นอ้ ยครง้ั แตล่ ะครั้งมีผา้ มากช้ิน
2. เพือ่ ประหยดั พลังงานและประหยัดเงนิ ในการซอ้ื เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าไมค่ วรคำนึงถึงข้อใด
ก. ราคายุตธิ รรม
ข. รปู แบบทันสมัย สวยงาม
ค. ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5
ง. การสูญเสียพลังงานไฟฟ้า
3. ปรมิ าณของกระแสไฟฟ้าเมื่อเข้าส่รู ่างกายแลว้ ทำให้กลา้ มเน้ือกระตกุ รนุ แรง หัวใจเตน้ ผดิ ปกติ
ตรงกบั ขอ้ ใด
ก. มากกวา่ 2 มิลลิแอมแปร์
ข. มากกว่า 10 มิลลิแอมแปร์
ค. มากกวา่ 25 มลิ ลแิ อมแปร์
ง. มากกวา่ 100 มิลลิแอมแปร์
4. ข้อใดกลา่ วไมถ่ กู ต้องเกย่ี วกับการใชห้ ลอดไฟอยา่ งปลอดภัย
ก. เมอ่ื จะเปล่ียนหลอดไฟควรดบั หรือตดั วงจรไฟฟา้ สวา่ งน้ัน
ข. ไมน่ ำวสั ดทุ ีต่ ดิ ไฟงา่ ย เช่น ผ้า กระดาษ ปิดคลมุ หลอดไฟฟา้
ค. ขั้วหลอดต้องหลวมเพราะเวลาเปลย่ี นหลอดจะไดเ้ ปลย่ี นได้โดยงา่ ย
ง. ถ้าเปน็ หลอดฟลูออเรสเซนต์ ไม่ควรปล่อยให้ไฟกระพรบิ อยเู่ สมอ
-3-
5. ขอ้ ใดเปน็ เหตผุ ลท่ีไม่ควรนำอาหารท่รี ้อนไปแชใ่ นตเู้ ยน็
ก. ความร้อนจากอาหารทำใหผ้ นงั บภุ ายในต้เู ยน็ เสยี หายเรว็ ขึ้น
ข. ต้เู ย็นตอ้ งทำงานมากกวา่ ปกติ และส้ินเปลืองพลงั งานไฟฟา้
ค. ทำให้สิ่งของอืน่ ๆ ในตเู้ ย็นเสยี หายได้
ง. ภาชนะทีใ่ ส่อาจจะร้อนแตกร้าวได้
6. การใชต้ ู้เยน็ ไมค่ วรปฏิบตั ติ ามข้อใด
ก. ละลายน้ำแข็งท่จี ับติดผนังชอ่ งทำน้ำแข็งบอ่ ยครง้ั
ข. ทำความสะอาดแผงระบายความรอ้ นบ่อย ๆ
ค. แชอ่ าหารแน่นตู้ เพ่ือจะได้ไมเ่ สียพ้ืนท่ี
ง. เปดิ ประตูต้แู ล้วรีบปดิ
7. ข้อใดเป็นการกระทำทช่ี ว่ ยประหยัดค่าไฟฟา้ ได้
ก. แอนรดี ผ้าคร้ังละจำนวนน้อย
ข. ญาญา่ หุงขา้ วสำหรบั รับประทานครง้ั ละมื้อ
ค. หมากเสยี บปลัก๊ กระตกิ นำ้ ร้อนโดยใหร้ ้อนตลอดเวลา
ง. ณเดชน์ต้งั ตเู้ ยน็ ให้หา่ งจากฝาผนงั อยา่ งน้อย 15 เซนตเิ มตร
8. เมื่อมีผถู้ กู ไฟฟา้ ดดู ในบ้าน สิง่ แรกที่ควรทำตรงกบั ข้อใด
ก. ใชผ้ ้าคล้องดึงตวั ผถู้ ูกไฟดดู ออกมา
ข. โทรศพั ท์บอกสำนกั งานไฟฟา้
ค. รีบยกสะพานไฟเพอื่ ตดั ไฟ
ง. รบี ตดั สายไฟ
9. การตรวจไฟฟา้ รั่วทเ่ี คร่ืองใช้ไฟฟา้ วธิ ีการทเ่ี กดิ ความปลอดภยั และทำได้งา่ ยทีส่ ดุ
ตรงกับขอ้ ใด
ก. ดทู คี่ ่าไฟ
ข. ใช้มิเตอรว์ ัด
ค. ใชม้ ือตรวจดู
ง. ใชไ้ ขควงตรวจไฟ
-4-
10. พฤตกิ รรมข้อใดทค่ี วรกระทำมากท่สี ุด
ก. พบผู้ป่วยประสบอนั ตรายจากสายไฟฟา้ ในบ้านให้รบี ตัดกระแสไฟฟา้ ในบา้ น
และใช้ไม้แหง้ ๆ เข่ียผปู้ ่วยออกจากสายไฟ
ข. พบผ้ปู ่วยประสบอนั ตรายจากสายไฟใหร้ บี ตรงไปเอามอื ดงึ ผู้ป่วยออกจากสายไฟ
ทันที เพราะถา้ ชา้ ผูป้ ว่ ยอาจตายได้
ค. อาบนำ้ เสรจ็ เอือ้ มมือปิดสวิตซไ์ ฟในหอ้ งน้ำกอ่ นเพื่อประหยัดไฟแล้วคอ่ ยเช็ดตวั
ให้แหง้
ง. ถอดเต้าเสียบเตารดี ออกทกุ ครงั้ เมอ่ื ใชเ้ สรจ็ โดยดงึ ท่สี ายไฟตรงตอ่ กับเตา้ เสยี บ
-5-
ใบความรู้
การใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในบา้ นอย่างประหยดั และปลอดภัย
เครือ่ งใช้ไฟฟา้ เปน็ อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ท่ีเปล่ียนพลังงานไฟฟา้ ใหเ้ ป็นพลังงานรูปอ่ืน เช่น เปล่ยี นเปน็
พลงั งานแสงสวา่ ง พลังงานเสียง พลงั งานความรอ้ น พลงั งานกล เป็นต้น การเลือกซ้ือเคร่ืองใช้ไฟฟา้
ทเี่ หมาะสมกับสมาชิกในครอบครวั รวมถึงการดูแลรักษาใหอ้ ยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ านจะทำใหล้ ดคา่ ใช้จา่ ย
ภายในบา้ นได้ ซึ่งเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ แตล่ ะประเภทจะมีลักษณะแตกต่างกนั ไป ดงั นี้
เครื่องใช้ไฟฟ้าทใี่ ห้พลังงานแสงสว่าง
เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ทเี่ ปล่ียนพลังงานไฟฟา้ ให้เป็นพลังงานแสงสว่าง คอื หลอดไฟฟ้า ซงึ่ แบง่ ออกเปน็
