‘สกุลกุ ช่า ช่ งจัก จั รพัน พั ธุ์ ’ Report : Man And Arts นายช่างเอกในรอบ 200 ปี แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ CHAKRABHAND POSAYAKRIT vol. 01
บริบริทสังสัคมที่เ ที่ กี่ย กี่ วข้อข้ง TABLE OF CONTENTS ประวัติวั ติ รางวัลวัสำ คัญคั แรงบันบัดาลใจ 03 07 08 10 สารบัญ บั รูปรูแบบ เทคนิคนิและวิธีวิกธีาร 12 แนวคิดคิ 19 ผลงานที่โที่ ดดเด่นด่ 22 บรรณานุกนุรม 32
BIOGRAPHY บิดบิา : นาย ชุบชุโปษยกฤต มารดา : นาง สว่าว่งจันจัทร์ โปษยกฤต พี่ช พี่ าย : นาย ฉันฉัทภัคภั โปษยกฤต ครอบครัว อาจารย์ จักรพันธุ์ โปษยกฤต เกิดกิ : 16 สิงสิหาคม พ.ศ. 2486 ภูมิภูลำมิ ลำเนา : กรุงเทพมหานคร บุตบุรลำ ดับดัที่ : 2 โรงเรียรีนคุณคุครูเรูนี้ย นี้ น สโรชมาน โรงเรียรีนวชิรชิาวุธวิทวิยาลัยลั คณะจิตจิรกรรมและประติมติากรรม มหาวิทวิยาลัยลัศิลศิปากร ประวัติส่วนตัว 03 การศึกษา
โรงเรียรีนคุณคุครูเรูนี้ย นี้ น สโรชมาน เข้าข้ศึกศึษาเมื่อมื่อายุ 6 ปี โรงเรียรีนวชิรชิาวุธวิทวิยาลัยลั จบการศึกศึษาเมื่อมื่ปี พ.ศ . 2504 มัธยมตอนปลาย อุดมศึกษา ประถมศึกษา-มัธยมตอนต้น EDUCATIONAL ประวัติการศึกษา 04 BACKGROUND ปริญริญาบัณบัฑิตฑิ มหาวิทวิยาลัยลัศิลปากร คณะจิตจิรกรรมและประติมติากรรม ปริญริญาดุษดุ ฎีบัฎีณบัฑิตฑิกิตกิติมติศักศัดิ์ มหาวิทวิยาลัยลัศิลปากร ศิลปดุษดุ ฎีบัฎีณบัฑิตฑิสาขา จิตจิรกรรม ศิลปดุษดุ ฎีบัฎีณบัฑิตฑิสาขา ประยุกต์ศิต์ ศิลป์ จุฬาลงกรณ์มณ์หาวิทวิยาลัยลั ศิลปกรรมศาสตร์ดุร์ษดุ ฎีบัฎีณบัฑิตฑิกิตกิติมติศักดิ์ สาขานฤมิตมิศิลป์ มหาวิทวิยาลัยลัรามคำ แหง ศิลศิปกรรมศาสตรดุษดุ ฎีบัฎีณบัฑิตฑิ สาขา นาฏกรรม
อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ โปษยกฤต เป็นป็ศิลศิปินปิอิสอิระที่มีที่คมีวามเชี่ยชี่วชาญด้าด้นจิตจิรกรรม ประติมติากรรมและงานหุ่นหุ่กระบอก ทั้งทั้ แบบไทยประเพณีแณีละศิลศิปะร่วร่มสมัยมัมีเมีอกลักลัษณ์ใณ์นการสร้าร้งสรรค์ผค์ลงานเป็นป็ของตัวตัเอง และสร้าร้งสรรค์ผค์ลงานเรื่อรื่ยมา หลังลัจบจากคณะจิตจิรกรรมและประติมติากรรมในปี 2510 อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ใธุ์นวัยวั 24 ปีก็ปีเก็ข้าข้ทำ งานเป็นป็ครูพิรูเพิศษสอนวิชวิา วิจัวิยจัศิลศิปะไทย คณะมัณมัฑนศิลศิป์ มหาวิทวิยาลัยลัศิลศิปากร ก่อก่นจะสมัคมัรสอบเข้าข้เป็นป็ช่าช่งเขียขีนซ่อซ่มจิตจิรกรรมฝาผนังนัรอบระเบียบีง วัดวัพระแก้วก้ซึ่งซึ่เป็นป็การเปิดปิ ให้สห้อบเข้าข้เป็นป็รุ่นรุ่แรกในรอบกว่าว่ 30 ปี พุทธศักศัราช 2517 อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ไธุ์ด้มีด้ โมีอกาสรู้จัรู้กจักับกั ครูชื้รูชื้นชื้สกุลกุแก้วก้เจ้าจ้ของคณะหุ่นหุ่กระบอกนายเปียปีก เป็นป็จุดจุเริ่มริ่ต้นต้งานด้าด้นหุ่นหุ่กระบอกเรื่อรื่ยมาจนคณะหุ่นหุ่กระบอกเป็นป็ของ ตนเอง จนกระทั่งทั่ในปีพุปีพุทธศักศัราช 2543 อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ โปษยกฤต ได้รัด้บรัการยกย่อย่งเชิดชิชูเชูกียกีรติเติป็นป็ศิลศิปินปิแห่งห่ชาติ สาขา ทัศทันศิลศิป์ (จิตจิรกรรม) ประจำ ปีพุปีพุทธศักศัราช 2543 และได้รัด้บรัการยกย่อย่งเป็นป็ 1 ใน 52 นายช่าช่งเอกในรอบ 200 ปี แห่งห่กรุงรุ รัตรันโกสินสิทร์ อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ โปษยกฤต เป็นป็ศิลศิปินปิอิสอิระที่มีที่คมีวามเชี่ยชี่วชาญด้าด้นจิตจิรกรรม ประติมติากรรมและงานหุ่นหุ่กระบอก ทั้งทั้ แบบไทยประเพณีแณีละศิลศิปะร่วร่มสมัยมัมีเมีอกลักลัษณ์ใณ์นการสร้าร้งสรรค์ผค์ลงานเป็นป็ของตัวตัเอง และสร้าร้งสรรค์ผค์ลงานเรื่อรื่ยมา หลังลัจบจากคณะจิตจิรกรรมและประติมติากรรมในปี 2510 อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ใธุ์นวัยวั 24 ปีก็ปีเก็ข้าข้ทำ งานเป็นป็ครูพิรูเพิศษสอนวิชวิา วิจัวิยจัศิลศิปะไทย คณะมัณมัฑนศิลศิป์ มหาวิทวิยาลัยลัศิลศิปากร ก่อก่นจะสมัคมัรสอบเข้าข้เป็นป็ช่าช่งเขียขีนซ่อซ่มจิตจิรกรรมฝาผนังนัรอบระเบียบีง วัดวัพระแก้วก้ซึ่งซึ่เป็นป็การเปิดปิ ให้สห้อบเข้าข้เป็นป็รุ่นรุ่แรกในรอบกว่าว่ 30 ปี พุทธศักศัราช 2517 อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ไธุ์ด้มีด้ โมีอกาสรู้จัรู้กจักับกั ครูชื้รูชื้นชื้สกุลกุแก้วก้เจ้าจ้ของคณะหุ่นหุ่กระบอกนายเปียปีก เป็นป็จุดจุเริ่มริ่ต้นต้งานด้าด้นหุ่นหุ่กระบอกเรื่อรื่ยมาจนคณะหุ่นหุ่กระบอกเป็นป็ของ ตนเอง จนกระทั่งทั่ในปีพุปีพุทธศักศัราช 2543 อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ โปษยกฤต ได้รัด้บรัการยกย่อย่งเชิดชิชูเชูกียกีรติเติป็นป็ศิลศิปินปิแห่งห่ชาติ สาขา ทัศทันศิลศิป์ (จิตจิรกรรม) ประจำ ปีพุปีพุทธศักศัราช 2543 และได้รัด้บรัการยกย่อย่งเป็นป็ 1 ใน 52 นายช่าช่งเอกในรอบ 200 ปี แห่งห่กรุงรุ รัตรันโกสินสิทร์ อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ โปษยกฤต เคยเป็นป็พระอาจารย์พิย์เพิศษถวายการสอนวิชวิาจิตจิรกรรม ให้กัห้บกัทูลทูกระหม่อม่มหญิงญิอุบล รัตรันราชกัญกัญา สิริสิวัริฒวันาพรรณวดีแดีละสมเด็จด็พระกนิษนิฐาธิรธิาชเจ้าจ้กรมสมเด็จด็พระเทพรัตรันราชสุดสุา เจ้าจ้ฟ้าฟ้มหาจักจัรีสิรีริสินริธร มหาวชิรชิาลงกรณวรราชภักภัดี สิริสิกิริจกิการิณีริพีณีรพียพัฒพัน รัฐรัสีมสีาคุณคุากรปิยปิชาติ สยามบรมราชกุมกุาร ปัจจุบันได้ก่อตั้งมูลนิธิจัธิ จักรพันธุ์ โปษยกฤต ซึ่ง ซึ่ เป็นทั้งพิพิธภัณฑ์ มูลนิธิ สถานที่ทำ งาน และโรงหุ่นที่บริเริวณบ้านถนนเอกมัย ประวัติการทำ งาน 05 WORK BACKGROUND
LUMINOUS นัยแสง ได้รัด้บรัรางวัลวัประกาศนียนีบัตบัรเกียกีรตินิติยนิมอันอัดับดั 2 เหรียรีญเงินงิ ประเภทจิตจิรกรรม การแสดงศิลศิปกรรมแห่งห่ชาติ ครั้งรั้ที่ 17 พ.ศ. 2510 ได้รัด้บรัรางวัลวัประกาศนียนีบัตบัรเกียกีรตินิติยนิมอันอัดับดั 2 เหรียรีญเงินงิ ประเภทจิตจิรกรรม การแสดงศิลศิปกรรมแห่งห่ชาติครั้งรั้ที่ 22พ.ศ. 2517 “ ” 06 ภาพ สุวสุรรณี สุคสุนธา (2510), เทคนิคนิสีน้ำสีน้ำมันมับนผ้าผ้ใบ ภาพ คนนั่งนั่ (2517), เทคนิคนิสีอสีะคริลิริกลิบนผ้าผ้ใบ Luminous นัยแสง
พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2530 รางวัลสำ คัญ อนุกนุรรมการผู้ทผู้ รงความรู้ทรู้างศิลศิปะ ได้รัด้บรั ยกย่อย่งเป็น ๑ ใน ๕๒ นายช่าช่งเอกใน รอบ ๒๐๐ ปีแห่งห่กรุงรุรัตรันโกสินสิทร์ ผู้มีผู้ ผมีลงานดีเดีด่นด่ทางศิลศิปะ พ.ศ. 2531 ศิลศิปินไทยที่มี ที่ ผมีลงานดีเดีด่นด่และสร้าร้งชื่อชื่ ให้กัห้บกั ประเทศไทย พ.ศ. 2532 รางวัลวัผู้สผู้ นับนัสนุนนุดีเดีด่นด่การอนุรันุกรัษ์มษ์รดกไทย คณะกรรมการอำ นวยการ วันวัอนุรันุกรัษ์มษ์รดกไทย พ.ศ. 2533 ผู้ทผู้ รงคุณคุวุฒิด้ฒิาด้นศิลศิปะ กระทรวงศึกศึษาธิกธิาร พ.ศ. 2542 เกียกีรติบัติตบัรจากกรมศิลศิปากรในฐานะผู้ใผู้ห้กห้าร สนับนัสนุนนุกิจกิกรรม และการดำ เนินนิงาน ของกรม ศิลศิปากร พ.ศ. 2543 รางวัลวัศิลศิปินแห่งห่ชาติ สาขาทัศทันศิลศิป์ (วิจิวิตจิรศิลศิป์)ป์จากสำ นักนังานคณะกรรมการ วัฒวันธรรมแห่งห่ชาติ พ.ศ. 2552 บุคบุคลดีเดีด่นด่ของชาติ สาขาเผยแพร่เร่กียกีรติภูติมิภูมิปั ของไทย ประจำ ปีพุทธศักศัราช ๒๕๕๒ ปัจจุบัน เป็นศิลศิปินอิสอิระ ทำ งานจิตจิรกรรม หุ่นหุ่ไทย และงานวิจิวิตจิรศิลศิป์อื่ป์ อื่นอื่ๆ 07 AWARD IMPORTANT
สภาพแวดล้อล้มตอนเด็กด็อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ เข้าข้ เรียรีนชั้นชั้ประถมและมัธมัยมที่โที่ รงเรียรีนวชิรชิาวุธวุ วิทวิยาลัยลั ในโรงเรียรีนนอกจากจะปลูกลูฝังฝัด้าด้น วิชวิาการและด้าด้นกีฬกีาแล้วล้พระยาภะรตราชา ผู้ บังบัคับคัการโรงเรียรีนในสมัยมันั้นนั้ยังยัสนับนัสนุนนุใน ด้าด้นศิลศิปะด้วด้ย โดยจัดจัหาครูรรูะดับดัปรมาจารย์ที่ย์ ที่ มีชื่มีชื่อชื่เสียสีงอย่าย่ง เปรม ไสยวงษ์,ษ์นิโนิร โยโกต้าต้ มาสอนด้าด้นการวาด และพฑูรฑูย์ เมือมืงสมบูรบูณ์ มาสอนด้าด้นการปั้นปั้ ทั้งทั้ในเวลาเรียรีนและเวลาเล่นล่อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์มัธุ์กมั จะฝึกฝึฝนฝีมืฝีอมืการวาดภาพอยู่เยู่สมอ สมุดมุหนังนัสือสื ของท่าท่นไม่ว่ม่าว่จะวิชวิาอะไรก็เก็ต็มต็ ไปด้วด้ยภาพวาด ที่โที่ รงเรียรีนวชิรชิาวุธวุหลังลับ่าบ่ยสามโมงนั้นนั้เป็นป็เวลาให้ นักนัเรียรีนเล่นล่กีฬกีา ในขณะที่เ ที่ พื่อพื่น ๆ เตะบอล เล่นล่ รักรับี้ เล่นล่บาส อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์จธุ์ะย่อย่งไปแอบวาด ภาพอยู่ใยู่นตึกตึ ในช่วช่งที่อ ที่ าจารย์เย์รียรีนอยู่มัยู่ธมัยม ปลาย บิดบิาของท่าท่นได้พด้าไปพบจำ รัสรัเกียกีรติก้ติอก้ง ศิลศิปินปิชั้นชั้แนวหน้าน้ของไทยที่มี ที่ ชื่มีชื่อชื่เสียสีงด้าด้นการ วาดภาพบุคบุคลเพื่อพื่ฝากตัวตัเป็นป็ศิษศิย์ หลังลัจากนั้นนั้ ฝ่ายญาติยังพาท่านไปฝากเนื้อฝากตัวกับ อาจารย์ ศิลศิป์ พีรพีะศรี ท่าท่นจึงจึได้มีด้ โมีอกาสเรียรีนรู้ และศึกศึษาศิลศิปะกับกัอาจารย์ศิย์ลศิป์นป์อกเวลาเรียรีน อยู่พัยู่กพัใหญ่ บริบทสังคมที่เกี่ยวข้อง 08 SOCIAL CONTEXT
