DIARY
ตำ บ ล
บ้ า น ใ ต้
อำ เ ภ อ เ ก า ะ พ ะ งั น จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี
ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก
ใ น ป ร ะ เ ด็ น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ เ ร่ ง ด่ ว น ที่ สุ ด
ใ น ยุ ค ส มั ย ข อ ง เ ร า นั้ น เ ป็ น สิ่ ง ที่ สำ คั ญ ม า ก ขึ้ น ก ว่ า ที่ เ ค ย
ค ณ ะ ผู้ จั ด ทำ : วิ ศ ว ก ร สั ง ค ม ตำ บ ล บ้ า น ใ ต้
ชาติบ้านเมืองคืออวัยวะ
“…ชาติบ้านเมืองประกอบด้วยนานาสถาบัน อันเปรียบได้กับอวัยวะทั้ง
ปวง ที่ประกอบกันขึ้นเป็นชีวิตร่างกาย ชีวิตร่างกายดํารงอยู่ได้ เพราะ
อวัยวะใหญ่น้อยทํางานเป็นปรกติพร้อมกันอย่างไร ชาติบ้านเมือง ก็ดํา
รงอยู่ได้เพราะสถาบันต่าง ๆ ตั้งมั่น และปฏิบัติหน้าที่ของตนโดยพร้อม
มูลอย่างนั้น…”
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่
ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ตํารวจและอาสาสมัครพลเรือนในพิธี
ตรวจพลสวนสนามในงานพระราชพิธีรัชดาภิเษก เมื่อวันที่ 8
มิถุนายน พ.ศ.2514)
คำนำ
ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ จั ด ทำ ขึ้ น เ พื่ อ นำ เ ส น อ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์
ชุ ม ช น บ้ า น ใ ต้ โ ด ย ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร สั ง ค ม ตำ บ ล บ้ า น ใ ต้ มี จุ ด
ป ร ะ ส ง ค์ ห ลั ก ใ น ก า ร จั ด ทำ ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ ขึ้ น ม า เ พื่ อ ศึ ก ษ า
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ป ร ะ วั ติ ตำ บ ล บ้ า น ใ ต้ อำ เ ภ อ เ ก า ะ พ ะ งั น
จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี ซึ่ ง ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ มี เ นื้ อ ห า เ กี่ ย ว กั บ
ข้ อ มู ล พื้ น ฐ า น โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ชุ ม ช น โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
แ ล ะ อ า ชี พ ส ถ า น ที่ สำ คั ญ ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ ส า ม า ร ถ ดำ เ นิ น ก า ร
จ น ป ร ะ ส บ ค ว า ม สำ เ ร็ จ ลุ ล่ ว ง ไ ป ไ ด้ ด้ ว ย ดี เ นื่ อ ง จ า ก ไ ด้ รั บ
ค ว า ม อ นุ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ส นั บ ส นุ น เ ป็ น อ ย่ า ง ดี
จ า ก อ า จ า ร ย์ เ ก สิ ณี ต รี พ ง ศ์ พั น ธ์ ที่ ไ ด้ ส ล ะ เ ว ล า อั น มี ค่ า แ ก่
ค ณ ะ ผู้ จั ด ทำ เ พื่ อ ใ ห้ คำ ป รึ ก ษ า แ ล ะ แ น ะ นำ ต ล อ ด จ น ต ร ว จ