4 ชนิด ดังน้ี
1. หลอดธรรมดาหรอื หลอดแบบมีไส้ (incandescent lamp)
มีลกั ษณะเปน็ เปาะแกว้ ใส ภายในไส้หลอดทำดว้ ยโลหะทงั สเตนกับออสเมียม
ขดเปน็ สปรงิ ในกระเปาะแก้วบรรจแุ ก๊สไนโตรเจนและอารก์ อน เม่ือกระแสไฟฟ้าผา่ นไสห้ ลอด
ท่ีมีความตา้ นทานสูงมากจะมคี วามร้อนสูงจนเปลง่ แสงสว่างออกมาได้
ภาพท่ี 1 หลอดธรรมดาหรือหลอดแบบมไี ส้
ทีม่ า : http://www.sriyapai.ac.th/wiwisci/t1.html
-6-
2. หลอดฟลอู อเรสเซนต์ (fluorescent lamp) หรอื หลอดนอี อน
มีหลายรูปแบบ ภายในเป็นสญุ ญากาศ ซึ่งบรรจไุ อปรอทไวเ้ ล็กนอ้ ย ผวิ ดา้ นในฉาบด้วย
สารเรืองแสง เม่อื กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นไอปรอท อะตอมของปรอทจะคายรังสอี ลั ตราไวโอเลตออกมา
ซ่งึ เมือ่ กระทบกับสารเรืองแสงทีฉ่ าบไว้ทผ่ี ิวจะเปลง่ แสงสวา่ งออกมา
ภาพท่ี 2 หลอดฟลูออเรสเซนตห์ รือหลอดนอี อน
ทมี่ า : http://www.sriyapai.ac.th/wiwisci/t1.html
3. หลอดคอมแพ็คฟลอู อเรสเซนต์ (CFL) หรือหลอดตะเกยี บ
เปน็ หลอดกา๊ ซดสี ชารจ์ ความดนั ต่ำเหมือนกับหลอดฟลอู อเรสเซนต์ทัว่ ไปทีม่ แี สงสวา่ งเกิดจาก
การยงิ อิเลก็ ตรอนผ่านกา๊ ซและไอปรอททำใหเ้ กิดรงั สีตกกระทบบนสารเรอื งแสงทีเ่ คลือบอยู่บนผิวหนา้
ดา้ นในของหลอด จึงทำใหเ้ กดิ การเรอื งแสงเปน็ แสงสว่างท่นี ำมาใชง้ านได้ โดยมีการใช้ไฟฟา้ ตำ่ กวา่
หลอดไส้ประมาณ 70-80% ในขณะท่มี ปี ริมาณแสงสวา่ งออกมาจากตัวหลอดเทา่ กนั
ภาพที่ 3 หลอดคอมแพค็ ฟลูออเรสเซนตห์ รือหลอดตะเกยี บ
ทม่ี า : http://www.sriyapai.ac.th/wiwisci/t1.html
-7-
4. หลอด LED
สามารถเปล่งแสงได้เมือ่ จ่ายกระแสไฟฟา้ เขา้ เพยี งเลก็ น้อยเท่านน้ั และประสทิ ธภิ าพ
ในการให้แสงสว่างกย็ ังดกี วา่ หลอดไฟขนาดทว่ั ๆ ไป
ภาพท่ี 4 หลอด LED
ทีม่ า : http://www.rcthai.net/webboard/viewtopic.php?f=118&t=560914
ข้อดีของแอลอีดี
- ประสิทธภิ าพในการใหแ้ สงสว่างดีกวา่ หลอดไฟธรรมดาทว่ั ๆ ไป
- ตวั หลอด LED เอง เมอ่ื ทำใหเ้ กิดแสงขึ้นจะกนิ กระแสนอ้ ยมากประมาณ 1-20 mA
- มีอายกุ ารใชง้ านท่ยี าวนานประมาณ 50,000 – 100,000 ชวั่ โมง ข้ึนอยูก่ บั คณุ ภาพของแอลอีดี
วงจรขับกระแส สภาพภมู ิอากาศ ความช้ืน และอณุ หภูมิ ซ่ึงกม็ อี ายุการใชง้ านทย่ี าวนานกวา่ หลอดท่ีให้
แสงสว่างชนดิ อืน่ ๆ มาก
- ไม่มรี ังสีอินฟาเรต รังสอี ัลตราไวโอเลต ซ่งึ เป็นอนั ตรายตอ่ ผวิ หนงั
- ทนทานต่อสภาวะอากาศ
- ทนทานต่อการสัน่ สะเทือน และการเปดิ ปิดทีบ่ อ่ ยคร้งั
- มหี ลากหลายสใี หเ้ ลอื กใช้
-8-
วธิ ใี ชห้ ลอดไฟฟา้ อย่างประหยดั และปลอดภัย
- เลือกหลอดไฟฟ้าชนดิ ประหยัดไฟ และระยะเวลาการใช้งาน
- เลอื กใช้หลอดไฟฟา้ ทม่ี กี ำลังวตั ตเ์ หมาะสมกับการใชง้ าน
- เลอื กใชแ้ บลลสั ตป์ ระหยัดไฟควบคกู่ ับหลอดฟลอู อเรสเซนต์
- บริเวณทตี่ อ้ งการความสว่างมาก ควรเลอื กใชห้ ลอดฟลูออเรสเซนต์
- เปดิ ไฟเฉพาะบริเวณทตี่ อ้ งการ
- เมอ่ื จะเปลย่ี นหลอดไฟควรดับหรอื ตัดวงจรไฟฟา้ แสงสวา่ งนน้ั
- ถ้าเป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ไม่ควรปลอ่ ยใหไ้ ฟกระพริบอยู่เสมอหรือหวั หลอดแดงโดยไม่สวา่ ง
เพราะอาจเกดิ อัคคีภัยได้
- ข้วั หลอดตอ้ งแนน่ และไมม่ ีรอยไหมท้ ีพ่ ลาสติกขาหลอด
- ไม่นำวสั ดุทตี่ ดิ ไฟงา่ ย เชน่ ผ้า กระดาษ ปดิ คลุมหลอดไฟฟา้
- หลอดไฟฟา้ ทีข่ าดแลว้ ควรใสไ่ วต้ ามเดิมจนกวา่ จะเปล่ยี นหลอดใหม่
เครอื่ งใช้ไฟฟ้าทใี่ ห้พลงั งานความร้อน
ภายในจะมีขดลวดต้านทานติดตัง้ อยู่ เม่อื ไฟฟา้ ไหลผา่ นขดลวดต้านทานจะทำใหเ้ กิดความร้อน
โดยขดลวดที่นิยมใชม้ ากท่สี ุด คือ ขดลวดนิโครม ตวั อย่างเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ทใ่ี ห้พลังงานความรอ้ น เชน่
