The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานชิ้นที่ 8 ศึกษาส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-09-21 22:06:01

งานชิ้นที่ 8 ศึกษาส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์

งานชิ้นที่ 8 ศึกษาส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์

POWER
SUPPLY

ศึกษาส่วนประกอบ
ของเครื่องคอมพิวเตอร์

นำ เ ส น อ โ ด ย
นายณัทฐา ทองกรณ์ เลขที่3
น.ส.นันทกานต์ จันทร์สุรางค์ เลขที่5
น.ส.วสุนธรา อุปการแก้ว เลขที่8
น.ส.ศุภยา มณีโชติ เลขที่10

1.เลือกซื้อ POWER SUPPLY ที่มาจาก
แ บ ร น ด์ ชั้ น นำ

สิ่งที่สำคัญที่สุดในการเลือกซื้อพาวเวอร์ ซัพพลาย คือ ควรเลือก
ซื้อสินค้าที่มาจากแบรนด์ชั้นนำต่างๆ ที่มีคุณภาพผ่านการรับรอง
มาตรฐานด้านความปลอดภัย เพื่อประสิทธิภาพในการใช้งานสูงสุด มี
การรับประกันสินค้าที่ยาวนาน ช่วยเพิ่มความปลอดภัยในการใช้งาน
ด้วยนอกจากนี้
ยังเป็นการยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ แถมบางรุ่นยังผ่านการ
รับรองมาตรฐาน 80 Plus อีกด้วย

2 . เ ลื อ ก ซื้ อ จ า ก ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง พ า ว เ ว อ ร์
ซั พ พ ล า ย

ปกติแล้ว POWER SUPPLY แบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท
ด้วยกัน ซึ่งการใช้งานจริงนั้ นแทบไม่แตกต่างกันเลย แต่สิ่ งที่
แตกต่างก็คือ ความสามารถในการถอดหรือเชื่อมต่อสาย
เคเบิ้ ลเข้ากับตัวอุปกรณ์ นั่ นเอง ซึ่งแบ่งออกได้ดังนี้

2.1.NON-MODULA เป็ น PSU ประเภทที่มีราคาถูกที่สุด
เนื่ องจากมีสายเชื่อมต่อออกมาจากตัวของอุปกรณ์ โดยตรง
นอกจากนี้ ยังไม่สามารถทำการถอดออกได้ ข้อเสี ยคือหากผู้ใช้
งานต้องการอัพเกรดหรือติดตั้งชิ้นส่ วนต่างๆ เข้าไปใน
คอมพิ วเตอร์เพิ่ มเติม ตัวสายเชื่อมต่อที่ให้ มาอาจจะไม่เพี ยงพอ
ต่ อ ก า ร ใ ช้ง า น

หน้ าที่1

2.2.SEMI-MODULA สำหรับ PSU ประเภทนี้ ข้อดีคือมี
ช่องสำหรับเชื่อมต่อสายเคเบิลบางประเภทเพิ่ มเติมได้ แต่จะมี
สายหลักติดตั้งมากับอุปกรณ์ คล้ายกับประเภท NON-MODULA
ส่ วนสายที่ติดตั้งเพิ่ มได้มักจะเป็ นสายประเภท POWER
CONNECTOR ของการ์ดจอ เพื่ อที่จะได้สามารถทำการเชื่อมต่อ
แบบ SLI หรือ CROSSFIRE

2.3.FULL-MODULA เป็ น PSU ที่ได้รับความนิ ยมเป็ น
อ ย่ า ง ม า ก ใ น ห มู่ เ ก ม เ ม อ ร์ ห รื อ ว่ า ผู้ ที่ ชื่น ช อ บ ก า ร ต ก แ ต่ ง
คอมพิ วเตอร์ เนื่ องจากสามารถถอด/ต่อสายออกจากตัว
อุปกรณ์ ได้หมดทุกเส้ นนั่ น จึงเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการจัดสาย
ไฟภายในอุปกรณ์ ให้ มีความเป็ นระเบียบเป็ นอย่างมาก

หน้ าที่2

3. เลือกซื้อ POWER SUPPLY จากขนาด
ค ว า ม จุ

การเลือกซื้อ POWER SUPPLY ตามขนาดความจุ เป็ นสิ่ ง
ที่ควรคำนึ งถึงเป็ นอันดับต้นๆ ฮาร์ดแวร์ทั้งหมดภายใน
คอมพิ วเตอร์ ควรที่จะใช้งานคู่กับ PSU ความจุเท่าไหร่ถึงจะ
เพี ยงพอต่อการใช้งาน ซึ่งขนาดความจุนั้ นก็เริ่มต้นตั้งแต่ 400W
ไปจนถึง 1250W ยิ่ งตัวเลขเยอะก็หมายความว่าสามารถรองรับ
การใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ ที่มีสเปคสูง ที่ต้องการกำลังไฟฟ้ าใน
การใช้งานมาก พร้อมกันได้หลายชิ้น นอกจากนี้ ยังติดตั้ง
เทคโนโลยีเสริม เพื่ ออำนวยความสะดวกในการใช้งานให้ มากยิ่ ง
ขึ้ น

วิธีการแกะ POWER SUPPLY

1.เปิ ดฝา CASE

หน้ าที่3

2.ถอดสายไฟที่เชื่อมต่อกับ POWER SUPPLY
อ อ ก จ า ก เ ม น บ อ ร์ ด

หน้ าที่4

3.ถอด POWER SUPPLY ตัวเก่าออกจาก CASE

4.นำ POWER SUPPLY ตัวใหม่ หรือเอามาจากอะไหล่ที่ยังใช้งาน
ได้อยู่ มาเปลี่ยน และทำการเสี ยบสายไฟ เข้าเมนบอร์ดให้
เ รี ย บ ร้ อ ย

