The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความปลอดภัยในการทำงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 612051256, 2022-07-11 03:50:00

คู่มือความปลอดภัย

ความปลอดภัยในการทำงาน

คู่มือ

ความ
ปลอดภัย

ในการทำงาน

สารบัญ

คำศัพท์เกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัย 2

สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุและการเจ็บป่วย 3
จากการทำงาน 4
การสูญเสียเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุ

หลัก 3E ในการป้องกันอุบัติเหตุ 5

หมวดที่ 1 ความร้อน 6
หมวดที่ 2 แสงสว่าง
หมวดที่ 3 เสียง 7
หมวดที่ 4 อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล 7
8

ความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า 9

ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ 11

ความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมี 16

หน้าที่รับผิดชอบสำหรับผู้ปฏิบัติงาน 19

ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องสังเกตและ 20
ปฏิบัติป้ายห้าม ป้ายเตือน อย่าง
เคร่งครัด

ความปลอดภัยเริ่มต้นที่ตัวคุณ 21

1

คำศัพท์เกี่ยวกับความ
ปลอดภัย

Incident
อุบัติการณ์

เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ให้เกิดขึ้นซึ่งเมื่อ
เกิดขึ้นแล้วมีผลทำให้เกิด อุบัติเหตุ
(Accident) หรือ เหตุการณ์เกือบเกิด
อุบัติเหตุ (Nearmiss)

Accident
อุบัติเหตุ

เเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นอย่าง
ไม่ตั้งใจในเวลาและสถานที่แห่งหนึ่ง โดยไม่
ทราบล่วงหน้าและส่งผลกระทบต่อคน
สิ่งแวดล้อม และทรัพย์สิน

2

สาเหตุการเกิด

อุบัติเหตุและการ

เจ็บป่วย 4 สภาพจิตใจของบุคคล
สภาพจิตใจของผู้ปฏิบัติงานไม่อยู่
จากการทำงาน ในสภาวะปกติ ขาดความตั้งใจ
ในการทำงานไม่สามารถควบคุม
1 ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อารมณ์ในการทำงานได้ เช่น ตื่นเต้น
มักเกิดกับบุคคลที่เข้าทำงานใหม่ ขวัญอ่อน ตกใจง่าย
ขาดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการ
ปฏิบัติงานและการทำงานของเครื่องมือ 5 การใช้เครื่องมือ
เครื่องจักร จึงเป็นสาเหตุทำให้เกิด เครื่องจักรที่ไม่เหมาะสม
อุบัติเหตุได้ เครื่องมือเครื่องจักรที่ใช้ชำรุด การใช้
เครื่องมือไม่เหมาะสมกับประเภทของ
2 ความประมาท งานหรือปราศจากอุปกรณ์ป้องกัน
ผู้ปฏิบัติงานขาดความตระหนักใน อันตราย รวมถึงไม่มีการบำรุงรักษา
เรื่องความปลอดภัย มีพฤติกรรมในการ เครื่องมือตามระยะเวลาที่กำหนด
ทำงานที่ไม่เหมาะสม เช่น หยอกล้อกัน
ใช้เครื่องมือในการทำงานที่ไม่ถูกต้อง 6 สภาพแวดล้อม
เป็นต้น ในการทำงานที่ไม่ปลอดภัย
สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่
3 สภาพร่างกายของบุคคล ไม่ปลอดภัย เช่น แสงสว่างไม่เพียงพอ
สภาพร่างกายของผู้ปฏิบัติงานขาด มีเสียงดังเกินเกณฑ์มาตรฐานกำหนด
ความพร้อมในการทำงาน เช่น อ่อนเพลีย หรือมีสิ่งกีดขวางทางเดิน เป็นต้น ส่งผล
เมื่อยล้า มึนเมา ขาดการพักผ่อนที่ ต่อประสิทธิภาพในการทำงานลดลง
เพียงพอหรือีโรคประจำตัว ซึ่งอาจก่อให้ และสามารถก่อให้เกิดอันตรายได้
เกิดอุบัติเหตุได้ 3