แรงบับั บั น บั นดาลใจ ARTIST : CHAKRABHAND POSAYAKRIT INSPIRATION
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต ผลงานของอาจารย์ส่วนใหญ่จะได้รับรั แรงบันดาลใจจากวรรณคดี นาฏศิลป์ไป์ทย ธรรมชาติ และเหล่าผู้คน อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์เธุ์ป็นป็ศิษย์ที่ย์ ที่ มีคมีรูแรูละให้ ความนับนัถือถืครูบรูาอาจารย์มย์าก แม้จม้ะเข้าข้เรียรีน คณะจิตจิรกรรมและประติมติากรรม มหาวิทวิยาลัยลั ศิลศิปากร หลังลัอาจารย์ศิย์ลศิป์ พีรพีะศรี ถึงถึแก่กก่รรม เพียงปีเดียว (14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) แต่ ‘อาจารย์ฝย์รั่งรั่’ ก็เก็ป็นป็แรงบันบัดาลใจให้อห้าจารย์ จักรพันธุ์เธุ์สมอมา นับตั้งตั้แต่ก่อนเข้าเรียรีนที่ มหาวิทวิยาลัยลัศิลศิปากร โดยอาจารย์ศิย์ลศิป์แป์นะนำ วิธีวิธี วาดเส้นส้และสอนให้รู้ห้จัรู้กจัสังสัเกตสิ่งสิ่ต่าต่ง ๆ ตาม ธรรมชาติด้ติวด้ยสายตาศิลศิปินปิ อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ยัธุ์งยัจำ ได้ว่าว่เมื่อมื่ครั้งรั้เป็น เด็กชั้นชั้ประถม 2 โรงเรียรีนพาไปดูละครเรื่อรื่ง อิเหนา ตอน ประสันตาต่อนก ซึ่งซึ่สร้าร้งความ ประทับใจให้เด็กคนหนึ่งอย่างมากจนกลับมา เขียนรูปตัวละครใส่ชฎาและทำ ม้ากระดาษแข็ง เอาไว้เล่นตามเรื่อรื่งราวในละครตอนที่ได้ดูมา นอกจากเขียนภาพตัวละครที่ได้เห็นจาก โขนละครแล้ว อาจารย์จักรพันธุ์ยังชอบเขียน รูปรูตัว ละครในวรรณคดีโดีดยดูแดูบบจากรูปรูยาซิกซิา แรตที่แถมมาในซองบุหรี่ต รี่ รานกอินทรีย์รีกย์างปีกปี มีทั้งเรื่อรื่งพระอภัยมณี รามเกียรติ์ สังข์ทอง อิเหนา ขุนช้าช้งขุนแผน ฯลฯ เพราะในสมัยมันั้นนั้ยังยั ไม่มีม่หมีนังนัสือสืจิตจิรกรรมไทยพิมพิพ์อพ์อกมาขายให้ วาดตามอย่าย่งสักสัเท่าไร จึงจึต้องอาศัยรูปรูจาก ซองบุหรี่ที่ รี่ ที่ มีผู้มี ใผู้หญ่สญ่ะสมไว้มว้าเป็นป็แบบ “ การชอบเขียนรูปทำ ให้ สร้างโลกของตนเองขึ้น มาได้ตามใจปรารถนา ประสาเด็ก ไปดูโขนละครตอนไหน เรื่องไหนมาก็เห่อเขียน เรื่องนั้นตอนนั้น ” INSPIRATION แรงบันดาลใจ 10
ก่อ ก่ นจะเขีย ขี น ก.ไก่ เป็น ป็ จัก จั รพัน พั ธุ์ก็ธุ์ ก็ วาดเป็ด ป็ และห่า ห่ นได้ดี ด้ แ ดี ล้ว ล้ ข้อข้สังสัเกตของศาสตราจารย์ ดร.นันนัทวัฒวัน์ ที่ว่าว่ อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ไธุ์ด้ใด้ช้ชีช้วิชีตวิสร้าร้งงานมาอย่าย่งเต็มที่ นั้นนั้ถือว่าว่มีคมีวามจริงริไม่น้ม่อน้ยเพราะอาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ ได้ตั้ด้ ตั้งตั้ ไข่ล้ข่ ล้มลุกลุคลุกลุคลานฝึกฝนและเริ่มริ่แสดงฝีมือมื มาตั้งตั้แต่ยังยัเล็กก่อนเรียรีนหนังนัสือสืดังดัที่ครูวรูชิรชิาวุธ ท่านหนึ่งนึ่เล่าว่าว่ นอกจากนั้นนั้นาฏกรรมอันประณีตณีดูจดูะเป็นป็สิ่งสิ่กระตุ้นตุ้สัญสัชาตญาณศิลปินปิของเด็กด็ชาย จักจัรพันพัธุ์ เช่นช่ ในยามที่มารดา (สว่าว่งจันจัทร์ โปษยกฤต) ผู้เผู้ป็นป็ครูสรูอนเปียปี โนใช้เช้วลาพักพั นั่งนั่ถักโครเชต์ อาจารย์จย์ะไปรื้อรื้เอาสมุดเพลงเปียปี โนบัลบัเลต์มาคัดลอกรูปรูบัลบัเลรินริาซึ่งซึ่ กรีดรีกรายอยู่บยู่นปก หรือรืต่อมายามอาจารย์อย์ยู่ชั้ยู่นชั้ ประถม 3 ที่วชิรชิาวุธวิทวิยาลัยและ โรงเรียรีนส่งส่เข้าข้ประกวดวาดภาพในงานศิลปกรรมแห่งห่ชาติซึ่งซึ่มีอมีาจารย์ศิย์ ศิลป์ พีรพีะศรี เป็นป็กรรมการ ในขณะที่เด็กด็อื่นเลือกวาดรูปรูคาวบอย หรือรืรูปรูประสาเด็กด็อื่นๆ อาจารย์ กลับเลือกที่จะวาดภาพนางละครใส่ชส่ฎาจากหนังนัสือสื โบราณ นางละคร โดย อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต แรงบันดาลใจ 11