เตารดี ไฟฟา้ หม้อหงุ ขา้ วไฟฟ้า กาต้มนำ้ ไฟฟา้ เครอื่ งปง้ิ ขนมปัง เครอื่ งเป่าผม เปน็ ต้น
1. วิธกี ารใชเ้ ตารดี อยา่ งประหยัดและปลอดภัย
- ควรรดี ผ้าคราวละมาก ๆ ตดิ ต่อกันจนเสรจ็ และควรเรม่ิ รดี ผ้าบาง ๆ ก่อนในขณะทเี่ ตารดี
ยงั ไม่รอ้ น และก่อนรดี เสร็จประมาณ 2-3 นาที ให้ถอดปลั๊กออก
- ต้ังอณุ หภมู ิใหเ้ หมาะสมกบั ชนิดของผา้ ท่ีจะรดี
- แยกผา้ ทจ่ี ะรดี ชนิดเดยี วกนั ไวด้ ว้ ยกันเพ่อื หลีกเลย่ี งการปรบั เปลี่ยนอณุ หภมู ิบ่อย ๆ
- ควรพรมนำ้ พอสมควรเทา่ น้ัน
- ควรซักและตากผา้ โดยไมต่ ้องบดิ จะทำใหร้ ีดงา่ ยขนึ้
- เมอ่ื ไม่ไดใ้ ช้งานควรถอดปล๊ักออกและกอ่ นเก็บควรทิ้งให้เตารีดเย็นกอ่ น
- ควรระวงั ไมใ่ หค้ วามรอ้ นจากเตารดี สัมผัสสายไฟฟ้าเพราะจะทำให้สว่ นท่หี ้มุ สายไฟ (ฉนวน)
เสยี หายได้
- หมนั่ ตรวจสอบฉนวนยางทีห่ ุ้มสายเขา้ เตารดี หากพบวา่ เป่อื ยหรือชำรุดควรเปล่ยี นโดยชา่ ง
ผู้ชำนาญทนั ที
-9-
- ขณะใชง้ านเม่ือหยุดรดี ต้องวางบนวัสดทุ ไี่ มต่ ดิ ไฟงา่ ย
- ควรใช้เตารดี ทม่ี ีสายดนิ และตอ่ ลงดนิ ผา่ นทางเต้าเสียบและเตา้ รับ
ภาพที่ 5 เตารีด
2. วิธใี ช้เตาไฟฟา้ อย่างประหยดั และปลอดภยั
- ในการทำกบั ขา้ วแต่ละครงั้ ควรเตรียมเครอ่ื งปรงุ ต่าง ๆ ให้พร้อมเสยี กอ่ นแล้วจงึ เปดิ สวติ ซ์
เตาไฟฟา้ และประกอบอาหารตดิ ต่อกันจนเสรจ็
- ควรใช้ภาชนะกน้ แบนมีขนาดพน้ื ท่ีก้นเหมาะกบั พน้ื ท่หี น้าเตาและใช้ภาชนะที่มเี น้อื โลหะ
รับความรอ้ นไดด้ ี หากเปน็ ไปไดใ้ หใ้ ช้หมอ้ ทอ่ี อกแบบสำหรบั ใช้กบั เตาไฟฟา้
- อาหารแช่แขง็ ควรทำใหห้ ายแข็งก่อนนำไปประกอบอาหาร
- ควรระวังไม่ให้ความรอ้ นจากเตาไฟฟา้ สัมผสั สายไฟ เพราะจะทำใหเ้ ปลือกสายไฟ (ฉนวน)
เสยี หายได้
- ไมค่ วรวางใกล้กับวตั ถตุ ดิ ไฟ เชน่ กระดาษ อาจทำให้เกดิ อคั คภี ยั ได้
ภาพท่ี 6 เตาไฟฟา้
-10-
3. วธิ ใี ชก้ ระตกิ น้ำรอ้ นอย่างประหยดั และปลอดภยั
- ใส่น้ำให้พอเหมาะกับความตอ้ งการ
- ขณะใชง้ านควรวางบนพน้ื ท่ีไม่ติดไฟ และไม่ควรวางใกลว้ สั ดุตดิ ไฟ
- ปิดฝาให้สนทิ ขณะตม้
- ปดิ สวติ ซท์ ันทีเมอื่ น้ำเดือด
- ถอดปลก๊ั ทนั ทเี มอ่ื เลกิ ใชง้ าน
ภาพที่ 7 กระตกิ นำ้ ร้อน
4. วิธใี ชห้ มอ้ หุงขา้ วอย่างประหยัดและปลอดภัย
- ควรเลอื กขนาดใหเ้ หมาะสมกับการใชง้ าน
- ระวังอย่าใหก้ น้ หม้อหรอื ขอบหม้อบุบ เพราะจะทำให้การวางหม้อไมส่ นทิ กับแผน่ ความร้อน
ทำให้สิน้ เปลืองพลังงานไฟฟา้
- อยา่ เสียบปลกั๊ หรือกดสวิตซ์ขณะมอื เปยี ก
- เมอ่ื เลิกใชง้ าน ควรถอดปล๊ักทันที
ภาพที่ 8 หมอ้ หงุ ข้าว
ตาราง ขนาดหม้อหุงข้าวกับการใชง้ าน -11-
จำนวนคนทรี่ บั ประทาน ขนาดทค่ี วรใช้ (ลติ ร) กนิ ไฟประหยดั (วตั ต)์
1-3 1 450
4-5 1.5 550
6-8 2 600
8-10 2.8 600
10-12 3 800
เคร่ืองใช้ไฟฟ้าทีใ่ หพ้ ลังงานกล
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอรซ์ ึง่ มีส่วนประกอบท่สี ำคญั เหมือนไดนาโม แต่จะทำงานตรงข้ามกนั
น่นั คอื ไดนาโมเปลยี่ นพลงั งานกลให้เปน็ พลังงานไฟฟ้า ส่วนมอเตอรเ์ ปลย่ี นพลังงานไฟฟา้ ใหเ้ ปน็
พลังงานกล ตัวอยา่ งเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ทใ่ี ช้มอเตอร์ ไดแ้ ก่ พดั ลม เคร่ืองป่นั นำ้ ผลไม้ เครือ่ งดดู ฝนุ่ เคร่อื งเลน่
วีซดี ี เครอ่ื งปรับอากาศ เคร่ืองซกั ผ้า ต้เู ยน็ เป็นตน้
1. วิธใี ช้พดั ลมอยา่ งประหยดั และปลอดภัย
- ไม่ควรเปดิ พัดลมทง้ิ ไว้เม่อื ไมม่ คี นอยู่
- ปรบั ระดบั ความเร็วลมพอสมควร
- เลอื กขนาดให้เหมาะสมกับการใชง้ าน
- ถา้ เปิดพดั ลมแล้วไมห่ มนุ หรอื หยุดหมุนทำใหพ้ ัดลมร้อนอาจเกดิ ไฟไหม้ไดใ้ หร้ บี ปดิ และถอดปลก๊ั
ทนั ที
- อยา่ เปิดพดั ลมเพือ่ ระบายอากาศในบริเวณท่มี สี ารระเหยไวไฟ เช่น แกส๊ หุงต้ม ทินเนอร์ หรือ