การสูญเสีย เนื่องจาก
เกิดอุบัติเหตุ

1.การสูญเสียทางตรง เป็น
ผลกระทบที่เกิดกับร่างกาย
และทรัพย์สินที่เกี่ยวกับผู้ได้รับบาดเจ็บ
โดยตรง นอกจากนี้อาจทำให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ
หรืออันตรายด้วย

ได้รับบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิต
อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร หรือทรัพย์สินเสียหาย
ค่ารักษาพยาบาล
ค่าทำขวัญ
ค่าทำศพ

2.การสูญเสียทางอ้อม
เป็นผลกระทบด้านอื่นๆ

สูญเสียเวลาการทำงานของผู้บาดเจ็บ
สูญเสียขวัญกำลังใจในการทำงาน
สูยเสียเวลาในการจัดหาบุคลากรมาทำงานแทน
ผู้บาดเจ็บ
ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซ่มเครื่องจักร
สินค้าได้รับความเสียหาย
กระบวนการผลิตขัดข้อง
ผลผลิตช้าลง
สูญเสียเวลาทางการแพทย์ที่ต้องช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
มีค่าใช้จ่ายสวัสดิการต่างๆของผู้บาดเจ็บ
สูญเสียชื่อเสียง

4

3Eหลัก

ในการป้องกัน

อุบัติเหตุ

E ตัวแรก คือ Engineering
คือ การใช้ความรู้ด้านวิศวกรรมศาสตร์ใน

คำนวณต่างๆ การออกแบบเครื่องจักรให้มี
ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับการใช้งาน
สามารถทำงานได้อย่างปลอดภัย รวมถึง
การวางผังโรงงาน ระบบไฟฟ้ า ระบบ
ระบายอากาศ เป็นต้น

E ตัวที่สอง คือ Education
คือ การให้ความรู้ การฝึกอบรม เกี่ยวกับ

การป้ องกันอุบัติเหตุ การสร้างเสริมความปลอดภัย
รวมถึงกฏระเบียบต่างๆ ด้านความปลอดภัยที่
ผู้ปฏิบัติตาม เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่าง
ปลอดภัย

E ตัวที่สาม คือ Enforcement
คือ การกำหนดขั้นตอนการทำงานอย่างปลอดภัย

รวมถึงมาตรการควบคุม พร้อมทั้งประกาศให้ผู้ปฏิบัติ
งานทุกคนรับทราบ หากมีผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
จะต้องมีการลงโทษ เพื่อให้เกิดสำนึก และหลีกเลี่ยง
การกระทำที่ไม่ถูกต้องหรือก่อให้เกิดอันตรายได้

5

หมวดที่ 1
ความร้อน

ลูกจ้าง ลูกจ้าง

ทำงานในลักษณะ ทำงานในลักษณะ

งานเบา งานหนัก

ต้องมีมาตรฐาน ต้องมีมาตรฐาน

ระดับความร้อน ลูกจ้าง ระดับความร้อน
ทำงานในลักษณะ
34ไม่เกินค่าเฉลี่ย ไม่เกินค่าเฉลี่ย
งานปานกลาง
องศาเซลเซียส 30

องศาเซลเซียส

ต้องมีมาตรฐาน

32 ระดับความร้อน
ไม่เกินค่าเฉลี่ย

องศาเซลเซียส

กรณีที่ภายในสถานประกอบการ
กิจการมีระดับความร้อนเกิน
มาตรฐานที่กำหนดนายจ้างต้อง
ดำเนินการปรับปรุงหรือแก้ไขสภาวะ
การทำงานในระดับความร้อนไม่เกินมาตรฐาน

6

หมวดที่ 2
แสงสว่าง

นายจ้างต้องจัดให้สถานประกอบกิจการมีความเข้มของ
แสงสว่างให้เพียงพอต่อการทำงานไม่ต่ำกว่ามาตรฐานตาม
กฎกระทรวงตลอดระยะเวลาการทำงาน