แรงบับั บั น บั นดาลใจ ARTIST : CHAKRABHAND POSAYAKRIT ความเป็น ‘นายช่าช่ง’ ของ อ.จักรพันธุ์ สะท้อนให้เห็น ผ่านผลงานศิลปะ ดังนี้ STYLE METHOD & TECHNIQUE รูรู รู ป รู ปแบบ วิวิธีวิธีวิก ธี ก ธี าร และเทคนินินิคนิ
อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ มีผมีลงานในสาย จิตจิรกรรมที่โดดเด่นด่จำ นวนมาก ทั้งทั้แบบ ไทยประเพณีแณีละศิลปะร่วร่มสมัยมั โดยส่วส่น ใหญ่นิญ่ยนิมวาดภาพจากวรรณคดี นาฏศิลป์ ไทย ธรรมชาติ และภาพเหมือมืนบุคคล มี การใช้สีช้อสีย่าย่งหลากหลาย เช่นช่สีน้ำสีน้ำมันมัสีน้ำสีน้ำ หรือรืสีชสีอล์ค สีปสีาสเพล เป็นป็ต้น ภาพนางในวรรณคดีบดีนบัตบัรอวยพรปีใปีหม่ เป็นป็หนึ่งนึ่ในผลงานที่หลายคนคุ้นคุ้ตา ด้วด้ยสี สวยสะอาด มีกมีารตัดเส้นส้อย่าย่งละเอียด ดวง หน้าน้ของหญิงญิสาวในภาพสวยหวาน สัดสัส่วส่น ถูกถูต้องตามหลักกายวิภวิาค และดูรดูาวกับว่าว่ ภาพนั้นนั้มีชีมีวิชีตวิขึ้นขึ้มา ภาพเหมือมืนบุคคลของอาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ มักมั ใช้สีช้แสีละฝีแปรงที่เป็นป็รูปรูแบบเฉพาะของ ท่านเองในการวาดภาพ อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ จะไม่ใม่ช้ดิช้นดิสอร่าร่งภาพก่อน แต่ใช้คช้วาม แม่นม่ยำ ระบายสีลสีงไปเลย ภาพจึงจึออกมาดู สะอาด ผิวผิพรรณของคนในภาพเปล่งปลั่งลั่ ดูมีดูชีมีวิชีตวิชีวชีา PAINTING งานจิตรกรรม 13
ได้กล่าวถึงผลงานของอาจารย์ไว้ว่ว้าว่ คุณ คุ ต๋อ ต๋ ง (วัลวัลภิศภิร์ สดประเสริฐริ ) ลูก ลู ศิษศิย์ ผู้เผู้ป็น ป็ “มือ มื ขวา” ของ อาจารย์จั ย์ กจัรพันพัธุ์ จากคำ บอกเล่าของ “วิธีวิขึ้ธีขึ้นขึ้รูปรูของอาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ไธุ์ม่ค่ม่ ค่อยเป็นป็ สูตสูรตายตัว….” “บางทีแกเริ่มริ่เขียขีนจากพื้นพื้ หลังมา โดยยังยัไม่เม่ขียขีนหน้าน้คนที่เป็นป็แบบ คือโครงสีพื้สีพื้นพื้หลังจากริมริเฟรมผ้าผ้ใบด้วด้ยฝี แปรงฉกาจฉกรรจ์ฉัจ์ ฉับไว แล้วทิ้งเว้นว้พื้นพื้ที่ ขาวไว้เว้ป็นป็ทรงศีรษะ ไหล่ และท่อนตัว อย่าย่ง น่าน่อัศจรรย์ หากที่แท้แล้ว ถ้าใครเคยได้ยิด้นยิ ท่านสอน จะเข้าข้ใจว่าว่นี่คื นี่ คือพื้นพื้ฐาน เพราะท่าน สอนเสมอว่าว่จะดูรูดูปรูทรงบุคคลหรือรืวัตวัถุใถุด ที่ต้องการเขียขีนให้แห้ม่นม่ ให้ดูห้จดูากขอบตัด ของพื้นพื้ที่อากาศที่เป็นป็พื้นพื้หลังของแบบ ก่อนว่าว่อย่าย่เพิ่งพิ่ไปหลงส่วส่นละเอียด หู ตา จมูก ปาก สิ่งสิ่ประกอบอื่น” “โดยทั่วทั่ ไปถ้าเป็นป็รูปรูสีน้ำสีน้ำมันมัช่าช่งเขียขีนภาพ มักมั ใช้น้ำช้ น้ำมันมัสำ หรับรัล้างสีอสีอกจากพู่กัพู่ กันก่อน จุ่มจุ่สีใสีหม่ แต่อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ใธุ์ช้วิช้ธีวิเธีช็ดช็ด้วด้ย ผ้าผ้เนื่อนื่งจากสีน้ำสีน้ำมันมัที่ยังยัไม่แม่ห้งห้ถ้าเช็ดช็ดี ๆ ก็ออกง่าย” “เวลาเขียขีนรูปรูที่ไม่ใม่ช่จิช่ตจิรกรรมไทย ประเพณีอณีาจารย์ก็ย์ ก็ไม่ร่ม่าร่งด้วด้ยดินดิสอก่อน เขียขีนด้วด้ยพู่กัพู่ กันสด ๆ ทำ แบบนี้ตั้ นี้ ตั้งตั้แต่หนุ่มนุ่ ” “อาจารย์บย์อกว่าว่พอดินดิสอละลายปนกับสี แล้วภาพจะไม่สม่ะอาด ทุกทุภาพของอาจารย์ จึงจึสวยสะอาดมาก นี่เ นี่ ป็นป็เรื่อรื่งเส้นส้ผมบังบั ภูเภูขา การจะเขียขีนรูปรูได้แด้ม่นม่ ไม่แม่ม่นม่ก็ยังยั เป็นป็รองเรื่อรื่งความสะอาดของสี”สี วัลลภิศร์ สดประเสริฐ กากี / The abduction of Kake : สีน้ำ มัน (พ.ศ.2520) 14
ผลงานของอาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์สืธุ์ บสืสานและต่อต่ยอดจิตจิรกรรมแนว ไทยประเพณีด้ณีวด้ยรูปรูแบบและเทคนิคนิ ใหม่ที่ม่ทั ที่ ทันสมัย เป็นป็เอกลักลัษณ์เณ์ฉพาะตัวพัฒพันามายาวนานจนเรียรีกได้ว่ด้าว่เป็นป็ “สกุลกุช่าช่งจักจัรพันพัธุ์”ธุ์ ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดตรีทศเทพวรวิหารกรุงเทพฯ จากหนังสือจักรพันธุ์ โปษยกฤต 6 รอบ นอกจากนี้ อาจารย์ยัย์งยัมีโมีอกาสได้ ซ่อซ่มแซมภาพจิตจิรกรรมฝาผนังนัในระเบียบีง วัดวัพระแก้ว วาดภาพประดับดัพระตำ หนักนัภู พิงพิค์ราชนิเนิวศน์ ภาพจิตจิรกรรมฝาผนังนัใน วัดวัตรีทรีศเทพวรวิหวิารกรุงรุเทพฯ เป็นป็ต้น วัลลภิศร์ สดประเสริฐ นางเงือก เทคนิค : สีน้ำ มัน ภาพเหนือธรรมชาติ ภาพเหมือนบุคคล ราชินีในรัชกาลที่ 9 จิตรกรรมไทยประเพณี รามเกียรติ์ ตอน"ศึกพรหมาสตร์" เทคนิค : สีน้ำ มันบนไม้ปิดทอง PAINTING งานจิตรกรรม 15