น้ำมนั เชือ้ เพลงิ
ภาพที่ 9 พัดลม
-12-
2. วิธใี ชเ้ ครือ่ งซกั ผา้ อยา่ งประหยัดและปลอดภยั
- แชผ่ ้ากอ่ นซกั จะทำให้สงิ่ สกปรกหลดุ ออกงา่ ยและไมเ่ ปลืองพลงั งานไฟฟ้า
- ตงั้ โปรแกรมการซกั ให้เหมาะสมกบั ชนดิ ของผ้า
- ใส่ผา้ ตามน้ำหนกั ทก่ี ำหนด
- หม่ันตรวจสอบไฟร่ัวดว้ ยไขควงลองไฟอยู่เสมอ
- ถอดปลกั๊ ออกทันทเี ม่ือเลกิ ใช้งาน
ภาพที่ 10 เครอื่ งซักผา้
3. วิธใี ชต้ เู้ ยน็ อย่างประหยัดและปลอดภยั
- ควรเลือกซื้อต้เู ย็นท่มี ีฉลากประหยดั ไฟ
- ควรพจิ ารณาขนาดให้เหมาะสมกบั ขนาดครอบครวั
- ควรเลอื กตเู้ ย็นทม่ี ฉี นวนกนั ความรอ้ นหนาและเปน็ ชนดิ โฟมอดั เพ่ือมิใหม้ ีการสญู เสยี
ความเยน็ มาก
- ควรเลอื กซอื้ ตู้เย็นทใี่ ชก้ ับระบบไฟฟ้า 220-230 โวลตเ์ ทา่ นั้น
- ก่อนใชค้ วรศกึ ษาคูม่ อื การใชแ้ ละปฏบิ ัติตามคำแนะนำ
- ควรตัง้ ตเู้ ย็นใหห้ า่ งจากผนังอยา่ งนอ้ ย 15 เซนตเิ มตร
- ไมค่ วรตัง้ อยใู่ กล้แหลง่ ความรอ้ นและไม่ควรใหโ้ ดนแสงแดด
- หม่ันตรวจสอบยางขอบประตไู ม่ให้มีรอยรัว่ หรอื เสอ่ื มสภาพ
- ควรละลายนำ้ แขง็ สม่ำเสมอเพือ่ ทำให้การทำความเยน็ มีประสิทธภิ าพสงู
- ปรบั ระดับความเยน็ ให้เหมาะสมกับปริมาณอาหารทแ่ี ชใ่ นตูเ้ ยน็
-13-
ภาพที่ 11 ตู้เยน็
4. วิธใี ช้เครือ่ งปรบั อากาศอย่างประหยัดและปลอดภัย
- ควรเลือกซ้ือเคร่ืองปรบั อากาศที่มีสลากประหยัดไฟ
- ควรเลือกขนาดของเครอื่ งปรับอากาศใหเ้ หมาะสมกับหอ้ งท่ตี อ้ งการติดต้งั
- หม่ันทำความสะอาดแผน่ กรองอากาศและตะแกรงเพือ่ ให้อากาศผา่ นเข้าได้สะดวกและประหยัด
ไฟอีกดว้ ย
- ควรปดิ เคร่ืองปรับอากาศเม่ือเลกิ ใชง้ าน
- พยายามอยา่ ใช้เครื่องใช้ไฟฟา้ ทีใ่ หค้ วามรอ้ นในขณะที่เปดิ เคร่ืองปรบั อากาศ
ภาพท่ี 12 เครือ่ งปรบั อากาศ
-14-
อนั ตรายจากกระแสไฟฟ้าและการปฐมพยาบาล
หากผใู้ ช้ขาดวามระมดั ระวงั โอกาสทจี่ ะเกิดอนั ตรายจากกระแสไฟฟา้ กม็ ีมาก เน่อื งจากผวิ หนัง
ของคนเรามีสมบตั ิเปน็ ตัวนำไฟฟา้ และถา้ รา่ งกายสมั ผัสกับตวั นำไฟฟ้าทมี่ ีกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นจะทำให้
กระแสไฟฟา้ ไหลเขา้ ตัวเรา ถ้าเรามผี ิวหนงั แหง้ กระแสไฟฟา้ จะไหลผ่านไดน้ อ้ ยกวา่ ผวิ หนังทเี่ ปยี ก
นอกจากนย้ี งั ขึ้นอยู่กับพืน้ ทข่ี องรา่ งกายที่สมั ผัส และความตา่ งศกั ย์ของกระแสไฟฟา้ ถา้ มคี วาม
ต่างศกั ย์ไฟฟา้ มากจะทำใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลเข้าส่รู ่างกายตามไปดว้ ย
ตาราง ปรมิ าณกระแสไฟฟ้าท่ีมผี ลต่อรา่ งกาย
ปริมาณกระแสไฟฟ้า (มลิ ลแิ อมแปร์) ปฏิกริ ิยาของร่างกาย
น้อยกว่า 0.5 ไม่รสู้ กึ
0.5 – 2.0
2.0 – 10.0 กระตุกเล็กน้อย
10.0 – 25.0 กล้ามเน้อื หด กระตกุ ปานกลาง
มากกวา่ 25 ปวดกลา้ มเนอื้ กลา้ มเน้อื เกรง็
มากกวา่ 100 กลา้ มเนอ้ื กระตกุ รนุ แรง หัวใจเต้นผิดปกติ
หยดุ หายใจ ผวิ หนงั ไหม้
การปฐมพยาบาลผู้ทไ่ี ดร้ บั อนั ตรายจากกระแสไฟฟ้า
1. ยกสะพานไฟ เพอ่ื ตดั วงจรไฟฟา้
2. ถ้ายกสะพานไฟไมไ่ ดใ้ ห้ใชไ้ มท้ ีแ่ หง้ เขย่ี สายไฟออก ถ้าเข่ยี สายไฟออกไมไ่ ดใ้ หใ้ ชผ้ ้าแหง้
หรือเชอื กดงึ ผู้ปว่ ยออกจากสายไฟ
3. จับผู้ปว่ ยนอนหงายราบกบั พนื้ ให้ศรี ษะตำ่ กวา่ ลำตวั และยกศรี ษะให้หงายขึ้น
4. ตรวจดสู ่งิ กีดขวางในปาก อ้าปากออกโดยสอดหวั แม่มือเขา้ ไปในปาก ขยบั ขากรรไกรลา่ ง
เพอื่ ใหป้ ากอ้า
5. บีบจมกู พรอ้ มกับเปา่ ปากให้อากาศเข้าไปในปอด ควรเป่าให้แรงและเรว็ เพอื่ กระตุ้นการหายใจ
ได้ โดยให้เป่า 15 ครง้ั ตอ่ นาที ซึ่งเท่ากับการหายใจของคนปกติ
6. เมื่อผปู้ ่วยเร่ิมหายใจหลังจากท่ผี ้ปู ่วยหายใจออกเสร็จแล้วให้เปา่ ลมเขา้ ไปจนกระทั่งผู้ปว่ ย
สามารถหายใจไดด้ ว้ ยตวั เอง
-15-
