The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 642115035, 2022-09-05 10:38:50

พันธุศาสตร์

พันธุศาสตร์

บทที่ 5

การถ่ายทอดลักษณะ
ทางพั นธุกรรม

จัดเตรียมโดย

นาย พี รวัส เจียมอาตม์ ม.5/1 เลขที่ 13

1

การศึกษาพั นธุศาสตร์
ของเมนเดล

เกรเกอร์ เมนเดล(Gregory Mendel) บาทหลวงชาวออสเตรียเกิด
เมื่อ พ.ศ. 2365 เป็นบุตรชาวสวน จึงมีโอกาสได้เรียนรู้วิธีการผสม
พั น ธุ์ แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง พั น ธุ์ พื ช ม า ต้้ ง แ ต่ เ ด็ ก เ มื่ อ เ ป็ น บ า ท ห ล ว ง ไ ด้ ท ด ล อ ง
ปรับปรุงพันธุ์ พืชโดยเฉพาะถั่วลันเตาซึ่งทำไป พร้อม ๆ กบังาน
สอนศาสนาและเมนเดลพบวา่ “ลักษณะที่ปรากฏในลูกเป็นผลมา
จาก การถ่ายทอดหน่วยที่ควบคุมลกัษณะต่างๆ ซึ่งได้จากพ่อแม่
โดยผ่านทางเซลสืบพนัธุ์”
เมื่อปี พ.ศ. 2408 เมนเดลได้เสนอผลการศึกษาค้นคว้า ต่อสมาคม
ธรรมชาติที่เมืองบรูนน์ (Brunn) ในประเทศออสเตรเลียต่อมาได้
รับการยกย่องเป็น “บิดาแห่ง พนัธุศาสตร ์” เมนเดลเลือกใชต้นถั่ว
ลันเตา (Pisum sativum) เพื่อศึกษาการถ่ายทอดลกัษณะทาง
พนัธุกรรมโดยมีเหตุผลหลายประการดังนี้ 1.ปลูกง่าย อายุสั้น
เจริญเติบโตเร็วให้ผลดก 2.มีหลายพันธุ์ มีลักษณะแตกต่างกัน
ชัดเจน สามารถคัดเลือกลกัษณะที่ต้องการได้ง่าย 3. ดอกถวั่ลัน
เตาเป็นดอกสมบูรณ์ เพศ มีการผสมในดอกเดียวกัน และสามารถ
ควบคุม การทดลองให้ผสมข้ามต้นได้ง่าย

ที่มา : HTTP://WWW.THAIGOODVIEW.COM/LIBRARY/CONTES
T2551/SCIENCE03/53/2/HEREDITY/PICTURES/MENDEL.JPG

2

การศึกษาพั นธุ-
ศาสตร์ ของเมนเดล

เมนเดลได้ทำการทดลองผสมพั นธุ์ถั่วลันเตาที่มีประวัติว่ามีต้นสูงทุกรุ่นกับต้นเตี้ย
ผลปรากฏว่ารุ่นลูกหรือรุ่น F1 (FIRST FILIAL GENERATION) เป็นต้นสูงทั้งหมดและเมื่อ
เมนเดลนำเอาเมล็ด ที่เกิดจากการผสมพั นธุ์ ภายในดอกเดียวกันของรุ้น F1 ไปเพาะเมล็ด

ซึ่งเป็นรุ่นหลานหรือรุ่น F2 (SECOND FILIAL GENERATION) ปรากฏว่ามีต้นสูง
มากกว่าต้นเตี้ยในอัตราส่วน 3:1

ที่มา :
HTTP://WWW.SKOOLBUZ.COM/LIBRARY/CONTENT/2922

3

การศึกษาพั นธุศาสตร์ ของเมนเดล

เมนเดลอธิ บายผลการทดลองว่า ลั กษณะต้ นสู งที่ ปรากฏในทุ กรุ่ น เรี ยกว่า ลั กษณะ
เด่ น (dominant) ส่ วนลั กษณะต้ นเตี้ ยที่ มี โอกาสปรากฏในบางรุ่ น เรี ยกว่า ลั กษณะ
ด้ อย (recessive) เมนเดลได้ ทาการทดลองแบบเดี ยวกั นนี้ กั บลั กษณะอื่ น ๆ ของถั่ ว
ลั นเตาอี ก 6 ลั กษณะ ปรากฏว่าได้ ผลออกมาในทานองเดี ยวกั น