ในกรณีที่ต้องทำงานในสถานที่ มือ ทึบ คับแคบ นายจ้าง
ต้องจัดให้ลูกจ้างสวมหมวกนิรภัยที่มีอุปกรณ์ส่องแสงสว่าง

หมวดที่ 3 นายจ้างต้องควบคุมระดับเสียงที่ลูกจ้าง
เสียง ได้รับเฉลี่ยตลอดเวลาการทำงานในแต่ละวัน
ไม่ให้เกินมาตรฐานที่กกำหนดให้

ในบริเวณที่มีเสียงเกินมาตรฐานที่กำหนด
นายจ้างต้องจัดให้มีเครื่องหมายเตือน ให้ใช้อุปกรณ์
คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ติดไว้ให้ชัดเจน

ในกรณีที่สภาวะการทำงานที่มีระดับเสียง
เฉลี่ยตลอดเวลาการทำงาน 8 ชั่วโมง
ตั้งแต่ 85 dB (A) ขึ้นไป นายจ้างต้อง
จัดทำมาตรการอนุรักษ์การได้ยิน

7

หมวดที่ 4
อุปกรณ์คุ้มครอง
ความปลอดภัย

ส่วนบุคคล

หมวกนิรภัย ปลั๊ดลกเสียง
(Safety Helmet) (Ear plugs & Ear muff)
ใช้สำหรับป้องกันศรีษะที่เกิดจาก
การกระแทก หรือมีสิ่งของตกหล่น ใช้สำหรับป้องกันหูจากการรับ
ในขณะปฏิบัติงาน สัมผัสกับเสียงที่ดังมากกว่าปกติ
ในพื้นที่ปฏิบัติงาน เป็นเวลานาน
แว่นตานิรภัย
(Safety Glasses) เข็มขัดนิรภัย
ใช้สำหรับป้องกันดวงตาจาก (Safety Harness)
เศาฝุ่น เศษโลหะ สารเคมีที่อาจโดน ใช้สำหรับทำงานบนที่สูง
ดวงตาในขณะปฏิบัติงาน เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ปฏิบัติงานตกลง
มาด้านล่าง หากเกิดอุบัติเหตุ

ถุงมือนิรภัย รองเท้านิรภัย
(Safety Gloves) (Safety Shoes)
ใช้สำหรับป้องกันมือจากของมีคมความร้อน ใช้สำหรับป้องกันอันตรายจาก
การสัมผัสสารเคมี ที่อาจระคายเคือง การทำงานในพื้นที่เสี่ยง ต่อการกระแทก
หรือบาดเจ็บได้ หรือถูกสิ่งของที่มีน้ำหนักมากตกใส่เท้า

8

ความปลอดภัย
ในการใช้
อุปกรณ์ไฟฟ้า

ไฟฟ้าคืออะไร

ไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปแบบบหนึ่ง ที่สามารถเปลี่ยนพลังงานเป็นรูปแบบอื่นได้

มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับอิเล็กตรอนหรือโปรตรอนซึ่งก่อให้เกิดพลังงานอื่น

เช่น ความร้อน แสงสว่าง เคลื่อนที่ ชนิดของพลังงานไฟฟ้า

อันตรายจากไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ใหญ่ๆ คือ
(Electronic Hazard) 1. ไฟฟ้าสถิต เกิดจากการเสียดสีของ

ลักษณะอันตรายจากไฟฟ้า วัตถุ 2 ชนิด โดยพลังงานไฟฟ้าจะเก็บอยู่
ในวัตถุ เช่น การใช้แท่งอำพันถูกับวัตถุ

2. ไฟฟ้ากระแส เกิดจากการไหลของ
อิเล็กตรอนภายในตัวนำไฟฟ้า จากที่หนึ่ง
ไปยังอีกที่หนึ่ง แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