7. แมว้ ่าผปู้ ว่ ยจะหายใจไดแ้ ลว้ แต่อาจเปน็ เพยี งชวั่ คราวเทา่ นัน้ จึงควรมกี ารเปา่ ปากเป็นระยะ ๆ
แล้วให้รีบส่งโรงพยาบาล
ฉลากประหยัดไฟ
ฉลากประหยัดไฟ คือ ฉลากทบี่ ง่ บอกระดับการใช้ไฟฟา้ และข้อมูลเบอ้ื งต้นต่าง ๆ ของ
เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ เช่น ประสิทธภิ าพ คา่ ใช้จา่ ยตอ่ ปี เพอ่ื ให้ผูใ้ ช้สามารถเลอื กซอื้ เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ได้อยา่ ง
เหมาะสมและประหยดั ค่าใชจ้ า่ ยในระยะยาว ฉลากประหยดั ไฟจะมีระดบั ความประหยัดต้ังแต่เบอร์ 1 ถงึ
เบอร์ 5 โดยท่ีเบอร์ 5 หมายถึง ประหยัดไฟมากท่ีสดุ คือมีอตั ราการประหยัดพลงั งาน(Energy Efficiency
Ratio : EER) มากกวา่ 11.0 หนว่ ย
ผู้ออกฉลากประหยัดไฟในปจั จบุ ัน คอื กระทรวงพลงั งาน ซง่ึ จะมตี ราของกระทรวงซ้อนอยู่
บนฉลาก เรม่ิ ใช้ต้ังแต่ พ.ศ. 2549 (ค.ศ.2006) จากเดมิ ออกโดยการไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย
(กฟผ.) ซ่ึงไม่มีโลโก้ใด ๆ เว้นแตป่ ี ค.ศ. ทอี่ อกบนฉลาก
ภาพที่ 13 ฉลากประหยดั ไฟ
ที่มา : http://tech.mthai.com/tips-technic/36573.html
เครอื่ งหมาย มอก.
มอก. เปน็ คำย่อมาจาก “มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม” หมายถึง ข้อกำหนดทางวิชาการ
ทส่ี ำนักงานมาตรฐานผลติ ภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) ไดก้ ำหนดขน้ึ เพ่ือเป็นแนวทางแกผ่ ผู้ ลติ ในการผลติ
สินค้าใหม้ คี ุณภาพในระดับทเี่ หมาะสมกับการใชง้ านมากที่สดุ
-16-
ภาพที่ 14 เคร่อื งหมาย มอก.
ทม่ี า : http://www.nakorn.ac.th/tisi/team2/MOG7.html
มอก. มีประโยชน์ต่อผ้เู กยี่ วข้องในหลายด้านดว้ ยกนั คือ ชว่ ยเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการผลติ
ลดรายจา่ ย ลดเครอื่ งจกั ร ลดขนั้ ตอนการทำงานซ้ำซ้อน ชว่ ยให้ได้สินค้าที่มคี ุณภาพสมำ่ เสมอ ทำใหส้ นิ คา้
มีคุณภาพดีขนึ้ และมรี าคาถกู ลง
หมายเลข มอก. คอื หมายเลขทกี่ ำหนดข้นึ เพื่อระบลุ ำดับท่ีของการออกมาตรฐานและปีท่ี สมอ.
ประกาศเป็นมาตรฐาน ซึ่งจะระบอุ ยู่บนตวั สนิ ค้า ซ่งึ หากผลติ ภณั ฑ์ไดร้ ับการรับรองคณุ ภาพตาม มอก.
กจ็ ะสามารถแสดงเคร่อื งหมาย มอก. บนผลิตภณั ฑ์นัน้ ได้
ภาพที่ 15 หมายเลข มอก.
ท่ีมา : http://www.krumai.com/standard/page3.html
ข้อสงั เกตเคร่อื งหมาย มอก.
เครือ่ งหมาย มอก. แสดงถงึ คุณภาพทไ่ี ดร้ ับการรับรองมาตรฐานของผลติ ภณั ฑต์ ่าง ๆ ซึ่งมสี ่วน
สำคญั ในการช่วยตัดสินใจเลอื กซ้อื ผลติ ภัณฑน์ นั้ ๆ ว่าผูบ้ รโิ ภคจะไดร้ ับการคุ้มครองในด้านความปลอดภยั
รวมท้งั ไดร้ ับความเป็นธรรมจากการบริโภคผลิตภณั ฑ์ดงั กลา่ ว ดงั นนั้ ก่อนซื้อจึงควรสงั เกตเครอ่ื งหมาย
มอก. อยา่ งถถี่ ว้ น
-17-
ประโยชน์ตอ่ ผู้บรโิ ภค
1. ช่วยในการตัดสินใจเลือกซือ้ สนิ ค้า
2. สรา้ งความปลอดภยั ในการนำไปใช้
3. ในกรณที ่ชี ำรดุ กส็ ามารถหาอะไหล่ไดง้ า่ ย เพราะสินคา้ มีมาตรฐานเดยี วกัน ใช้ทดแทนกนั ได้
4. วธิ กี ารบำรงุ รกั ษาใกลเ้ คยี งกนั ไมต่ อ้ งหดั ใช้สินค้าใหม่ทุกครงั้ ที่ซอ้ื
5. ได้สินค้าคุณภาพดีขึ้นในราคาทเ่ี ป็นธรรมคมุ้ คา่ กบั การใชง้ าน
-18-
กจิ กรรมที่ 1
เรื่อง การใชเ้ ครอ่ื งใช้ไฟฟ้าอยา่ งประหยัดและปลอดภยั
คำชแี้ จง ให้นกั เรียนบอกแนวทางการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟา้ อยา่ งประหยดั และปลอดภัย
ประเภทละ 1 ชนดิ
ประเภทของเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า แนวทางการใชเ้ ครื่องใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งประหยดั
และปลอดภยั
1. เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ทีใ่ ห้ .......................................................................