5 ล้ า น 2 5 ล้ า น

3 7 ล้ า น

ภาพ 2-3 ลั กษณะต่ าง ๆ ของถั่ วลั นเตาที่ เมนเดลใช้ ในการศึ กษา
ที่ มา : http://upic.me/i/9e/592px-mendel_seven_characters_svg.png

เมนเดลสรุ ปผลการทดลองว่าลั กษณะต่ าง ๆ ของถั่ วลั นเตาต้ องมี หน่ วย
พั นธุ กรรมควบคุ มลั กษณะแต่ ละลั กษณะ ต่ อมาหน่ วยพั นธุ กรรมนี้ เรี ยกว่า ยี น
(gene)

4

กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพั นธุกรรม

ที่มา : HTTP://UPLOAD.WIKIMEDIA.ORG/WIKIPEDIA/COMMONS/THUMB/0/07/GENE.PNG/250PX-
GENE.PNG

หลั กการถ่ ายทอดลั กษณะทางพั นธุ กรรม
1. หน่ วยพั นธุ กรรมหรื อยี น (gene) หมายถึ ง สิ่ งที่ ควบคุ มลั กษณะทาง
พั นธุ กรรม
ของสิ่ งมี ชี วิต ซึ่ งจะถ่ ายทอดจากพ่ อแม่ ไปยั งรุ่ นต่ อไปได้ ยี นอยู่ บนโครโมโซม
มี ลั กษณะ
เรี ยงกั นเหมื อนสร้ อยลู กปั ด ยี นแต่ ละตั วจะควบคุ มลั กษณะต่ าง ๆเพี ยง
ลั กษณะเดี ยว
ยี นมี องค์ ประกอบที่ สาคั ญคื อ DNA ที่ เกิ ดจากการต่ อกั นเป็นเส้ นของโมเลกุ ล
ย่ อยที่ เรี ยกว่า
นิ วคลี โอไทด์ (nucleotide)

5

ยีนที่ควบคุมลักษณะทางพั นธุกรรม

ยีนที่ควบคุมลักษณะทางพั นธุกรรม มี 2 ชนิด คือ

1) ยีนเด่น (DOMINANT GENE)
คือ ยีนที่แสดงลักษณะนั้นๆ ออกมาได้ แม้มียีนนั้นเพี ยงยีนเดียว
ยีนที่ควบคุมลักษณะทางพั นธุกรรม มี 2 ชนิด คือ

2) ยีนด้อย (RECESSIVE GENE)
คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะให้ปรากฏออกมาได้ ก็ต่อเมื่อ
มี ยี น ด้ อ ย ทั้ ง ส อ ง ยี น อ ยู่ บ น คู่ โ ค ร โ ม โ ซ ม

2. คู่ของยีนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะรูปร่างเหมือน
กั น
เป็นคู่ๆยีนที่อยู่บนโครโมโซมก็จะอยู่เป็นคู่ด้วยเช่นกัน โดยยีนที่ควบคุม
ลั ก ษ ณ ะ
ทางพั นธุกรรมลักษณะเดียวกันจะอยู่บนโครโมโซมที่ตำแหน่งเดียวกัน
เ ซ ล ล์ ร่ า ง ก า ย
ของสิ่งมีชีวิตมีโครโมโซมที่ทำหน้าที่ถ่ายทอดข้อมูลทางพั นธุกรรมอยู่ 2 ชุด
เ ข้ า คู่ กั น
เรียกว่า โครโมโซมคู่เหมือนหรือฮอมอโลกัสโครโมโซม (HOMOLOGOUS
CHROMOSOMES)
ถ้าพิ จารณาลักษณะทางพั นธุกรรมลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่น
ลักษณะสีตา จะพบว่า

มียีนที่ควบคุมลักษณะสีตาอยู่บนโครโมโซมแท่งหนึ่ง โครโมโซมคู่เหมือน
ก็ จ ะ มี ยี น ที่ ค ว บ คุ ม ลั ก ษ ณ ะ สี ต า ด้ ว ย เ ช่ น กั น

6

ยีนที่ควบคุมลักษณะทางพั นธุกรรม

2.1 แอลลีน(ALLELE)

