The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Yaowarat Dusitkul, 2022-07-12 02:21:24

ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์

ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์

ห้องคลอด โรงพยาบาลพุทธชนิ ราช พษิ ณุโลก
โทรศัพท์ตดิ ต่อ 055-270300 ต่อ 16111,16112

( สามารถตดิ ต่อได้ตลอด 24 ช่ัวโมง )

ความดนั โลหติ สูงระหว่างตงั้ ครรภ์ คืออะไร…

คือ ภาวะท่มี ีความดันโลหติ สูงมากกว่าหรือเท่ากบั
140/90 มลิ ลิเมตรปรอท มีโปรตีนร่ัวในปัสสาวะ และ
อาจจะมีหรือไม่มภี าวะบวมร่วมด้วยกไ็ ด้

ปัจจยั เส่ียงต่อการเกดิ ภาวะครรภ์เป็ นพษิ

 สตรีตงั้ ครรภ์ครัง้ แรก
 สตรีตงั้ ครรภ์ท่อี ายุน้อยกว่า 18 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
 ระยะห่างของการตงั้ ครรภ์ห่างจากครรภ์ก่อนมากกว่า 10 ปี
 เคยมปี ระวัตคิ รรภ์เป็ นพษิ ในครรภ์ครัง้ ก่อน
 มีนา้ หนักตัวเกนิ เกณฑ์มาตรฐาน
 สตรีตงั้ ครรภ์แฝด
 สตรีตงั้ ครรภ์ท่มี โี รคประจาตัวก่อนการตงั้ ครรภ์ เช่น โรคไต
โรคความดนั โลหติ สูง โรคเบาหวาน โรคแพ้ภมู ติ นเอง (SLE) เป็ นต้น
 มีบุคคลในครอบครัวมีภาวะความดนั โลหติ สูง

ภาวะครรภ์เป็ นพษิ แบ่งตามความรุนแรง

เป็น 2 ชนิด คอื

1. ชนิดรุนแรงน้อย

คือ มีความดนั โลหติ สูงไม่เกนิ 160/ 110 มิลลิเมตรปรอท
มโี ปรตีนร่ัวในปัสสาวะไม่เกิน 2 กรัมต่อวนั และไม่มภี าวะ
แทรกซ้อนต่างๆ เช่น เกลด็ เลือดต่า ไตวาย และทารกเจริญ
เตบิ โตช้าในครรภ์

ภาวะครรภ์เป็ นพษิ แบ่งตามความรุนแรง

เป็น 2 ชนิด คือ

2. ชนิดรุนแรงมาก

คือ มีความดนั โลหติ สูงมากกว่า 160/110 มลิ ลเิ มตรปรอท
มีโปรตีนร่ัวในปัสสาวะมากกว่า 2 กรัมต่อวัน และมีภาวะแทรกซ้อน
ต่างๆ เช่น ปวดศรี ษะมาก ตาพร่ามัว เกล็ดเลือดต่า ไตวาย ซ่งึ มีความ
เส่ียงต่อการเกดิ อาการชักขณะตงั้ ครรภ์ เลือดออกในสมอง/กะโหลกศีรษะ
และเสียชีวิตได้

อาการท่พี บบ่อยของภาวะครรภ์เป็ นพษิ คอื

 มีความดนั โลหติ สูงมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มลิ ลเิ มตรปรอท
 นา้ หนักเพ่มิ ขนึ้ อย่างรวดเร็ว
 ตรวจพบโปรตนี ไข่ขาวในปัสสาวะ
 มอี าการบวมตามใบหน้า มือ ข้อเท้า และเท้า
 ปวดศรี ษะโดยเฉพาะบริเวณท้ายทอย หน้าผาก
 มีตาพร่ามวั
 จุก/แน่นหน้าอกหรือท่บี ริเวณลนิ้ ป่ี
 อาการรุนแรงอาจมีชักกระตกุ ทงั้ ตัว เกดิ เลือดออกในสมอง/กะโหลกศีรษะ
และเสียชวี ติ ได้

ผลกระทบของภาวะครรภ์เป็ นพษิ

ผลกระทบต่อมารดา

 เกิดอาการชัก
 ตาบอดอาจเป็ นช่ัวคราวหรือถาวร
 มภี าวะนา้ ท่วมปอด
 มีเลือดออกในอวัยวะต่างๆ จากภาวะเกล็ดเลือดต่า
 เสียชีวิตจากหลอดเลือดในสมองแตก

ผลกระทบของภาวะครรภ์เป็ นพษิ

ผลกระทบต่อทารก

 มีภาวะทารกเจริญเตบิ โตช้าในครรภ์
 มภี าวะนา้ คร่าน้อย
 มีการคลอดก่อนกาหนด
 มภี าวะรกลอกตวั ก่อนกาหนด
 ทารกเสียชวี ติ ในครรภ์จากการขาดออกซเิ จน

วธิ ีลดความเส่ียงต่อการเกดิ ภาวะครรภ์เป็ นพษิ โดยมีวธิ ีดังนี้

 รับประทานยาตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด
 ลดอาหารรสเค็ม เพ่มิ โปรตนี ในอาหาร (เช่น เนือ้ สัตว์ ไข่ นม ตับ)
 หลีกเล่ียงอาหารไขมัน อาหารผัดและอาหารทอด
 หลีกเล่ียงเคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์เคร่ือง ด่มื ท่มี ีคาเฟอีน
 งดทางานหนัก พกั ผ่อนให้เพยี งพอ
 พยายามยกขาสูงเม่ือมีโอกาส เช่น ขณะน่ัง นอน
 สังเกตการนับลูกดนิ้ และฝากครรภ์ตามนัด ปฏบิ ตั ติ ามคาแนะนาของแพทย์
เพ่อื ลดโอกาสเกิดความรุนแรงของภาวะครรภ์เป็ นพษิ

อาการผดิ ปกตทิ ่ตี ้องรีบมาพบแพทย์ก่อนวันนัด คอื

 ปวดศีรษะรุนแรงและมีอาการตาพร่ามัวหรือมองเหน็ แสงวูบวาบ
 มอี าการจุกแน่นใต้ลนิ้ ป่ี
 มีอาการคล่ืนไส้อาเจยี นมาก
 นา้ หนักตัวเพ่มิ ขนึ้ อย่างรวดเร็ว
 มอี าการบวมตามใบหน้า มอื ข้อเท้า และเท้า
 ทารกดนิ้ น้อยลงหรือหยดุ ดนิ้

ด้วยความปรารถนาดี

จากห้องคลอด
โรงพยาบาลพุทธชนิ ราช พษิ ณุโลก


Click to View FlipBook Version