ท า น แ ก้ ไ ข ข้ อ บ ก พ ร่ อ ง ต่ า ง ๆ ด้ ว ย ค ว า ม เ อ า ใ จ ใ ส่ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี
จ น ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ เ ส ร็ จ ส ม บู ร ณ์ ลุ ล่ ว ง ไ ด้ ด้ ว ย ดี ค ณ ะ ผู้ จั ด ทำ
ข อ ข อ บ พ ร ะ คุ ณ เ ป็ น อ ย่ า ง สู ง ไ ว้ ณ ที่ นี้
ข อ ข อ บ คุ ณ เ พื่ อ น ร่ ว ม ง า น ที่ ช่ ว ย เ ห ลื อ จ น ก า ร ทำ
ห นั ง สื อ ค รั้ ง นี้ ป ร ะ ส บ ค ว า ม สำ เ ร็ จ ลุ ล่ ว ง ไ ป ด้ ว ย ดี
ข อ ข อ บ คุ ณ ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ตำ บ ล ต ล อ ด จ น
อำ น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร ล ง พื้ น ที่ ร ว ม ทั้ ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ดี ๆ
ที่ ไ ด้ ทำ ร่ ว ม กั บ ชุ ม ช น
สุ ด ท้ า ย นี้ ค ณ ะ ผู้ จั ด ทำ ห วั ง ว่ า ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ ค ง เ ป็ น
ป ร ะ โ ย ช น์ สำ ห รั บ ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง แ ล ะ ผู้ ที่ ส น ใ จ ศึ ก ษ า
ต่ อ ไ ป
ค ณ ะ ผู้ จั ด ทำ
สารบัญ
1. ข้อมูลพื้นฐาน 02 ประวัติความเป็นมาของตำบล
03 ขนาดและที่ตั้งของตำบล
04 ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ
05 ลักษณะภูมิประเทศ/ภูมิอากาศ
10 การเดินทาง/การคมนาคม
11. 12 ด้านการเมืองการปกครอง
โครงสร้างชุมชน 13 ข้อมูลประชากร
14 ด้านการศึกษา/ศาสนา
15 ความเชื่อ ประเพณี/พิธีกรรม
20.โครงสร้าง 21 เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ 21 อาชีพของคนในตำบล
และอาชีพ
22.สถานที่ 23 แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญใน
สำคัญ ตำบลบ้านใต้
22
28. การดำเนินโครงการยกระดับ
เศรษฐกิจและสังคมรายตำบล
แบบบูรณาการ
35. บรรณานุกรม
36. ภาคผนวก
สารบัญภาพ
02 ภาพที่1 หาดริ้น
06 ภาพที่2 ต้นหลาวชะโอน
06 ภาพที่3 ต้นตำสา
07 ภาพที่4 เหยี่ยวรุ้ง
09 ภาพที่5 หาดท้องนายปาน
23 ภาพที่6 วัดโพธิ์บ้านใต้
24 ภาพที่7 น้ำตกธารเสด็จ
25 ภาพที่8 ฟูลมูลปาร์ตี้
26 ภาพที่9 หาดบ้านใต้
26 ภาพที่10 หาดบ้านใต้
27 ภาพที่11 พระบรมราชานุสาวรีย์ ร.๕
27 ภาพที่12 พระบรมราชานุสาวรีย์ ร.๕
27 ภาพที่13 พระบรมราชานุสาวรีย์ ร.๕
29 ภาพที่14 น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
32 ภาพที่15 น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
33 ภาพที่16 คู่มือเส้นทางการเดินป่า
33 ภาพที่17 วิวทิวทัศน์มุมสูงจากเส้นทางการเดินป่า
34 ภาพที่18 วิวทิวทัศน์มุมสูงจากเส้นทางการเดินป่า