หุ่นหุ่กระบอกเป็นป็ศิลปกรรมของไทยที่ ได้รวมความงดงามและจุดเด่นของ ศาสตร์แต่ละแขนงไว้ได้อย่างลงตัว ซึ่งอาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต ได้รับรั แรงบันบัดาลใจในการสร้าร้งผลงานหุ่นหุ่กระบอก ขึ้นขึ้ด้วด้ยความรักรัและความผูกผูพันพัอันอัเกิดกิจาก การที่ได้เด้คยเห็นห็และสัมสัผัสผัหุ่นหุ่กระบอกใน วัยวัเยาว์ เป็นป็ ประสบการณ์ที่ณ์ทำ ที่ ทำ ให้จัห้กจัรพันพัธุ์ ริเริริ่มริ่สร้าร้งสรรค์รูค์ ปรูแบบของหุ่นหุ่กระบอกขึ้นขึ้ ใหม่ด้ม่วด้ยตนเอง หลุดลุพ้นพ้ออกจากรูปรูแบบ ของหุ่นหุ่กระบอกดั้งดั้เดิมดิด้วด้ยวัสวัดุที่ดุที่ หลาก หลาย เช่นช่เรซิ่นซิ่ ไฟเบอร์กร์ลาส เป็นป็ต้น การเขียขีนใบหน้าน้หุ่นหุ่กระบอกของอาจารย์ จักรพันธุ์มีธุ์ มีความสวยงาม ลักษณะหน้าหุ่นหุ่ กระบอกเป็นป็แบบหน้าน้ละคร มีรมีายละเอียดที่ สมจริงริและให้คห้วามรู้สึรู้ สึกถึงกลิ่นอายแบบ อย่างศิลปะของชนชาตินั้นๆ ผสมผสาน ลักลัษณะความเป็นป็ ไทยได้อด้ย่าย่งลงตัวตั ลักษณะการเขียนหน้าหุ่นแบบกึ่งไทยประเพณีและแบบ กึ่งเหมือนจริงริจากมูลนิธิจักรพันธุ์ โปษยกฤต หุ่นกระบอก PUPPET 16
เครื่อรื่งแต่งกายของหุ่นหุ่กระบอก ใช้ผ้ช้าผ้คุณคุภาพดีใดีนการตัด สืบสืทอดวิธีวิ ธี การปักดิ้นดิ้เลื่อมทำ ลวดลายปักเลื่อม ซึ่งมีประโยชน์ในการทำ เสื้อหุ่นไทย และหุ่นหุ่จีนจีเรื่อรื่งสามก๊ก เครื่อรื่ประดับดั ชุดล้วนใช้ของจริงเช่นชุดมนุษย์ มีการติดวิกผมให้หุ่นกระบอก และ เครื่อรื่งประดับศีรษะทั้งทั้หลายล้วนทำ ออกมาอย่างประณีต สร้างสรรค์ ทำ ให้ดูสมจริง ความใส่ใจในราย ละเอียดเหล่านี้ไม่เพียงปรากฏแค่ กับตัวหุ่นหุ่กระบอกเท่านั้นนั้แต่รวมไป ถึงการทำ ฉากพื้นหลังและอุปกรณ์ เสริมริต่าง ๆ อีกด้วย PUPPET COSTUMES OF THE CHAKRABHAND GROUP เครื่องแต่งกายหุ่นกระบอกของคณะจักรพันธุ์ 17
หัวเจ้าเงาะ งานประติมากรรมที่สะท้อนการคิดค้นของสกุลช่างจาก ศิลปะประเพณีสู่ประติมากรรมเทคนิคตะวันตก ในด้านประติมากรรม อาจารย์จักรพันธุ์ได้สร้าร้งผลงานสามมิติออกมา ท่านได้ ออกแบบควบคุมการสร้าร้งผลงานชิ้นสำ คัญ เช่น ประติมากรรมพระราชดำ ริใรินสมเด็จ พระเทพฯ รูปเจ้าเงาะกับเด็กเลี้ยงควาย รูปไกรทองสู้กับชาละวัน และเรื่อรื่งรามเกียรติ์ ตอนถวายลิงที่ตั้งตั้แสดงอยู่ที่ จังหวัดสมุทรสงคราม จักรพันธ์ุยังได้สร้าร้งพระพุทธมหา ปารมีนุภาพพิสุทธ์อนุตตรสังคามวิชัย ซึ่งซึ่เป็นพระพุทธรูปที่งดงาม ในรูปแบบสกุลช่าง ของท่านเอง เพื่อใช้ประกอบฉากละครและสำ หรับรัเช่าบูชา พระพุทธมหาปรามีนุภาพิสุทธิ์ อนุตตรสังคามวิชัย เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยจำ ลอง จากองค์จริง ใช้เพื่อเป็นพระประธาน ในการแสดงหุ่นกระบอกเรื่อง “ตะเลงพ่าย” เพื่อระลึกถึงคุณพระ บูรพกษัตราธิราช และวีรบรรพชนผู้ กอบกู้และปกปักรักษาแผ่นดินไทย ให้ยืนยงสืบมาจนทุกวันนี้ SCULPTURE งานประติมากรรม 18
CONCEPT แนวคิดคิ ARTIST : CHAKRABHAND POSAYAKRIT
CONCEPT ผลงานของอาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์มัธุ์กมัจะใช้แช้นวคิดตะวันวัตกในการสร้าร้งผลงานอย่าย่งแนวคิดศิลปะแบบ สมจริงริ (Realistic) คือศิลปะที่ผู้ชผู้ มสามารถเข้าข้ใจสิ่งสิ่ที่ศิลปินปิต้องการสื่อสื่ออกมาได้อด้ย่าย่งชัดชัเจน ซึ่งซึ่อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ไธุ์ด้ถ่ด้ ถ่ายทอดผลงานออกมาได้อด้ย่าย่งสมจริงริทั้งทั้สีหสีน้าน้ท่าทาง รูปรูหน้าน้และ สัดสัส่วส่นมีคมีวามสมมาตรรวมถึงถูกถูต้องตามหลักกายวิภวิาคศาสตร์ขร์องมนุษนุย์ แต่ทั้งทั้นี้ก็ นี้ ก็มีกมีาร ผสมผสานอีกหนึ่งนึ่แนวคิดอย่าย่ง ศิลปะแบบโรแมนติก (Romantic Art) ร่วร่มด้วด้ย คือศิลปะที่เน้นน้ การใช้อช้ารมณ์คณ์วามรู้สึรู้กสึ ในการถ่ายทอด ทำ ให้ผู้ห้ชผู้ มเกิดอารมณ์คณ์วามรู้สึรู้กสึที่คล้อยตามไปกับผล งาน อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์มัธุ์กมัจะสร้าร้งสรรค์ผลงานจากการหยิบยิยกเรื่อรื่งราวในวรรณคดีมดีาเป็นป็แบบ วาดและสามารถสื่อสื่อารมณ์อณ์อกมาได้อด้ย่าย่งชัดชัเจนลึกซึ้งซึ้สังสัเกตได้จด้ากภาพตัวอย่าย่งต่อไปนี้ ภาพ สังข์ทอง, เทคนิคสีน้ำ มัน 01. แนวคิด 21