คือ ยีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกันแต่ต่างรูปแบบกันแม้จะอยู่บน
โครโมโซมคู่เหมือนตรงตา แหน่งเดียวกัน เช่น ลักษณะของติ่งหูจะมียีน
ควบคุม อยู่ 2 แบบ คือ แอลลีนที่ควบคุมการมีติ่งหู
(ให้สัญลักษณ์เป็น B ) และแอลลีนควบคุม
การไม่มีติ่งหู (ให้สัญลักษณ์เป็น B)

2.2 จีโนไทป์ (GENOTYPE)

คือ ลักษณะการจับคู่กันของยีน มี 2 ลักษณะได้แก่
1)ลักษณะพั นธุ์แท้ (HOMOZYGOUS) เป็นการจับคู่ของยีนที่มีแอลลีน
เหมือนกัน เช่น แอลลีนควบคุมการมีติ่งหู (BB) แอลลีนควบคุมการไม่มี
ติ่งหู (BB)
2)ลักษณะพั นธุ์ทาง (HETEROZYGOUS) เป็นการจับคู่ของยีนที่มีแอลลีน
ต่างกัน เช่น แอลลีนควบคุมการมีติ่งหูจับคู่กับแอลลีนควบคุมการไม่มีติ่งหู
(BB)

2.3 ฟีโนไทป์ (PHENOTYPE)

คือ ลักษณะทางพั นธุกรรมที่แสดงออกมาให้เห็น เช่น ลักษณะสีผิว
ความสูง จานวนชั้นของหนังตา เป็นต้น

ดังนั้นคู่ของยีน หรือ จีโนไทป์ (GENOTYPE) ที่ควบคุมลักษณะของ
เมล็ดถั่วลันเตามี 3 แบบได้แก่ RR, RR และ RR คู่ของยีนที่มียีนเหมือกัน
เรียกว่า พั นธุ์แท้มี 2 แบบคือ RR และ RR
คู่ของยีนที่มียีนต่างกัน เรียกว่า พั นธุ์ทาง หรือลูกผสมมี 1 แบบคือ RR
ลักษณะที่แสดงออกหรือฟีโนไทป์ (PHENOTYPE) ของเมล็ดถั่วลันเตา มี
2 แบบคือ เมล็ดกลม (RR,RR) และเมล็ดขรุขระ (RR)
จ า ก ก า ร ใ ช้ สั ญ ลั ก ษ ณ์ แ ท น ยี น จึ ง ส า ม า ร ถ เ ขี ย น แ ผ น ภ า พ แ ท น ยี น ที่ ค ว บ คุ ม
ลักษณะทางพั นธุกรรมและผลการถ่ายทอดลักษณะในการผสมพั นธุ์ลักษณะ
ต่าง ๆ ได้ เช่น
ตัวอย่าง การผสมพั นธุ์ระหว่างถั่วลันเตาดอกสีม่วงพั นธุ์แท้กับดอกสีขาว
พั นธุ์แท้ และผลการผสมรุ่นลูก (F1) ด้วยกัน ให้ P แทนยีนที่ควบคุม
ลักษณะดอกสีม่วง P แทนยีนที่ควบคุมลักษณะดอกสีขาว
1. การผสมพั นธุ์ระหว่างถั่วลันเตาดอกสีม่วงพั นธุ์แท้กับดอกสีขาวพั นธุ์แท้
ได้ผลการทดลอง ดังนี้

7

รุ่นพ่ อแม่(P)
เซลล์สืบพั นธุ์

2564 รุ่นลูก(F1)

2. การผสมพั นธุ์ระหว่างรุ่นลูก (F1) ด้วยกัน ได้ผลการ
ทดลองดังนี้

รุ่นพ่ อแม่(P)
เซลล์สืบพั นธุ์

รุ่นลูก(F1)

8

การถ่ายทอดลักษณะทางพั นธุกรรมในคน

1. ลักษณะที่ถ่ายทอดทางพั นธุกรรม มนุษย์จะถ่ายทอดลักษณะจากบรรพบุรุษ
สู่ลูกหลาน เช่น สีตา สีผม ความสูง สีผิว ห่อลิ้นได้ ห่อลิ้นไม่ได้ ผมหยิก ผม
เหยียด มีติ่งหู ไม่มีติ่งหู เป็นต้น
โดยลูกจะได้รับการถ่ายทอดลักษณะจากพ่ อและแม่
พ่ อจะได้รับการถ่ายทอดลักษณะมาจากปู่ ย่า
แม่จะได้รับการถ่ายทอดลักษณะจากตา ยาย
การถ่ายทอดลักษณะเช่นนี้เป็นการถ่ายทอดลักษณะทางพั นธุกรรม ลักษณะบาง
ลักษณะของลูกอาจเหมือนหรือแตกต่างจากพ่ อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ลักษณะที่
แตกต่างออกไปนี้ เป็นลักษณะที่แปรผันและสามารถถ่ายทอดสู่รุ่นลูก รุ่นหลาน
ต่ อ ไ ป