34 ภาพที่19 วิวทิวทัศน์มุมสูงจากเส้นทางการเดินป่า
สารบัญตาราง
ตารางที่ 1 แสดงสัดส่วนประชากรตำบลบ้านใต้
ส่วนที่
1
ข้ อ มู ล พื้ น ฐ า น
02
1.1 ประวัติความเป็นมาของตำบล
ประวัติความเป็นมาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๐มีการจัดระบบการ
ปกครองท้องถิ่นเมืองเกาะพะงันถูกยุบไปรวมกับเกาะสมุย
เรียกว่า อำเภอเกาะสมุย ดังนั้นเกาะพะงันจึงมีฐานะเป็นตำบล
มี ๒ตำบลคือตำบลเกาะพะงัน และตำบลบ้านใต้ วันที่ ๑๑
กันยายน ๒๕๑๓ (วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา) กระทรวง
มหาดไทยได้แยกเขตท้องที่เกาะพะงัน เป็นกิ่งอำเภอเกาะพงัน
ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๑๓ในขณะนั้นใช้อาคารรับรองแขก
ของวัดราษฎร์เจริญ เป็นที่ทำการอำเภอชั่วคราว วันที่ ๑๓
เมษายน ๒๕๒๐ ประกาศยกฐานะเป็น“อำเภอเกาะพะงัน”และได้
มีพิธีเปิดป้ายที่ทำการอำเภอเกาะพะงันเมื่อวันที่ ๑๖กุมภาพันธ์
๒๕๒๑ เทศบาลตำบลบ้านใต้ มีพื้นที่ประมาณ
๘๔ตารางกิโลเมตรคิดเป็นเนื้อที่โดยประมาณ๕๒,๕๐๐ ไร่
ประกอบด้วยพื้นที่จำนวน ๕ หมู่บ้านจำนวนหมู่บ้านที่มีพื้นที่
เต็มทั้งหมู่บ้าน ได้แก่
(๑.) หมู่ที่ ๒บ้านนอก
(๒.) หมู่ที่ ๓บ้านเหนือ
(๓.) หมู่ที่ ๔บ้านค่าย
(๔.) หมู่ที่ ๕บ้านท้องนายปาน
(๕.) หมู่ที่ ๖บ้านหาดริ้น
ภาพที่1 หาดริ้น
03
1.2 ขนาดและที่ตั้ง
ลักษณะที่ตั้งเทศบาลตำบลบ้านใต้ เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอ
เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก
เฉียงเหนือของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในบริเวณตอนกลางอ่าว
ไทย ห่างจากอำเภอเกาะพะงันระยะทาง ๕ กิโลเมตร มีพื้นที่
ประมาณ ๘๔ ตารางกิโลเมตร คิดเป็นเนื้อที่โดยประมาณ
๕๒๕๐๐ ไร่
อาณาเขต
-ทิศเหนือ ติดต่อทะเลถึงทะเลอ่าวไทย
-ทิศใต้ ติดต่อทะเลโดยมีเขตทะเลติดต่อกับอำเภอเกาะสมุย
จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยถึงร่องลึกตามแนวเขตกึ่งกลาง
ระยะทางระหว่างเกาะพะงันและอำเภอเกาะสมุย โดยมีระยะ
ห่างโดยเฉลี่ย๘ - ๑๔กิโลเมตร โดยมีแนวเขตเริ่มต้นที่ แหลม
ช่องชกที่บริเวณพิกัด ๑๕๔๘๒๔ไปตามแนวสันเขาบ้านไฟไหม้
ผ่านไปตามแนวสันเขาหรา(เขาดารา) และเขาไม้งาม ไปสุด
เขตที่อ่าวบางเจมรุ ที่บริเวณ พิกัด ๑๐๓๗๒๗ รวมระยะทาง
ทิศตะวันตกประมาณ ๑๐กิโลเมตร
04
1.3 ลักษณะภูมิประเทศและลักษณะภูมิอากาศ
1.3.1 ลักษณะภูมิประเทศ 1.3.2 ลักษณะภูมิอากาศ
พื้นที่ในเขตเทศบาลตำบล ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไป ได้