ภาพ ขุนแผนเข้าห้องนางแก้วกิริยริา, เทคนิคสีน้ำ มัน 02. 03. ภาพ พระลอตามไก่แก้ว, เทคนิคสีน้ำ มัน “ผลงานแบบโรแมนติกที่นำ เสนอด้วย วิธีการแบบเรียลลิสติก” 21
MASTERPIECE ผลงานที่โที่ ดดเด่น ด่
ภาพนี้มี นี้ ต้มีนต้แบบมาจากเพื่อพื่นของอาจารย์สย์มัยมัเรียรีนอยู่ที่ยู่ม ที่ หาวิทวิยาลัยลัศิลศิปากร เป็นป็ ภาพหญิงญิสาวสวยคมแบบไทย มีสัมีดสัส่วส่น ท่วท่งท่าท่ที่ส ที่ มจริงรินั่งนั่ประสานมือมือยู่บยู่นเก้าก้อี้ ในบรรยากาศดูลดูอย ๆ น่าน่พิศพิวง อาจารย์เย์น้นน้ ใช้สีช้ โสีทนเย็นย็กับกัฉากหลังลัเสื้อสื้ผ้าผ้และผม แต่ใต่ช้สีช้ โสีทนอุ่นอุ่มากที่สุ ที่ ดสุบริเริวณใบหน้าน้จนกลายเป็นป็จุดจุรวมสายตาของภาพนี้ แววตา และสีหสีน้าน้ที่ไที่ ม่แม่สดงอารมณ์ชัณ์ดชัเจนกระตุ้นตุ้ ให้ผู้ห้ชผู้ มอดไม่ไม่ด้ที่ด้จ ที่ ะพยายามจินจิตนาการถึงถึ ความรู้สึรู้กสึของเธอ จึงจึทำ ให้ท้ห้าท้ยที่สุ ที่ ดสุภาพ ‘วิสุวิตสุา’ นี้ไนี้ ด้รัด้บรัรางวัลวัเหรียรีญทองแดงจาก งานแสดงศิลศิปกรรมแห่งห่ชาติคติรั้งรั้ที่ 16 ในปี พ.ศ. 2508 PORTRAIT ภาพ วิสุวิสุตา หัสบำ เรอ (2508), เทคนิคสีน้ำ มันบนผ้าใบ ภาพเหมือนบุคคล 23
ภาพนี้คื นี้ คือภาพวาดในหลวงรัชรักาลที่ 9 ในฉลองพระองค์เครื่อรื่งแบบปกติ โดยภาพนี้ในี้ ห้คห้วามรู้สึรู้กสึที่ อบอุ่น นุ่มนุ่ นวล และสงบเสงี่ยม ใบหน้าน้ของพระองค์เปื้อนรอยยิ้มยิ้เล็กน้อน้ยสื่อสื่ถึงอารมณ์คณ์วามสุขสุและ มีสมีายตาที่อ่อนโยนแสดงให้เห้ห็นห็ถึงความห่วห่งใย ส่วส่นฉลองพระองค์มีอมีงค์ประกอบที่ละเอียดและมี ความประณีตณีอย่าย่งมาก รวมถึงเทคนิคนิแสงเงาที่ตกกระทบบนภาพที่สมจริงริจึงจึแสดงให้เห้ห็นห็ถึงความ สมจริงริของภาพชัดชัเจน สีที่สี ที่ใช้จช้ะมีคมีวามเป็นป็สีพสีาสเทลโทนอุ่น เช่นช่สีคสีรีมรีสีเสีหลืองอ่อน สีชสีมพู ยิ่งยิ่สื่อสื่ ถึงอารมณ์อ่ณ์ อ่นหวานและนุ่มนุ่ นวล พร้อร้มกับดูสดูบายตาเป็นป็ ไปตามเอกลักษณ์งณ์านศิลปะของอาจารย์ จักจัรพันพัธุ์ PORTRAIT ภาพ พระบรมสาทิสลักลักษณ์ (2528), เทคนิคสีปาสเตลบนกระดาษ ภาพเหมือนบุคคล 24
ภาพนี้คื นี้ อคืเรื่อรื่งราวส่วส่นหนึ่งนึ่จากวรรณคดี ไทยเรื่อรื่งขุนช้างขุนแผนอันมีชื่อเสียงเป็น เหตุกตุารณ์ตณ์อนที่ขุ ที่ นขุแผนพานางวันวัทองหนี มาถึงท่าไทร สามารถสังเกตได้ว่ามีการ สร้าร้งสรรค์บรรยากาศของภาพ รวมทั้งทั้ ตัวละครที่มีความงามแบบอุดมคติขึ้นตาม จินตนาการ ทำ ให้มีความสวยงามโดดเด่น เป็นเอกลักษณ์ ตัวละครทั้งทั้ขุนแผน นาง วันทอง และม้าสีหมอกมีสัดส่วทรวดทรง ที่ชัดเจนและเป็นธรรมชาติ แม้กระทั่งทั่ราย ละเอียดเล็กน้อยอย่างรอpยับย่นของผ้าที่ ตัวละครใส่ก็สร้าร้งสรรค์ออกมาได้อย่าง ประณีต และให้กลิ่นอายของความโรแมน ติกระหว่างตัวละครทั้งทั้สองท่ามกลาง ความสมจริงริด้วย STORY IN LITERATURE ภาพขุนแผนพานางวันทองหนีมาถึงท่าต้นไทร (2522), เทคนิคสีน้ำ มันบนผ้าใบ ภาพเรื่องราวในวรรณคดี 25
ภาพนี้เนี้ป็นป็ภาพที่เกี่ยวกับตัวละครในวรรณคดี คือ บาหยันยัและประเสหรันรั เป็นป็ตำ แหน่งน่พี่เพี่ลี้ยงพระธิดธิาจากวรรณคดีเดีด่นด่เรื่อรื่งอิเหนา งานวาดนี้เนี้ป็นป็ภาพ สะท้อนลักษณะหรือรืบุคลิคของสตรีใรีนวรรณคดีที่ดี ที่มีคมีวามอ่อนช้อช้ย อ่อนโยน สื่อสื่ถึงผู้หผู้ ญิงญิอย่าย่งมีเมีสน่ห์น่ ห์ทรงคุณคุค่าทางความงาม เพียพีบพร้อร้มไปด้วด้ยกิริยริา มารยาทที่งดงาม มีกมีารใช้เช้ทคนิคนิสีน้ำสีน้ำมันมัอย่าย่งประณีตณีบนผ้าผ้ใบ ลีลาท่าทางของตัวละครทั้งทั้ สองดูสดูมจริงริทั้งทั้สัดสัส่วส่นและองค์ประกอบโดยรวมภายในภาพ แต่ในทางกลับ กัน ภาพนี้แนี้ ฝงไปด้วด้ยอารมณ์เณ์ศร้าร้หม่นม่หมอง เพราะมีกมีารใช้โช้ทนสีเสีย็นย็เป็นป็ ส่วส่นใหญ่แญ่ละมีกมีารเล่นแสงเงาที่ค่อนข้าข้งทึบ อีกทั้งทั้ ใบหน้าน้ตัวละครที่ไม่ยิ้ม่มยิ้แย้มย้ พร้อร้มกับก้มหน้าน้ลงต่ำ สื่อสื่ราวกับว่าว่มีคมีวามทุกทุข์อข์ยู่ภยู่ายในใจทำ ให้นห้อกจากการ สื่อสื่ความงามของสตรีแรีล้วภาพนี้ยันี้งยัสื่อสื่ ไปถึงความหมายแฝงที่ลึกซึ้งซึ้ผ่าผ่นสีหสีน้าน้ ท่าทางของตัวละครอีกด้วด้ย 26 ภาพ บาหยัน-ประเสหรัน, เทคนิคสีน้ำ มันบนผ้าใบ STORY IN LITERATURE ภาพเรื่องราวในวรรณคดี