9

การถ่ายทอดลักษณะทางพั นธุกรรมในคน

2. การถ่ายทอดลักษณะทางพั นธุกรรมโดยยีนบนออโตโซมและยีนบนโครโมโซม
เพศ
2.1 ยีนบนออโตโซม โครโมโซมแต่ละแท่งมียีนจานวนมากและยีนส่วนใหญ่จะอยู่
บนออโตโซม ดังนั้นลักษณะทางพั นธุกรรมจะถูกถ่ายทอดโดยยีนที่อยู่บนออโต
โซมการถ่ายทอดลักษณะทางพั นธุกรรมโดยยีนที่อยู่บนออโตโซมแบ่งเป็น 2
ช นิ ด คื อ
1) การถ่ายทอดลักษณะทางพั นธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนด้อยบนออโตโซม เมื่อดู
จากภายนอกทั้งพ่ อและแม่มีลักษณะปกติ แต่ทั้งคู่มียีนที่ควบคุมลักษณะผิดปกติ
แฝงอยู่ เรียกว่าเป็นพาหะ (CARRIER)ของลักษณะที่ผิดปกตินั้น เช่น ลักษณะ
ผิวเผือก โรคธาลัส ซีเมีย โรคซิกเคิลเซลล์หรือเซลล์เม็ดเลือดแดงเป็นรูปเคียว

10

การถ่ายทอดลักษณะทางพั นธุกรรมในคน

2.2 ยีนบนโครโมโซมเพศ

1) ชนิดของยีนบนโครโมโซมเพศ เพศหญิงมีโครโมโซมเพศแบบ XX
เพศชายมีโครโมโซมเพศแบบ XY โครโมโซม X มีขนาดใหญ่จึงมียีนอยู่จานวน
มาก มีทั้งยีนที่ควบคุมลักษณะ เพศหญิงและยีนที่ควบคุมลักษณะอื่น ๆ เช่น
ตาบอดสี โรคฮีโมฟีเลีย(เลือดแข็งตัวช้า) โรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบ และภาวะ
พร่องเอนไซม์กลูโคส -6-ฟอสเฟสดีไฮโดรจีเนส หรือ G-6-PD ซึ่งยีนเหล่านี้จะ
เป็นยีนด้อย โครโมโซม Y มีขนาดเล็ก มียีนอยู่จานวนน้อย มีทั้งยีนที่ควบคุม
ลักษณะเพศชายและยีนที่ควบคุมลักษณะอื่น ๆ ได้แก่ ยีนที่ควบคุมลักษณะมีขน
บนใบหู ซึ่งถ่ายทอดจากพ่ อไปยังลูกชายและจากลูกชายไปยังหลานชาย
2) การถ่ายทอดลักษณะที่ควบคุมโดยยีนบนโครโมโซมเพศ เนื่องจากยีน ที่เกี่ยว
เนื่องกับเพศอยู่บนโครโมโซม X หรือ Y การเขียนสัญลักษณ์ เช่น ยีนที่ควบคุม
ลักษณะตาบอดสี ซึ่งอยู่บนโครโมโซม X เขียนได้ดังนี้
กาหนดให้ C แทนยีนที่ควบคุมลักษณะตาปกติ
C แทนยีนที่ควบคุมลักษณะตาบอดสี
ตาราง แสดงจีโนไทป์ของลักษณะตาบอดสีในเพศหญิงและเพศชาย

จ บ ก า ร นำ เ ส น อ

บรรณานุกรม

แหน่งที่มาของเนื้อหาส่วนใหญ่



HTTP://WWW.THAISCHOOL1.IN.TH/_FILES_SCHOOL/41101285/WO
RKTEACHER/41101285_1_20191104-164034.PD


Click to View FlipBook Version