บ้านใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวัน รับอิทธิพลจากลมมรสุมทั้ง ๒
ออกของอำเภอเกาะพะงัน ด้าน คือ ลมมรสุมตะวันตก
หรือพื้นที่ตัวเกาะพะงัน พื้นที่ เฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออก
ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง มีที่ราบ เฉียงเหนือ ฤดูกาลแบ่งออกเป็น
ลุ่มชายฝั่ งทะเลที่สวยงาม มี ๒ ฤดู คือ ฤดูร้อน และฤดูฝน
ขายหาดและอ่าวต่างๆ ที่
สวยงามตามธรรมชาติจำนวน ฤดูร้อน ตั้งแต่เดือน
มาก เหมาะแก่การท่องเที่ยว กุมภาพันธ์ ถึงเดือน
พักผ่อน โดยมีทะเลล้อมรอบ เมษายน เป็นช่วงปลายลม
ทั้ง ๓ ด้าน มีป่าไม้ที่อุดม
สมบูรณ์โดยป่าส่วนใหญ่เป็น มรสุม
ป่าดงดิบมีน้ำตกและลำธาร ตะวันออกเฉียงเหนือ มีฝนตก
น้อยใหญ่จำนวนมาก ซึ่งสภาพ น้อยและอุณหภูมิสูง น้ำทะเลใส
ดินเกือบทั้งหมดเป็นดินปน
ทรายและหิน ที่ราบชายฝั่ ง เหมาะแก่การท่องเที่ยว
เหมาะแก่การทำสวนมะพร้าว ฤดูฝน ตั้งแต่เดือน
และสวนผลไม้ พฤษภาคม ถึงมกราคม
เป็นช่วงลมมรสุมตะวักตก
เฉียงใต้
ทำให้มีฝนตกชุก โดยเฉพาะ
เดือนพฤศจิกายน มีจำนวนวันที่
ฝนตกโดยเฉลี่ยถึง ๒๐.๒ วันต่อ
เดือน
05
1.4 ทรัพยากรธรรมชาติ
น้ำ
เป็นคลำคลอง ได้แก่ คลองท่าจีน คลองธารเสด็จ คลองธาร
ประพาส คลองวังไม้แดง คลองวังม่วงคลองสระมโนราห์
คลองบ้านค่าย และคลองบางน้ำเค็ม ซึ้งมีต้นกำเนิดอยู่บนเขา
ไม้งาม และจะไหลจากเขาผ่านบ้านนอก บ้านเหนือ และบ้านค่าย
ลงสู่ทะเลบริเวณบ้านค่าย ตำบลบ้านใต้ ซึ่งมีความสำคัญต่อ
บ้านนอกบ้านเหนือ และบ้านค่าย อำเภอเกาะพะงัน จังหวัด
สุราษฎร์ธานี เป็นอย่างมาก และในช่วงฤดูฝนจะมีปริมาณน้ำ
มากมีน้ำหลาก ในช่วงเดือนกันยายน – ตุลาคม คุณภาพน้ำอยู่
ในเกณฑ์ดี ส่วนในฤดูแล้งน้ำเริ่มลดปริมาณลงตั้งแต่ช่วงเดือน
มกราคม - เมษายนทำให้มีปริมาณน้ำน้อยที่สุด โดยคุณภาพน้ำ
จะอยู่ในเกณฑ์ดี ส่วนใหญ่ชุมชนจะมีการใช้ประโยชน์ของน้ำเพื่อ
ทำการเกษตรช่วงเดือนพฤศจิกายน ซึ่งจากอดีตที่ผ่านมาพบว่า
มีปัญหาขาดแคลนน้ำเนื่องจากสภาพพื้นที่ไม่มีแหล่งกักเก็บน้ำ
ไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในช่วงฤดูแล้งทำให้เกิดปัญหาขาดแคลนน้ำ
06
ป่าไม้
ในเขตอุทยานแห่งชาติธารเสด็จ – เกาะพะงัน สามารถ
จำแนกชนิดของพันธุ์ไม้ออกได้ตามประเภทของป่า เป็น
ป่าดงดิบชื้นมีพันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ ยาง ยูง ตะเคียน
กระท้อน ขนุนปานจิกเขา ตำสา นาคบุตรพิกุลป่า หลาว
ชะโอน เป็นต้น สำหรับพืชชั้นล่างประกอบด้วย ไผ่ชนิด
ต่างๆ ระกำหวาย เต่าร้าง ตลอดจนพืชชั้นต่ำที่อาศัย
ลำต้น หรือเรือนยอดของต้นไม้ขนาดใหญ่ เช่น ว่านหาง