DANCING ART ในช่วช่งวัยวัเด็กด็อาจารย์ท่ย์าท่นชอบดูตัดูวตัละคร ในวรรณคดีไดีทย อีกอีด้าด้นหนึ่งนึ่ท่าท่นยังยัทำ งาน เกี่ยวกับการแสดงแบบไทยประเพณีด้ณีวด้ย จึงจึ มักมัจะวาดภาพเบื้อบื้งหลังการแสดงต่าง ๆ อยู่ เป็นป็ ประจำ ภาพนี้จึ นี้ งจึได้รัด้บรัแรงบันบัดาลใจมาจาก ความชอบส่วส่นตัวตัและการคลุกลุคลีอลียู่กัยู่แกัวดวง ประเพณีโณีดยเฉพาะการแสดงนาฏศิลศิป์อป์าจารย์ จักจัรพันพัธุ์จึธุ์งจึสามารถวาด ลงสีแสีละแสงเงาของ เหล่าล่เครื่อรื่งประดับดัเพชรพลอยได้อด้ย่าย่งเสมือมืน จริงรินอกจากนี้อ นี้ าจารย์สย์ามารถสร้าร้งสรรค์ใค์ห้ นางละครมีคมีวามงามประดุจดุดังดัมีชีมีวิชีตวิแม้เม้ป็นป็ ภาพนิ่งแต่เมื่อมองเข้าไปกลับสัมผัสได้ถึง บรรยากาศเบื้องหลังเหตุการณ์จริงริราวกับ ภาพนี้กำ นี้ กำลังลัเคลื่อลื่นไหวอยู่ การใส่ใส่จในทุกทุราย ละเอียอีด และทุกทุองค์ปค์ระกอบของภาพ โดย เฉพาะสีแสีสงเงาและภาพสะท้อท้นจากกระจกต่าต่ง ยิ่งยิ่ขับขัให้ภห้าพดูมีดูคมีวามสมจริงริอย่าย่งเป็นป็ ภ ธรรมชาติมติากขึ้นขึ้ าพ นางละครแต่งตัว (2533), เทคนิคสีน้ำ มันบนผ้าใบ ภาพนาฏศิลป์ 27
ภาพ: ละครชาตรี (2544), เทคนิคสีน้ำ ภาพนี้เนี้ป็นป็การแสดงละครชาตรีซึ่รีซึ่งซึ่มีที่มี ที่มาจากวรรณคดีเดีรื่อรื่งอิเหนา ตอน สั่งสั่ถ้ำ (อิเหนาม้าม้ย่อย่ง) เป็นป็ภาพเลียนแบบธรรมชาติ ท่วงท่าของนางรำ ที่กำ ลังแสดง นาฏศิลป์พื้ป์ พื้นพื้บ้าบ้นละครชาตรีอรียู่ท่ยู่ ท่ามกลางชาวบ้าบ้น เครื่อรื่งดนตรีไรีทย และมีฉมีาก หลังเป็นป็บ้าบ้นเรือรืนไทย จะสังสัเกตได้ว่ด้าว่อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ใธุ์ส่ใส่จเรื่อรื่งมุมมองของภาพ เป็นป็อย่าย่งมาก เพราะภาพนี้เนี้ป็นป็มุมมองระดับดัสายตาจากด้าด้นหน้าน้เวทีการแสดง ทำ ให้จุห้จุดเด่นด่ที่สุดสุคือคือนักนัแสดงเป็นป็อันดับดัแรก รองลงมาจะเป็นป็เครื่อรื่งดนตรี ฉากพื้นพื้หลังที่ประกอบไปด้วด้ยต้นไม้ บ้าบ้น และชาวบ้าบ้นที่อยู่ห่ยู่าห่งจากระยะสายตา กว่าว่และมีขมีนาดเล็กกว่าว่ทำ ให้จุห้จุดรวมสายตาอยู่ที่ยู่ ที่ตรงกลางภาพ ส่วส่นองค์ประกอบ โดยรวมของภาพก็แสดงให้เห้ห็นห็ความสมจริงริยิ่งยิ่ขึ้นขึ้ DANCING ART ภาพนาฏศิลป์ 28
อาจารย์เย์ป็นคนหนึ่งที่ศรัทรัธาในพระพุทธศาสนาและมักมัจะวาดภาพเกี่ยวกับพุทธศาสนา อยู่บ่ยู่อบ่ยครั้งรั้ โดยภาพนี้ถูกถูวาดประกอบอยู่ใยู่นหนังสือสืสารธรรม เป็นหนังสือสืที่รวบรวม เรียรีบ เรียรีงธรรมะของพระพุทธเจ้าจ้ลักษณะของภาพจะใช้สีช้ที่สี ที่ หวาน สบายตา สื่อสื่ถึงอารมณ์นุ่มนวล อ่อนโยน แต่ดูทดูรงพลังในเวลาเดียวกัน มีกมีารใช้สีช้คู่สี คู่ตคู่รงข้าข้มทำ ให้รูห้รูปภาพมีคมีวามโดดเด่น เช่นช่สี ส้มส้ -สีเสีขียขีว สีม่สีวม่ง-สีเสีหลือง สามารถถ่ายทอดเรื่อรื่งราวผ่าผ่นอารมณ์ความรู้สึรู้กสึ ได้อย่าย่งดีเพราะ การเล่นกับสีแสีสงเงาทำ ให้ผู้ห้ชผู้ มรับรัรู้ไรู้ด้ถึงความเป็นศาสดาของพระพุทธเจ้าจ้ว่าว่พระองค์เป็นผู้ที่ผู้ ที่ เหนือกว่าว่เหล่ามนุษย์แย์ละเหล่าเทวดา รวมถึงภาพกำ ลังสื่อสื่ถึงความศักดิ์สิทสิธิ์แธิ์ละความเหนือ ธรรมชาติของพระพุทธเจ้าจ้ทำ ให้เห้ราสามารถรับรัรู้ไรู้ด้ว่าว่พระองค์เพิ่งพิ่เสด็จลงมาจากสวรรค์ นอกจากนี้องค์ประกอบต่าง ๆ ของภาพยังยัแสดงให้เห้ห็นห็ถึงความปิติยินยิดีของผู้คผู้ นที่มารอคอย รับรัเสด็จ ภาพนี้จึงจึสามารถถ่ายทอดทั้งทั้เรื่อรื่งราว ความศักดิ์สิทสิธิ์ และความศรัทรัธาของผู้คผู้ นได้ เป็นอย่าย่งดี 29 BUDDHIST ART ภาพ พระพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากดาวดึงส์ 2550, เทคนิคสีน้ำ มันบนผ้าใบ ภาพพุทธศิลป์