พลงั งานแสงสว่าง .......................................................................
..................................... .......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
2. เครือ่ งใช้ไฟฟา้ ท่ีให้ .......................................................................
พลงั งานความร้อน .......................................................................
..................................... .......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
3. เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ที่ให้ .......................................................................
พลงั งานกล .......................................................................
..................................... .......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
4. เครอื่ งใช้ไฟฟา้ ที่ให้ .......................................................................
พลงั งานเสียง .......................................................................
..................................... .......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
-19-
กจิ กรรมท่ี 2
เร่ือง ปรมิ าณกระแสไฟฟ้าที่มีผลต่อรา่ งกายและการประหยัดไฟฟ้า
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมคำตอบตอ่ ไปนล้ี งในตาราง
A) นอ้ ยกว่า 0.5 mA
B) 0.5 – 2.0 mA
C) 2.0 – 10.0 mA
D) 10.0 – 25.0 mA
E) มากกวา่ 25 mA
F) มากกวา่ 100 mA
ผลกระทบทีม่ ตี ่อร่างกาย (คำถาม) ปรมิ าณกระแสไฟฟา้ (คำตอบ)
กล้ามเนื้อหด กระตุกปานกลาง
หยดุ หายใจ ผวิ หนงั ไหม้
กลา้ มเนอื้ กระตุกรนุ แรง หวั ใจเตน้ ผดิ ปกติ
ไม่รสู้ กึ
ปวดกล้ามเนือ้ กลา้ มเนอ้ื เกร็ง
กระตุกเลก็ นอ้ ย
ตอนท่ี 2 ให้นกั เรยี นอ่านขอ้ ความขา้ งล่าง แล้วทำเคร่อื งหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ความ
ท่ีเป็นการประหยัดไฟฟา้ และทำเคร่อื งหมาย หน้าข้อความทไ่ี มป่ ระหยดั ไฟฟา้
1. เปิดไฟทิ้งไวใ้ นหอ้ งทไี่ ม่มีคนอยู่
2. เดนิ ขึ้นลงบันไดแทนการใชล้ ฟิ ต์
3. ปดิ โทรทศั นเ์ มือ่ ไม่มีคนดู
4. รดี ผา้ ครง้ั ละ 1-2 ตวั
5. เปดิ พัดลมแทนการเปดิ แอร์
6. ไมใ่ ส่อาหารรอ้ นในตเู้ ยน็
7. เปิดวิทยุท้งิ ไว้ในหอ้ งทไี่ ม่มคี นอยู่
8. เปิดและปิดตเู้ ย็นโดยเร็ว
9. ใช้หลอดตะเกยี บแทนหลอดไฟธรรมดา
10. ใส่เสอ้ื ผ้าในเคร่ืองซกั ผ้าแต่ละครั้งในปรมิ าณเตม็ ท่ที เ่ี ครอื่ งซักผา้ รบั ได้
-20-
กจิ กรรมที่ 3
เกมการใช้อปุ กรณ์ไฟฟา้ อย่างปลอดภยั
วัสดุอุปกรณ์
1. แผ่นเกมการใชอ้ ปุ กรณ์ไฟฟา้ อย่างปลอดภัย
2. ตัวหมากสำหรับเดิน
3. เหรียญสำหรับโยนหัว – ก้อย
กตกิ าการเล่น
1. เกมน้ีควรมีผู้เล่น 2-4 คน เพอ่ื แข่งขนั การเดนิ ตวั หมากใหไ้ ปยงั ช่องที่มคี ะแนนมากทส่ี ุด
โดยการโยนเหรียญ
- ถา้ ออกหัวใหเ้ ดนิ ตวั หมากของตนได้ 2 ชอ่ ง
- ถ้าออกกอ้ ยใหเ้ ดินตัวหมากของตนเองได้ 1 ชอ่ ง
2. เมอื่ ตวั หมากเดินในชอ่ งทม่ี ขี อ้ ความใหอ้ า่ นขอ้ ความนัน้ ใหเ้ พ่ือนฟงั
- ถ้ามีบันไดใหไ้ ต่ไปยงั ชอ่ งท่ีบันไดพาดถึง
- ถ้าพบหัวงูจะตอ้ งเลื่อนตามช่องหัวงูไปยังชอ่ งหางงู
-21-
-22-
กิจกรรมที่ 4
แผนผังความคดิ เรอ่ื ง การใช้เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าในบ้านอย่างประหยัดและปลอดภัย
ช่ือ_______________________________________________ช้ัน__________เลขท_ี่ _________
หลังจากเรียนเรื่อง การใช้เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าในบา้ นอย่างประหยดั และปลอดภยั แลว้
เรามาช่วยกันเขียนแผนผังความคิดนะคะ
-23-
แบบทดสอบหลงั เรียน
เรอื่ ง การใชเ้ คร่อื งใช้ไฟฟา้ ในบ้านอยา่ งประหยดั และปลอดภยั
คำส่งั ให้นักเรียนเลือกคำตอบทถี่ กู ท่สี ุดเพียงคำตอบเดียว แลว้ ทำเคร่ืองหมายกากบาท (X)
ลงในกระดาษคำตอบ
1. ปรมิ าณของกระแสไฟฟ้าเมื่อเข้าสูร่ ่างกายแลว้ ทำใหก้ ลา้ มเนอ้ื กระตุกรนุ แรง หัวใจเตน้ ผดิ ปกติ
ตรงกบั ขอ้ ใด
ก. มากกวา่ 2 มลิ ลแิ อมแปร์
ข. มากกว่า 10 มลิ ลแิ อมแปร์
ค. มากกวา่ 25 มลิ ลแิ อมแปร์
ง. มากกวา่ 100 มิลลิแอมแปร์
2. ข้อใดเป็นการกระทำทีช่ ่วยประหยดั คา่ ไฟฟา้ ได้
ก. แอนรดี ผ้าคร้ังละจำนวนน้อย
ข. ญาญ่าหงุ ข้าวสำหรบั รับประทานคร้งั ละมอ้ื