ช้าง จัดเป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ที่สุด จะพบได้
ทั่วไปตามบริเวณไหล่เขา นอกจากนั้นยังมีกล้วยไม้ป่าชนิด
ต่างๆ อีกมากมายตามร่องน้ำที่เป็นเขาหินเป็นส่วนใหญ่
พันธ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ พลองใบใหญ่ รังเขา หัวค่าง
หลงใหล มังตาล ยมหิน ปอทะเล เขียด สลัดได เป็นต้น
ภาพที่2 ต้นหลาวชะโอน ภาพที่3 ต้นตำสา
07
พืชพรรณและสัตว์ป่า
อุทยานแห่งชาติธารเสด็จ – เกาะพะงัน เป็นแหล่งที่อยู่
อาศัยของสัตว์ป่าหลายชนิดสามารถจำแนกออกได้เป็นสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนม ประกอบด้วย กวางป่า หมูป่า ลิง ค่าง พญา
กระรอก กระแต อีเห็น ชะมด และหนูชนิดต่างๆ นก ประกอบ
ด้วย เหยี่ยวรุ้ง นกออก นกเอี้ยง นกขุนทอง อีกา นกกวัก นก
กระปูดใหญ่ นกกางเขน เป็นต้น สัตว์เลื้อยคลานประกอบด้วย
เต่า ตะพาบน้ำ กิ้งก่า ตุ๊กแก จิ้งเหลน ตะกวด งูเห่า งูจงอาง
เขียวงู เป็นต้น สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกประกอบด้วย กบและ
เขียนชนิดต่างๆ ปลาและสัตว์น้ำอื่นๆประกอบด้วย ปลาดุก ปลา
ช่อน ปลาหมอ กุ้ง และปูน้ำตก ในท้องทะเลของอุทยานแห่ง
ชาติน้ำตกธารเสด็จอุดมสมบูรณ์ด้วยปะการังปูปลาและหอย
ชนิดต่างๆ เช่นปลากระเบนจุดขาว ฉลามวาฬ หอยนางรม หอย
มือเสือ หมึกกล้วย เต่าตะนุ เป็นต้น
ภาพที่4 เหยี่ยวรุ้ง
08
สัตว์ป่าที่สำคัญ ๆ
กวางป่าหรือกวางม้า กวางที่เชื่อว่ารัชกาลที่ ๕ นำมาปล่อย
บนเกาะพะงัน
กวางป่าหรือกวางม้า หรือกวาง เป็นกวางขนาดใหญ่ชนิด
หนึ่งพบกระจายพันธุ์ในประเทศศรีลังกา และอินเดีย พม่า
ไทย จีน ไต้หวัน เป็นต้น
ลักษณะ นับเป็นกวางที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความยาวลำตัวและหัว ๑๘๐ ถึง
๒๐๐ เซนติเมตรและหนักได้ถึง และน้ำหนักได้ถึง ๑๘๐ บาท
ถึง ๒๒๐ กิโลกรัมโดยทั่วไปเพศผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย
พบตามป่าดงดิบทุกภาคทั้งในระดับต่ำป่าสูงชอบหากินตาม
ทุ่งโล่งฉันชอบกินพืชทั้งใบยอดและต้องการดินโป่งใน
ธรรมชาติชอบอยู่ตัวเดียวหรืออยู่เป็นกลุ่มเล็กๆพร้อมลูกๆ
ฤดูผสมพันธุ์ส่วนใหญ่เป็นฤดูหนาวลักษณะนิสัยและ
พฤติกรรมต่างๆลักษณะที่บ่งบอกถึงสุขภาพกวางที่
สมบูรณ์สังเกตได้จากขนตามลำตัวมันเงาดวงตาแจ่มใส
จมูกชื้น moon เป็นเม็ดไม่มีกลิ่นปัสสาวะใสไม่แยกตัวออก
จากฝูงเกินไป
09
ทะเลและชายฝั่ ง
เป็นแหล่งดำน้ำชมปะการังน้ำตื่นที่อยู่ใกล้กับชายฝั่ งเป็น
ปะการังจำพวกปะการังปะการังสมองล่องยาวปะการังผิว
เป็นต้นและบริเวณเกาะกงตามเสด็จอยู่ใกล้อาสถิติความกว้าง