หน้ าที่5

5.ตรวจสอบไฟเข้าแล้วหรือยัง และทำการทดลองเปิ ดเครื่อง
(อย่าเพิ งยึดน๊ อต ลองทดสอบดูก่อน)

6.หลังจากทดสอบเครื่องแล้ว ยึดน๊ อตระหว่าง POWER
SUPPLY กับ CASE ให้ แน่ น และปิ ดฝา CASE

หน้ าที่6

วิธีการติดตั้ง POWER SUPPLY

1 . เ ลื อ ก P O W E R S U P P L Y ที่ ใ ช้กั บ ค อ ม คุ ณ ไ ด้ . P O W E R S U P P L Y ที่
จ ะ ซื้ อ ต้ อ ง ใ ช้ไ ด้ กั บ เ ม น บ อ ร์ ด ข อ ง ค อ ม แ ล ะ ข น า ด พ อ ดี
กั บ H O U S I N G เ พ ร า ะ งั้ น ต้ อ ง เ อ า รุ่ น เ ม น บ อ ร์ ด ไ ป ค้ น ต่ อ ว่ า ต้ อ ง
ใช้POWER SUPPLY แบบไหน

2.รวบรวมเครื่องมือที่จำเป็ น อย่างน้ อยที่ต้องมีก็คือไขควง 1
อันเอาไว้ใช้ไขHOUSING ของ CPU ที่ปกติอยู่ทางขวาของ
กล่อง CPU ถ้ามองจากหลังกล่อง ตัว POWER SUPPLY บาง
ครั้งอาจจะใช้ไขควงแบบอื่น ให้ เช็คสกรู ที่มากับ POWER
SUPPLY จะรู้เลยว่าใช้ไขควงแบบเดียวกันได้หรือเปล่า

หน้ าที่7

3.เปิ ดเคสคอม. แล้วจะเห็ นชิ้นส่ วนข้างในของคอม
4.ตะแคงเคสคอมนอนลง ให้ เคสที่เปิ ดออกหงายขึ้ นมา

หน้ าที่8

5.เลื่อนสวิตช์กำลังไฟของ POWER SUPPLY. ถ้า POWER
SUPPLY มีสวิตช์บอกกำลังไฟ ให้ ปรับไปที่ 110V หรือ 115V
POWER SUPPLY จะได้จ่ายไฟเหมาะสม ไม่ทำให้ ชิ้นส่ วนที่เชื่อม
ต่ออยู่เสี ยหาย

6.หาตำแหน่ งวาง POWER SUPPLY. ปกติ POWER
SUPPLY UNITS (PSUS) จะอยู่ด้านบนของเคสคอม นี่ คือ
สาเหตุว่าทำไมสายไฟของคอมถึงต้องเสี ยบที่ด้านหลัง ข้าง
บนของเคส

หน้ าที่9

7.ใส่ POWER SUPPLY ใหม่ "ด้านหลัง" ของ POWER
SUPPLY ก็มีพั ดลมด้วย แต่ "ด้านหลัง" ของ POWER SUPPLY
ต้องหั นเข้าด้านหลังของเคส ส่ วน "ด้านล่าง" ให้ หั นเข้าด้าน
ในของเคส

8.ไขยึด POWER SUPPLY ไว้กับที่. พอ "ด้านหลัง" ของ
POWER SUPPLY UNIT แนบสนิ ทกับด้านหลังของเคสแล้ว
ให้ ใส่ สกรู ที่มีให้ แล้วไขยึด POWER SUPPLY ไว้กับที่

หน้ าที่10

9.เชื่อมต่อ POWER SUPPLY กับเมนบอร์ด หาสายไฟหลัก
ของ POWER SUPPLY (ปกติก็คือปลั๊กอันใหญ่สุด) แล้วเสี ยบ
กับพอร์ทสี่ เหลี่ยมแบนๆ ยาวๆ ของเมนบอร์ด แล้วเสี ยบสาย
ไ ฟ ร อ ง กั บ เ ม น บ อ ร์ ด

10.เชื่อมต่อ POWER SUPPLY กับชิ้นส่ วนอื่นๆ ของคอมจะมี
สายเส้ นเล็กๆ ไว้ให้ เสี ยบ POWER SUPPLY เข้ากับฮาร์ดไดรฟ์ ,
ไดรฟ์ CD และการ์ดจอของคอม ถ้าในเคสมีชิ้นส่ วนอื่น
นอกจากนี้ (เช่น ระบบไฟ) ก็ต้องเสี ยบต่อให้ ครบ

หน้ าที่11

11.ประกอบเคสคืนแล้วเสี ยบปลั๊กคอม ปิ ดฝาแล้วประกอบ
เคสคืน จากนั้ นตั้งเคสกลับมาเหมือนเดิมแล้วเสี ยบปลั๊กไฟ
และหน้ าจอ

12.เปิ ดคอม ถ้าเชื่อมต่อทุกอย่าง เสี ยบปลั๊กไฟ และเปิ ดคอม
แล้ว พั ดลมของ POWER SUPPLY ก็จะหมุน คอมจะบูทขึ้ นมาตาม
ปกติ ถ้าได้ยินเสี ยงบี๊บ แล้วไม่มีอะไรเกิดขึ้ น แสดงว่าเสี ยบอะไร
ผิดสั กอย่าง หรือ POWER SUPPLY จ่ายไฟให้ ชิ้นส่ วนต่างๆ ไม่พอ

หน้ าที่12


Click to View FlipBook Version