1.ไฟฟ้ากระแสตรง
2.ไฟฟ้ากระแสสลับ

อันตรายจากจุดต่อสายไฟ

อันตรายจากฉนวนหุ้มสายไฟ

อันตรายจากปลั๊กพ่ วง อันตรายจากการต่อสายไฟ อันตรายเกี่ยวกับการต่อ
ที่ไม่ใช้หางปลา สายไฟเข้าปลั๊กไลท์
อันตรายจากจุดต่อ
สายตู้เชื่อมไฟฟ้า อันตรายจากการไม่ต่อ อันตรายจากระดับ
สายดินเครื่องเชื่อม ความสูงของสายไฟ
อันตรายจากการพาดสายไฟ
หรือวางสายไฟชั่วคราว อันตรายจากการต่อพ่ วง อันตรายจาก
สายไฟไม่ถูกวิธี สายไฟใต้ดิน (ชั่วคราว)

9 อันตรายเกี่ยวกับ
ปลั๊กพ่ วง

การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ไฟฟ้า

1. ตรวจสอบสายไฟฟ้า และตรวจจุดต่อสายก่อนใช้งาน โดยเฉพาะอุปกรณ์ที่เคลื่อนที่ได้ควร
ตรวจสอบบริเวณจุดข้อต่อ ขั้วที่ติดอุปกรณ์ ถ้าชำรุดควรเปลี่ยนให้อยู่ในสภาพดีพร้อมใช้
งานเสมอ

2. ดวงโคมไฟฟ้าต้องมีที่ครอบป้องกันหลอดไฟ
3.การเปลี่ยนหรือซ่อมแซมอุปกรณ์ ควรให้ช่างทางเครื่องมือหรือไฟฟ้าเป็นผู้ดำเนินการ ไม่

ควรดำเนินการเองโดยเด็ดขาดหากไม่มีความรู้
4. ห้ามจับสายไฟขณะที่มีกระแสไฟฟ้าไหลอยู่
5. ห้ามใช้อุปกรณ์ขณะมือเปียก
6. ไม่ควรเดินเหยียบสายไฟ
7.อย่าแขวนสายไฟบนของมีคม เพราะของมีคมอาจบาดสายไฟชำรุดและก่อให้เกิดอันตราย

ต่อผู้ใช้งานได้
8.การใช้เครื่องมือทางไฟฟ้า ควรต่อเปลือกหุ้มที่เป็นโลหะลงสู่ดิน
9.การใช้มอเตอร์ หม้อแปลง ควรมีผู้รับผิดชอบควบคุมในการเปิดปิดใช้งาน
10. ในส่วนที่อาจก่อให้เกิดอันตรายควรมีป้ายติดแสดงอย่างชัดเจน
11.ถ้าเกิดเหตุการณ์ผิดปกติกับอุปกรณ์ควรแจ้งให้ผู้รับผิดชอบทราบทันที และห้ามใช้งานต่อ
12.ห้ามปลดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายทางไฟฟ้าออก ยกเว้นได้รับอนุญาตจากผู้เชี่ยวชาญ
13.เมื่อใช้งานเสร็จแล้วควรปิดสวิทช์ และต้องแน่ใจว่าสวิทช์ได้ปิดลงแล้ว
14.อุปกรณ์ทางไฟฟ้าต่างๆ ควรหมั่นทำความสะอาดให้ปราศจากฝุ่นละออง
15.ห้ามห่อหุ้มโคมไฟด้วยกระดาษ ผ้าหรือวัสดุที่ติดไฟได้
16.ห้ามนำสารไวไฟ หรือสารลุกติดไฟง่ายเข้าใกล้สวิทช์ไฟฟ้า
17.หมั่นตรวจสอบฉนวนหุ้มอุปกรณ์อยู่เสมอ ในบริเวณที่อาจสัมผัส หรือทำงาน
18.เมื่อมีผู้ได้รับอันตราย ควรสับสวิทช์ให้วงจรเปิด (ตัดกระแสไฟฟ้า)
19.เมื่อไฟฟ้าดับ หรือเกิดไฟฟ้าช๊อต ควรสับสวิทช์วงจรไฟฟ้าให้เปิด