ของแนวประมาณ ๑๐ ถึง ๒๐ เม็ดส่วนใหญ่เป็นปะการังโขดซึ่ง
เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำต่างๆได้แก่ปลากระบอกดำปลาแป้ง
ใหญ่กุ้งก้ามกรามหอยแครงลิงเป็นต้น
ภาพที่5 หาดท้องนายปาน
10
1.5 การคมนาคม
การคมนาคมขนส่งทางบก ประเภทถนน จำนวนทั้ง
สิ้น ๒๒ สาย แยกเป็นถนน
- คสล. จำนวน ๒๒ สาย
- ถนนลูกรัง จำนวน ๖ สาย
- ถนนดิน จำนวน ๔ สาย
การคมนาคมขนส่งทางน้ำ จำนวน ๑ แห่ง
- ท่าเทียบเรือหาดริ้นตำบลบ้านใต้ อำเภอเกาะพะงัน
จังหวัดสุราษฎร์ธานี กรมเจ้าท่าได้ออกแบบและใช้งบ
ประมาณเหลือจ่ายปี ๒๕๔๕ จำนวน ๙,๔๘๐,๐๐๐ บาท เพื่อ
ดำเนินการก่อสร้างท่าเรือโดยกรมเจ้าท่าออกแบบเอง
การซ่อมแซมและปรับปรุงท่าเทียบเรือหาดริ้นกรมเจ้าท่า
พิจารณาเห็นควรซ่อมแซมและปรับปรุงท่าเทียบเรือหาดริ้น
โดยก่อสร้างท่าเรือขนาดกว้าง ๒ เมตรยาวประมาณ ๒๑
เมตรจำนวน ๓ ท่าเหล็กโครงหลังคาทางเดินทางนี้กรมเจ้า
ท่าลงนามในสัญญากับห้างหุ้นส่วนจำกัดรังทองซึ่งผู้รับ
จ้างได้ดำเนินการแล้วเสร็จและกรมเจ้าท่าตรวจรับงานเมื่อ
วันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๓
ส่วนที่
โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ม ช น
2. โครงสร้างของชุมชน 12
2.1 ด้านการเมืองการปกครอง
จัดตั้งสภาตำบลบ้านใต้ อำเภอเกาะพะงัน จังหวัด
สุราษฎร์ธานี เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใต้
โดยที่มาตรา ๔๐ และมาตรา ๙๕ แห่งพระราชบัญญัติ
สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗
บัญญัติให้จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้น รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงมหาดไทยจึงให้สภาตำบลบ้านใต้ อำเภอ
เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นองค์การบริหาร
ส่วนตำบลบ้านใต้ ตามประกาศกรวงมหาดไทย เรื่อง
จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล ลงวันที่ ๒ มีนาคม
พ.ศ. ๒๕๓๘ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา หน้า ๖๑ เล่ม
๑๑๒ ตอนพิเศษ ๖ ง ลงวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๓๘ (ลำดับ
ที่ ๖๐๐ สภาตำบลบ้านใต้ อำเภอเกาะพะงัน จังหวัด
สุราษฎร์ธานี เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใต้)
อำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นเทศบาลตำบล
บ้านใต้ องค์การบริหารส่วนตำบลที่ได้รับการจัดตั้งเป็น
เทศบาลตำบลตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องจัดตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใต้ อำเภอเกาะพะงัน จังหวัด