ค. หมากเสียบปลั๊กกระตกิ นำ้ ร้อนโดยใหร้ ้อนตลอดเวลา
ง. ณเดชน์ต้ังตเู้ ยน็ ให้หา่ งจากฝาผนงั อยา่ งน้อย 15 เซนตเิ มตร
3. ข้อใดเปน็ เหตุผลท่ีไม่ควรนำอาหารท่รี ้อนไปแชใ่ นตเู้ ยน็
ก. ความร้อนจากอาหารทำให้ผนงั บุภายในต้เู ยน็ เสียหายเร็วขึ้น
ข. ต้เู ยน็ ต้องทำงานมากกวา่ ปกติ และสนิ้ เปลืองพลงั งานไฟฟ้า
ค. ทำให้สง่ิ ของอนื่ ๆ ในตู้เย็นเสยี หายได้
ง. ภาชนะทีใ่ ส่อาจจะรอ้ นแตกร้าวได้
4. ข้อใดเปน็ การใช้เตารดี ท่ีทำใหป้ ระหยดั ไฟฟา้ ไดม้ ากท่ีสดุ
ก. เลอื กเตารีดที่มีกำลงั ไฟตำ่
ข. ปรับป่มุ ควบคมุ อุณหภูมิบอ่ ยคร้งั
ค. รีดผา้ บอ่ ยครั้ง แตล่ ะคร้งั มผี า้ น้อยชนิ้
ง. รดี ผ้านอ้ ยครงั้ แต่ละคร้ังมีผา้ มากชนิ้
-24-
5. เพ่อื ประหยดั พลังงานและประหยดั เงินในการซอ้ื เคร่อื งใช้ไฟฟ้าไม่ควรคำนงึ ถงึ ข้อใด
ก. ราคายุตธิ รรม
ข. รูปแบบทันสมัย สวยงาม
ค. ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5
ง. การสญู เสียพลังงานไฟฟา้
6. การตรวจไฟฟา้ รั่วท่เี ครอื่ งใช้ไฟฟา้ วธิ ีการท่เี กดิ ความปลอดภัยและทำไดง้ า่ ยทส่ี ดุ
ตรงกบั ขอ้ ใด
ก. ดูที่คา่ ไฟ
ข. ใชม้ เิ ตอรว์ ัด
ค. ใชม้ อื ตรวจดู
ง. ใช้ไขควงตรวจไฟ
7. ข้อใดกล่าวไมถ่ กู ตอ้ งเกย่ี วกบั การใชห้ ลอดไฟอย่างปลอดภยั
ก. เมอื่ จะเปลี่ยนหลอดไฟควรดบั หรือตดั วงจรไฟฟา้ สวา่ งน้ัน
ข. ไม่นำวัสดุท่ตี ดิ ไฟงา่ ย เช่น ผา้ กระดาษ ปิดคลมุ หลอดไฟฟา้
ค. ขัว้ หลอดต้องหลวมเพราะเวลาเปล่ียนหลอดจะได้เปลยี่ นได้โดยงา่ ย
ง. ถ้าเปน็ หลอดฟลูออเรสเซนต์ ไม่ควรปลอ่ ยให้ไฟกระพริบอย่เู สมอ
8. พฤติกรรมขอ้ ใดที่ควรกระทำมากทส่ี ดุ
ก. พบผปู้ ่วยประสบอันตรายจากสายไฟฟา้ ในบ้านใหร้ บี ตัดกระแสไฟฟา้ ในบา้ น
และใช้ไมแ้ ห้ง ๆ เขย่ี ผ้ปู ว่ ยออกจากสายไฟ
ข. พบผปู้ ว่ ยประสบอันตรายจากสายไฟให้รีบตรงไปเอามอื ดึงผ้ปู ว่ ยออกจากสายไฟ
ทันที เพราะถ้าชา้ ผปู้ ่วยอาจตายได้
ค. อาบน้ำเสรจ็ เอือ้ มมอื ปดิ สวติ ซ์ไฟในห้องน้ำก่อนเพ่ือประหยัดไฟแล้วค่อยเช็ดตวั
ให้แห้ง
ง. ถอดเต้าเสียบเตารดี ออกทุกครัง้ เม่อื ใชเ้ สรจ็ โดยดงึ ทีส่ ายไฟตรงตอ่ กับเต้าเสยี บ
9. การใช้ต้เู ยน็ ไมค่ วรปฏิบัติตามข้อใด
ก. ละลายนำ้ แข็งทจ่ี ับตดิ ผนังชอ่ งทำน้ำแข็งบอ่ ยคร้ัง
ข. ทำความสะอาดแผงระบายความร้อนบ่อย ๆ
ค. แชอ่ าหารแนน่ ตู้ เพือ่ จะไดไ้ ม่เสียพืน้ ที่
ง. เปดิ ประตูต้แู ลว้ รบี ปดิ
-25-
10. เมื่อมผี ู้ถกู ไฟฟา้ ดดู ในบา้ น สิ่งแรกทีค่ วรทำตรงกบั ขอ้ ใด
ก. ใช้ผา้ คล้องดงึ ตวั ผู้ถกู ไฟดูดออกมา
ข. โทรศพั ท์บอกสำนกั งานไฟฟา้
ค. รีบยกสะพานไฟเพอื่ ตดั ไฟ
ง. รบี ตดั สายไฟ
-26-
แนวคำตอบกิจกรรมที่ 1
เร่ือง การใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟา้ อยา่ งประหยัดและปลอดภัย
คำช้ีแจง ให้นกั เรียนบอกแนวทางการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟา้ อยา่ งประหยดั และปลอดภัย
ประเภทละ 1 ชนดิ
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า แนวทางการใชเ้ ครื่องใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งประหยัด
และปลอดภยั
1. เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ทใ่ี ห้ หลอดฟลอู อเรสเซนต์ 1. เลอื กหลอดไฟฟา้ ชนดิ ประหยดั ไฟ และมี
พลงั งานแสงสวา่ ง ระยะเวลาในการใช้งานนาน
2. เลือกหลอดท่มี กี ำลังวตั ตเ์ หมาะสมกบั การ
ใชง้ าน
2. เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ทใ่ี ห้ .......................................................................
พลงั งานความร้อน .......................................................................
..................................... .......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
3. เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ที่ให้ .......................................................................
พลงั งานกล .......................................................................
..................................... .......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
4. เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ที่ให้ .......................................................................
พลังงานเสยี ง .......................................................................