ILLUSTRATION OF BOOK งานเขียขีนหนังสือสืนับเป็นงานอดิเรกชิ้นชิ้แรกที่อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ทำธุ์ ทำอย่าย่งจริงริจังจัและได้เริ่มริ่ เขียขีนบทความครั้งรั้แรกโดยใช้นช้ามปากกาว่าว่ “ศศิวิมวิล” “ศศิวิมวิลท่องเที่ยว” เป็นหนังสือสืที่ได้รับรัรางวัลวัชมเชยหนังสือสืดีเด่นประจำ ดี พ.ศ 2519 ประเภทสารคดี เป็นหนังสือสืที่เล่าถึงประสบการณ์การท่องเที่ยวประเทศต่าง ๆ ในทวีปวียุโรป มีกมีาร ใช้ภช้าษาที่น่าติดตามและอธิบธิายให้ผู้ห้อ่ผู้ อ่านรู้ถึรู้ ถึงสภาพความเป็นจริงริของเมือมืงนั้นนั้ๆ ที่มีคมีวามทันสมัยมั สนุกสนาน และได้รับรัความรู้จรู้ากการท่องเที่ยว นอกจากนั้นนั้อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ หรือรืนามปากกา “ศศิวิมวิล” ยังยัมีกมีารวาดภาพประกอบระหว่าว่งเรื่อรื่งราวด้วย เช่นช่บทโรม-รำ ลึก ปอมเปอี-นครแห่งห่ ความหลัง จะสามารถสังสัเกตได้ว่าว่ลายเส้นส้ที่ปรากฏในหนังสือสืนั้นนั้จะเน้นการใช้เช้ส้นส้ ปากกาดำ ไม่มีม่ มี การลงสีแสีสงเงาด้วยเทคนิคต่าง ๆ เช่นช่เดียวกับงานจิตจิรกรรมของท่านที่ผ่าผ่นมา ให้อห้ารมณ์ เหมือมืนกับกำ ลังเสพภาพลายเส้นส้การ์ตูร์นตูตามไปด้วยในระหว่าว่งที่อ่าน แต่ทั้งทั้นี้ท่านยังยัคงไม่ลม่ะทิ้ง เรื่อรื่งความสมจริงริทั้งทั้ด้านสีหสีน้า ท่าทาง และร่าร่งกายตามเอกลักษณ์เฉพาะตัว ศศิวิมวิลท่องเที่ยว (2519), หนังสือสารคดี ภาพประกอบหนังสือ 30
TALENG PHAI PUPPET บทหุ่นหุ่กระบอกตะเลงพ่าพ่ยไม่ใม่ช่บช่ทเดียวกันกับ “ลิลิตตะเลงพ่าพ่ย” แต่เป็นการเขียขีนขึ้นขึ้ ใหม่โม่ดย รวบรวมข้อข้มูลทางประวัติวั ติศาสตร์จร์ากพระราชพงศาวดารฉบับบัพระราชหัตหัถเลขาไทยรบพม่าม่พระ ราชนิพนธ์ใธ์นสมเด็จพระเจ้าจ้บรมวงศ์เธอกรมพระยาดำ รงราชานุภาพ พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับบัหลวงประดิษฐ์อัฐ์ อักษรนิติ์ ด้วยความที่อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์นั้ธุ์ นั้นั้ชื่นชื่ชอบในหุ่นหุ่กระบอกและได้รับรั แรงบันบัดาลใจจากเรื่อรื่งสามก๊ก ทำ ให้หุ่ห้นหุ่กระบอกพระมหาอุปราชนี้มีหมีน้าตาและบุคลิกที่คล้ายตัว ละครจีนจีจากสามก๊ก โดยอาจจะเป็นการรวมลักษณะของโจโฉและจิวจิยี่ม ยี่ ารวมกัน คือมีลัมี ลักษณะ นิสัยสัที่ฉลาด เจ้าจ้เล่ห์ แฝงไปด้วยความระแวงรวมถึงความอิจฉาริษริยาซึ่งซึ่เป็นตัวร้าร้ยในอุดมคติ ไทย จุดเด่นของหุ่นหุ่กระบอกคือการคิดค้นกรรมวิธีวิสธีร้าร้งความนูนให้กัห้ กับดวงตาของหุ่นหุ่โดยการใช้ อีพ็อพ็กซีแซีบบใส (Epoxy) หยอดไปที่ดวงตาเพื่อพื่ ให้มีห้ลัมี ลักษณะเหมือมืนดวงตาจริงริรวมถึงเสื้อสื้ผ้าผ้ที่หุ่นหุ่ สวมใส่ก็ส่ ก็สร้าร้งจากหนังสัตสัว์อว์ย่าย่งลูกลูเสือสื โคร่งร่ทำ ให้มีห้คมีวามสมจริงริยิ่งยิ่ขึ้นขึ้รวมถึงการตัดเย็บย็ชุดมี ความประณีตและซับซัซ้อซ้นเช่นช่เดียวกับการตัดชุดมนุษย์ จึงจึเสมือมืนว่าว่หุ่นหุ่กำ ลังสวมเครื่อรื่งแต่งกาย จริงริเช่นช่เดียวกับมนุษย์เย์รา ภาพ หุ่นกระบอกพระมหาอุปราชจากเรื่องตะเลงพ่าย หุ่นกระบอกตะเลงพ่าย 31
ตัวแน่นน่ . (2566, 20 มกราคม). ‘จักจัรพันพัธุ์ โปษยกฤต’ นายช่าช่งเอก แห่งห่รัตรันโกสินสิทร์ วาดภาพมนุษนุย์สย์วยงามราวนางฟ้าฟ้เทพยดา. THE PEOPLE. https://www.thepeople.co/culture/art/51975 กรณิศณิรัตรันามหัทหัธนะ. (2561, 4 กันยายน). Renaissance Man. The Cloud. https://readthecloud.co/scoop-chakrabhand/ ตัวแน่นน่ . (ม.ป.ป.). จักจัรพันพัธุ์ โปษยกฤต ลมหายใจของศิลปะไทย. anowl. https://anowl.co/anowlrod/หลงรูป/long_roob11/ พนิชนิา อิ่มสมบูรณ์.ณ์ (2561, 14 สิงสิหาคม). 76 ปี จักจัรพันพัธุ์ โปษยกฤต นายช่าช่งเอกในรอบ 200 ปีรัปีตรันโกสินสิทร์ จากการวาดเล่นตามใจคิดสู่งสู่ านศิลปะ ที่เป็นป็อกาลิโก. THE STANDARD. https://thestandard.co/chakrabhandposayakrit-76th-anniversary/ อาจารย์จัย์กจัรพันพัธุ์ โปษยกฤต. (ม.ป.ป.). chakrabhand. http://chakrabhand.org/chakrabhand/ อรุณีรุณีชูบุญราษฎ์. (2561, 22 สิงสิหาคม). ‘จักจัรพันพัธุ์ โปษยกฤต นิทนิรรศการ’ วิจิวิตจิรแห่งห่ศิลป์ใป์นทุกทุแขนง. The MOMENTUM. https://themomentum.co/chakrabhandposayakrit-exhibition/ REFERENCES 32
6470015 จิรจิาภรณ์ สุยสุโฉ 6470018 เทพธิดธิา ประมล 6470021 ภัทรพร ศรีกุรีลกุวงศ์ 6470027 สิริสิภัริ ภัทร เกิดผล 6470241 ธยานี แสงฉาย 6470250 ปาลิตา วรวุฒิ 6470257 พิมพิพ์วพ์รีย์รี ย์ชมภูพัภูนพัธ์ 6470266 รุ่งรุ่รัศรัมี พรมโยธา 6470270 ศนิภันิ ภัค อรรถพูลทรัพรัย์ 6470271 ศศิกานต์ ภู่ฮภู่ะ MEMBERS