สุราษฎร์ธานี เป็นเทศบาลตำบลบ้านใต้ ลงวันที่ ๒๐
กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔
2.2 ข้อมูลประชากร 13
01 บ้านนอก
นางสาวพวงจันทร์ ทองมาก
(ผู้ใหญ่บ้าน)
1,634 คน 02 บ้านเหนือ
นางสาวจันทนา พูลศรี
(ผู้ใหญ่บ้าน)
1,630 คน 03 บ้านค่าย
นายคะนองเดช บัวชื่น
(ผู้ใหญ่บ้าน)
3,264 คน 04 บ้านท้องนายปาน
ความหนาแน่นเฉลี่ย ๓๘.๘๖ คน/ตาราง นายบรรหาร ทองมาก
กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ ๘๔ ตาราง - (ผู้ใหญ่บ้าน)
กิโลเมตร
คิดเป็นเนื้อที่โดยประมาณ ๕๒,๕๐๐ ไร่ 05 บ้านหาดริ้น
จานวนหมู่บ้านมี ๕ หมู่บ้าน อยู่ในเขต
เทศบาลตำบล บ้านใต้ โดยแยกพื้นที่ นายประสพ ทวยเจริญ
การปกครองออกเป็น ๕ หมู่บ้าน ดังนี้ (กำนัน)
14
ตารางที่ 1 แสดงสัดส่วนประชากรตำบลบ้านใต้
2.3 ด้านการศึกษา/ศาสนา
ด้านการศึกษา
โรงเรียนระดับประถมศึกษา (จำนวน ๓ แห่ง)
- โรงเรียนชุมชนบ้านใต้ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2
- โรงเรียนบ้านท้องนายปาน ตั้งอยู่หมู่ที่ 5
- โรงเรียนบ้านหาดริ้น ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 6
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (จำนวน ๑ แห่ง)
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านใต้ ตั้งอยู่หมู่ที่2
15
ด้านศาสนา
การนับถือศาสนา นับถือศาสนาพุทธประมาณ ๙๐ % และนับถือ
ศาสนาอื่นๆ (คริสต์ , อิสลาม , ฮินดู) ประมาณ ๑๐ %
มีวัด 2 แห่ง สำนักสงฆ์ 1 แห่งและโบราณสถาน 1 แห่ง มัสยิด 2
แห่ง
- วัดโพธิ์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2
- วัดเขาถ้ำ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1
- สำนักสงฆ์ท้องนายปาน ตั้งอยู่หมู่ที่ 5
- โบราณสถานวัดใน ตั้งอยู่หมู่ที่ 3
- มัสยิดปูเลาะมะลายู ตั้งอยู่หมู่ที่ 4
- สุสานอิสลามบางน้ำเค็ม ตั้งอยู่หมู่ที่ 2
2.4 ความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรม
วัดโพธิ์
ตามประวัติกล่าวว่า นายสำเภา ชาวไชยา มีอาชีพต่อเรือ
ทำสวนมะพร้าวและทำน้ำตาลขายที่เกาะพะงันเป็นผู้ปรากฏที่จะ
สร้างวัดถวาย โดยให้ลูกชายเป็นคนสร้างถวายเมื่อตนถึงแก่กรรม
เดิมชื่อ วัดสำเภาทอง ภายหลัง พ่อท่านโพธิ์มาเป็นเจ้าอาวาสทำให้
ผู้คนเรียกขาน กันว่าวัดพ่อท่านโพธิ์ภายหลังเรียกชื่อสั้นลงจน
กลายเป็นวัดโพธิ์มาจนถึงปัจจุบัน วัดโพธิ์ เจริญรุ่งเรืองต่อมาใน
สมัยพ่อท่านหมื่นและพ่อท่านขวัญ จนราว พ.ศ. ๒๔๔๙ หลังจาก
พ่อ ท่านขวัญมรณภาพก็ไม่มีเจ้าอาวาสสืบต่อมาจึงทำให้กลายเป็น
วัดร้างอยู่ระยะหนึ่ง ต่อมาได้มีพระภิกษุมาจำพรรษาอีก ปัจจุบัน