..................................... .......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
(พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยให้อยู่ในดลุ พินจิ ของครูผูส้ อน)
-27-
แนวคำตอบกจิ กรรมที่ 2
เรอ่ื ง ปริมาณกระแสไฟฟ้าทีม่ ีผลตอ่ รา่ งกายและการประหยดั ไฟฟ้า
ตอนที่ 1 ให้นกั เรยี นเตมิ คำตอบตอ่ ไปน้ลี งในตาราง
A) นอ้ ยกวา่ 0.5 mA
B) 0.5 – 2.0 mA
C) 2.0 – 10.0 mA
D) 10.0 – 25.0 mA
E) มากกวา่ 25 mA
F) มากกวา่ 100 mA
ผลกระทบท่ีมีตอ่ รา่ งกาย (คำถาม) ปริมาณกระแสไฟฟ้า (คำตอบ)
กล้ามเนือ้ หด กระตกุ ปานกลาง C
F
หยดุ หายใจ ผวิ หนงั ไหม้ E
กลา้ มเนอ้ื กระตุกรนุ แรง หวั ใจเตน้ ผดิ ปกติ A
D
ไม่รสู้ กึ B
ปวดกล้ามเนอ้ื กลา้ มเน้อื เกร็ง
กระตกุ เลก็ นอ้ ย
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนอ่านขอ้ ความขา้ งล่าง แล้วทำเครอ่ื งหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ความ
ทเ่ี ปน็ การประหยดั ไฟฟา้ และทำเครอื่ งหมาย หนา้ ข้อความทีไ่ มป่ ระหยัดไฟฟา้
1. เปดิ ไฟทิ้งไว้ในห้องท่ีไมม่ ีคนอยู่
✓ 2. เดนิ ขน้ึ ลงบันไดแทนการใช้ลฟิ ต์
✓ 3. ปิดโทรทศั น์เมื่อไมม่ ีคนดู
4. รดี ผ้าคร้ังละ 1-2 ตวั
✓ 5. เปดิ พดั ลมแทนการเปดิ แอร์
✓ 6. ไม่ใส่อาหารรอ้ นในตู้เยน็
7. เปิดวทิ ยทุ ้งิ ไวใ้ นหอ้ งท่ไี ม่มีคนอยู่
✓ 8. เปิดและปิดต้เู ย็นโดยเร็ว
✓ 9. ใชห้ ลอดตะเกยี บแทนหลอดไฟธรรมดา
✓ 10. ใสเ่ ส้อื ผา้ ในเคร่อื งซกั ผา้ แต่ละครงั้ ในปรมิ าณเต็มท่ีทเี่ คร่อื งซกั ผา้ รับได้
-28-
แนวคำตอบกจิ กรรมท่ี 3
เกมการใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้าอยา่ งปลอดภัย
นกั เรยี นเล่นเกมตามเวลาทค่ี รผู ู้สอนกำหนด
ใครเดินไปถึงชอ่ งหมายเลข 100 ก่อน เป็นผู้ชนะ
แตถ่ ้าหมดเวลาแลว้ ใครอยูท่ ่ีหมายเลขสูงสุดคนนนั้ กเ็ ป็นผู้ชนะ
-29-
แนวคำตอบกจิ กรรมที่ 4
แผนผังความคิด เร่อื ง การใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในบา้ นอยา่ งประหยัดและปลอดภยั
ชอื่ _______________________________________________ชน้ั __________เลขท_ี่ _________
หลังจากเรียนเรื่อง การใช้เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ในบ้านอย่างประหยัดและปลอดภยั แลว้
เรามาช่วยกันเขยี นแผนผังความคิดนะคะ
พจิ ารณาจากผลงานของนักเรยี น
สามารถเขยี นได้หลากหลายตามความคิดของแตล่ ะคน
-30-
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เร่อื ง การใชเ้ ครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ในบา้ นอย่างประหยดั และปลอดภยั
คำช้ีแจง
1. เกณฑก์ ารประเมนิ แบบทดสอบมจี ำนวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ดงั น้ี
2. ระดบั คณุ ภาพ ดี หมายถงึ ได้คะแนน 8 - 10 คะแนน
พอใช้ หมายถงึ ไดค้ ะแนน 5 - 7 คะแนน
ปรับปรงุ หมายถงึ ไดค้ ะแนน 0 - 4 คะแนน
ข้อ คำตอบ
1ง
2ข
3ค
4ค
5ข
6ค
7ง
8ค
9ง
10 ก
-31-
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น
เร่อื ง การใชเ้ ครอ่ื งใช้ไฟฟ้าในบา้ นอย่างประหยดั และปลอดภยั
คำชแ้ี จง
1. เกณฑก์ ารประเมิน แบบทดสอบมีจำนวน 10 ขอ้ ขอ้ ละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ดงั น้ี
2. ระดบั คณุ ภาพ ดี หมายถงึ ได้คะแนน 8 - 10 คะแนน
พอใช้ หมายถงึ ไดค้ ะแนน 5 - 7 คะแนน
ปรบั ปรงุ หมายถงึ ไดค้ ะแนน 0 - 4 คะแนน
ข้อ คำตอบ
1ค
2ง
3ข
4ง
5ข
6ง
7ค
8ก
9ค
10 ค
บรรณานกุ รม -32-
กนิษฐา อุน่ อนนั ต์ และคณะ. วทิ ยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2. พิมพค์ รัง้ ที่ 5. กรงุ เทพมหานคร :
อักษรเจรญิ ทศั น,์ 2549.
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร :
คุรุสภาลาดพร้าว, 2551.
เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ทใ่ี หพ้ ลังงานแสงสว่าง. [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.sriyapai.ac.th/wiwisci/
t1.html. 9 เมษายน 2558.
เคร่ืองหมาย มอก. [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.nakorn.ac.th/tisi/team2/MOG7.html
9 เมษายน 2558.
ฉลากประหยดั ไฟ. [ออนไลน]์ เข้าถึงไดจ้ าก http://tech.mthai.com/tips-technic/36573.html
9 เมษายน 2558.
บญั ชา แสนทวี. หนังสอื ปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์ เลม่ 6. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2548.
ประดับ นาคแก้ว และ ดาวัลย์ เสรมิ บุญสขุ . หนังสอื เรยี นสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3.
กรงุ เทพมหานคร : ซี.ว.ี แอล การพิมพ์ จำกดั , 2551.
ยุพา วรยศ และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3. กรงุ เทพมหานคร
: บรษิ ทั อักษรเจริญทศั น์ อจท. จำกดั , 2555.
สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ 5 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สกสค.
ลาดพรา้ ว, 2555.
สุรงค์ เปรมาตุน และ วรณั ยา วงศส์ วุ รรณ. คู่มือครูแห่งศตวรรษที่ 21 วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3.
กรงุ เทพมหานคร : บริษทั พ.ี เอน็ .เค. แอนด์ สกายพร้ินติ้งส์ จำกัด, 2556.
หมายเลข มอก. [ออนไลน]์ เข้าถึงไดจ้ าก http://www.krumai.com/standard/page3.html
9 เมษายน 2558.
หลอด LED. [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.rcthai.net/webboard/viewtopic.php?f
=118&t=560914. 9 เมษายน 2558.