10

อับอากาศความปลอดภัย ในการทำงาน
ในสถานที่

สถานที่อับอากาศ

หมายถึง บริเวณที่

1 มีขนาดเพียงพอที่คนเข้าไปและ
ปฏิบัติงานได้

2 มีทางเข้าออกจำกัด เช่น ถัง ไซโล
ห้องนิรภัย ถ้ำ อุโมงค์ หลุมที่มีทาง
เข้าจำกัด ท่อ แทงค์น้ำ ช่องใต้พื้น
อาคาร เป็นต้น

3 ไม่ได้ออกแบบมาเพื่อให้ปฏิบัติงานในพื้นที่
นั้นอย่างต่อเนื่อง

11

ควาในมสเปถ็นานอทีั่ นอัตบรอายากาศ

บรรยากาศที่เป็นอันตราย เช่น

บรรยากาศที่ระเบิดได้ มีออกซิเจนไม่เพียงพอ หรือ
มีมากเกินไป มีแก๊สหรือไอที่เป็นพิษ เป็นต้น

สภาพการทำงานที่เป็นอันตราย เช่น

ทางเข้า-ออก เล็กหรือแคบเกินไป การระบายอากาศ
ไม่เพียงพอ อุปกรณ์ไฟฟ้าไม่พร้อมใช้งาน เป็นต้น

12

มาตรการป้องกันอันตราย
ในการทำงานใน สถานที่อับอากาศ

จัดทำป้าย "ที่อับอากาศ อันตราย ห้ามเข้า" จตรวจสอบปริมาณก๊าซติดไฟ และออกซิเจน
ติดหน้าทางเข้าออกที่อับอากาศทุกแห่ง ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 19.5 และจะต้องไม่เกิน
ร้อยละ 23.5

ถังดับเพลิงต้องมีประสิทธิภาพและจำนวน อุปกรณ์ไฟฟ้าที่นำเข้าไปในสถานที่อับอากาศ
ที่เพียงพอ ต้องเหมาะสม มีสภาพสมบรูณ์และปลอดภัย

จัดให้มีอุปกรณ์ PPE อุปกรณ์ช่วยเหลือและ
ช่วยชีวิตที่เหมาะสม

13

บทบาทหน้าที่ ของผู้ที่เกี่ยวข้อง
ในการปฏิบัติงานใน"ที่อับอากาศ"

ประเมินความเป็นอันตรายในพื้นที่ ออกหนังสืออนุญาติทำงาน
อนุมัติให่มีการทำงานในที่อับอากาศ วางแผนการปฏิบัติงาน
ตรวจสอบพื้นที่ก่อนและขณะปฏิบัติงาน

วางแผนการทำงานและป้องกันอีนตราย ควบคุมดูแล
ผู้ปฏิบัติงาน ชี้แจงหน้าที่ วิธีการทำงาน การป้องกันอันตราย

สั่งหยุดงานชั่วคราวได้

ให้ความช่วยเหลือผู้ปฏิบัติงานหากเกิดเหตุฉุกเฉิน
ไม่ให้ผู้ไม่เกี่ยวข้องเข้าพื้นที่ ตรวจสอบรายชื่อและจำนวนผู้เข้า
ปฏิบัติงาน ตรวจสอบอุปกรณ์ช่วยชีวิตให้พร้อมใช้งาน

ตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน แจ้งอันตรายเมื่อ
เกิดเหตุฉุกเฉิน สวมอุปกรณ์ PPE ตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน

หมายเหตุ

ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคนต้องผ่านการอบรม
ตามบทบาทหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด

14

การเตรียมการ กรณีเกิด เหตุฉุกเฉิน

ขณะปฏิบัติงานใน สถานที่อับอากาศ

1 ตรวจสอบและให้มีการเตรียมพร้อม
2 ตรวจสอบดูการแจ้งเหตุฉุกเฉิน

3 มีเครื่องมือกู้ภัยและช่วยชีวิตที่พร้อม
4 ใช้งานได้ทันกับสถานการณ์

มีทีมกู้ภัยช่วยชีวิตที่สามารถปฏิิบัติ
หน้าที่ได้ทันสถานการณ์

มีความพร้อมสำหรับการยกเลิกการปฏิบัติ
เมื่อจำเป็น

5 พร้อมสำหรับการดำเนินการตาม
ขั้นตอนกรณีเกิดเหตุไฟไหม้
หรือเหตุฉุกเฉินอื่นๆ

15

ความปลอดภัย
ในการทำงานกับ

สารเคมี

สารพิษ คืออะไร??

สสโาดารมยเาคเฉรมพีถที่าเมขีะ้สากภสาู่ราร่าพสังมเปกผ็ันาสยขทอราะงงหแผวขิ่็วางงหขกนัอางงรแเปลหฏะลิกบวัาตหิรงรหืาอานกย๊าใจซซึ่ง

อันตรายของสารเคมี

ชนิดกัดกร่อน (Corrosive)
ทำให้เนื้อเยื่อของร่างกายไหม้พอง ได้แก่ สารละลายพวกกรดและ

ด่างเข้มข้น น้ำยาฟอกขาว

ชนิดที่มีผลกระทบต่อระบบประสาท
ส่งผลต่อการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาท ทำให้หมดสติ

หรือเกิดอาการเพ้อคลั่ง ชีพจรเต้นเร็ว เช่นใบยาสูบ ทินเนอร์

ชนิดทำให้ระคายเคือง (Irritants)
ทำให้เกิดอาการปวดแสบ และอักเสบในระยะต่อมา เช่น

ฟอสฟอรัส สารหนู อาหารเป็นพิษ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์

16

หลักการปฐมพยาบาล
เบื้องต้น

ผู้ที่ได้รับอันตรายจาก ผู้ที่ได้รับอันตรายจาก ผู้ที่ได้รับอันตรายจาก
สารเคมีที่ผิวหนัง สารเคมีที่ตา สารเคมีในการสูดดม
ให้ล้างผิวหนังบริเวณ
ที่ถูกสารเคมี โดยใช้ ให้ล้างตาด้วยน้ำสะอาดทันที ให้ย้ายผู้ที่ได้รับสาร
โดยเปิดเปลือกตาขึ้น นั้นไปที่มีอากาศบริสุทธิ์
น้ำสะอาดล้างให้มากที่สุด ให้น้ำไหลผ่านตา ประเมินการหายใจและ
เพื่อให้เจือจาง อย่างน้อย 15 นาที
ป้ายขี้ผึ้งป้ายตา การเต้นของหัวใจ
ถ้าสารเคมีเป็นกรดให้รีบ ถ้าไม่มีให้ช่วยทำ
ถอดเสื้อผ้าออกก่อน แล้วรีบนำส่งแพทย์โดยเร็ว การปฐมพยาบาล
เบื้องต้นด้วยการ CPR

17

อุปกรณ์ป้องกัน
อันตราย

หมวกนิรภัย แว่นครอบตา/หน้ากาก
ใช้ป้องกันศีรษะจาก แว่นควรมีวาล์วระบายความร้อน
ใช้สำหรับหน้างานที่มีไอสารเคมี
การกระแทก

ถุงมือ
ใช้ป้องกันสารเคมี
สิ่งปนเปื้อนและการติดเชื้อ

ชุดกันสารเคมี
ใช้ป้องกันการกระเด็นของ
สารเคมีและละอองน้ำสกปรก

รองเท้าบูท
ใช้ป้องกันการกัดกร่อนของ
สารเคมีและการซึมผ่านของน้ำ

18

หน้าที่ความรับผิดชอบ

ของพนักงาน/ผู้ปฏิบัติงาน/ผู่รับเหมา

ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงาน ผู้ปฏฺบัติต้องรายงาน
ด้วยความตระหนักและ สภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย
มีจิตสำนึกด้านความ
เครื่องมือเครื่องจักรและ
ปลอดภัยอยู่เสมอ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย

ผู้ปฏิบัติงานต้องให้ ส่วนบุคคลที่ขำรุด
ความร่วมมือในการปฏิบัติ ต่อผู้ควบคุมงาน

ตามข้อบังคับ ผู้ปฏิบัติงานต้องเอาใจใส่
ด้านความปลอดภัย และปฏิบัติตามกฎข้อบังคับ

ด้านความปลอดภัย
ในการทำงาน

ผู้ปฏิบัติงานต้องสวมใส่ หากผู้ปฏิบัติงานมี
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย ข้อคิดเห็นด้านความปลอดภัย

ส่วนบุคคลและแต่งกาย สามารถเสนอแนะหรือ
ให้เหมาะสมกับงาน แจ้งต่อผู้ควบคุมงานได้

ตลอดระยะเวลาปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติงานต้องศึกษา
อันตรายของงานที่ปฏิบัติ
ผู้ปฏิบัติงานต้องไม่เสี่ยง
กับการทำงานที่ไม่เข้าใจ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
ที่อาจเกิดขึ้นกับตนเอง
ทุกคนต้องเข้าใจถึง
การทำงานที่ปลอดภัย และผู้อื่น

ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน

19

ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องสังเกต
และปฏิบัติป้ายห้าม ป้ายเตือน
อย่างเคร่งครัด

20

สร้างความปลอดภัยในที่ทำงาน

1.รักษาความสะอาด ดูแลพื้นการทำงานให้มีความสะอาด
Advertisement เป็นการนำอันตรายต่าง ๆ ออกจากพื้นที่
ทำงานทำให้หยิบก็ง่าย หายก็รู้ ดูก็งามตาและ
สร้างสุขลักษณะที่ดีในสถานที่ทำงาน

2.พนักงานที่ทำงานจุดเสี่ยงภัย
ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (PPE)
เป็นการป้องกันอันตรายจากการทำงานที่อาจจะ
เกิดกับลูกจ้างที่ปฏิบัติงานอยู่หน้างาน เช่น
การสัมผัสกับสารเคมีอันตราย อยู่ในพื้นที่เสียงดัง
และเพื่อสร้างความมั่นใจในการทำงานให้กับพนักงาน

3. พนักงานที่ปฏิบัติงานหน้างานต้องมีความรู้ ความปลอดภัย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน เริ่มต้นที่ตัวคุณ
ให้คิดอยู่เสมอว่าการให้ความรู้เป็นเครื่องมือป้องกัน
การความเสี่ยงจากอันตรายที่จะเกิดขึ้นจาก
การทำงาน และเป็นการพัฒนาองค์ความรู้
ด้านความปลอดภัยในการทำงานให้กับลูกจ้าง

4. สร้างการมีส่วนร่วม ชี้จุดเสี่ยงภัยในการทำงาน
ลูกจ้างที่อยู่หน้างานเท่านั้นถึงจะเห็นจุดเสี่ยงภัย
สร้างช่องทางการสื่อสารให้พนักงานได้แจ้ง
ข่าวสาร เพื่อปรับปรุงสถานที่ทำงานให้มีความ
ปลอดภัย

5. สร้างวัฒนธรรมที่ทำงานความปลอดภัย
สร้างขวัญกำลังใจให้กับพนักงานในองค์กร
แล้วสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า ทุก ๆ วัน
ของการทำงานทุกคนจะมีความปลอดภัยในการทำงาน

21



บริษัท ออนเนอร์สชานเช็งอินดัสเตรียล
(ประเทศไทย) จำกัด


Click to View FlipBook Version