เป็นวัดประจำหมู่บ้านที่ชาวบ้านมาทางานบุญต่างๆ
16
โบราณสถานวัดใน
วัดในตั้งอยู่ที่หมู่ที่๓ตำบลบ้านใต้ อำเภอเกาะพะงัน วัดใน
แห่งนี้ไม่ปรากฏหลักฐานการ สร้างที่ชัดเจน ตัวโบราณสถานอยู่ใน
พื้นที่วัดร้างในเขตธรณีสงฆ์ของวัดโพธิ์ หมู่ ๒ บ้านนอก ตำบลบ้าน
ใต้ อำเภอเกาะพะงัน ชาวบ้านเรียกกันสืบมาว่าวัดใน เพราะถัดไปมี
วัดนอกอีก ๑ วัด บริเวณวัดในมี โบราณสถาน คือ เจดีย์ ๓ องค์
เจดีย์องค์แรกยังคงสภาพอยู่มากที่สุด เป็นเจดีย์สี่เหลี่ยมย่อมุมไม้
สิบสอง ก่ออิฐถือปูน เจดีย์องค์ที่สองสร้างด้วยหินปะการังเหลือ
เพียงฐานปัจจุบันถูกโอบคลุมด้วยต้นโพธิ์ใหญ่ เจดีย์อีก องค์หนึ่ง
อยู่ด้านทิศตะวันออกของเจดีย์หินปะการังเป็นเจดีย์ขนาดเล็ก ก่อ
อิฐถือปูนเหลือเพียงส่วนฐานเข่น เดียวกัน โบราณสถานและ
โบราณวัตถุที่สำคัญ ได้แก่ เจดีย์ ประกอบด้วยเจดีย์ก่ออิฐถือปูน
และเจดีย์หิน ปะการัง
17
ประเพณีชักพระทางน้ำ
สำหรับประเพณีชักพระเกาะพะงัน มีความแตก
ต่างจากที่อื่น คือ ถือเอาวันแรม ๘ ค่าเดือน ๑๑ เป็นวัน
ชักพระ ด้วยเหตุที่ต้องอาศัยปัจจัยสำคัญ ได้แก่ ลมและน้ำ
เนื่องจากเป็นการชักพระทางน้ำ ใช้อ่าวท้องศาลาเป็นบริเวณ
งาน จากการสอบถามผู้สูงอายุวัย ๙๖ ปี ก็มีเพียงคำตอบที่
คาดว่าน่าจะเป็นเวลาร้อยปีเศษมาแล้ว เพราะเมื่อเป็นเด็กก็มี
ประเพณีนี้แล้ว โดยทุกฝ่ายพร้อมเพรียงกันจัดงานดังคำ
กล่าวว่า "พระช่วย ฟันพาย หญิงชายทุกวัยไปลงเรือ" บ้าน
ทุกหลังเป็นบ้านร้าง ๓ วัน ในทะเลเต็มไปด้วยเรือมาด เรือ
เพรียว นับ ๑๐๐ ลำ ที่ผูกโยงกับเชือกเส้นเดียวกันจากเรือ
พนมพระ ช่วยกันพายลากเรือพนมพระไปทั่วบริเวณอ่าวท้อง
ศาลา พร้อมกับร้องเพลงชักพระที่มีทำนองไพเราะ และมี
เอกลักษณ์เฉพาะตัว กิจกรรมภาคกลางวัน มี การทำบุญ
เลี้ยงพระช่วงเช้า แล้วทุกคนไปลงเรือแห่พระ จนได้เวลา
ถวายภัตตาหารเพลจึงหยุดพัก ภาคบ่าย ลงเรือแห่พระ ร้อง
เพลง แข่งเรือพาย ประกวดเรือพระ เป็นต้น จนถึง ๕ โมง
เย็น ในภาคกลางคืน มีการร่วมฟังพระธรรมเทศนา ทำ
กิจกรรมดังกล่าวนี้จนครบ ๓ วัน โดยมีวัดราษฎร์เจริญเป็น
ศูนย์กลางการจัดงาน
ประเพณี และพิธีกรรม 18
ประเพณีรับส่งตายาย
วันส่งตายาย จะตรงกับวันแรม๑๕ค่า
เดือน ๑๐ซึ่งการทำบุญวันส่ง ตายายจึงมีความ
สำคัญพอกัน แต่ในวันส่งตายายจะจัดเตรียม
อาหารคาวหวานต่างๆ เป็นพิเศษ พร้อมของใช้ใน
ครัวเรือน เชื่อว่า จัดเตรียมให้ตายายนำกลับไปใช้
จะต้องมีการทำขนมตายาย อันได้แก่ ขนมลา
ขนมกรุบและยาหนม เป็นต้น ขนมดังกล่าวนามา
จัดใส่กระเชอ แล้วนำไปถวายพระที่วัด หลังจาก
นั้นจะนำอาหาร และขนมส่วนหนึ่งไปวางตาม
สถานที่ต่างๆ ของวัด เช่น ประตูวัด โคนต้นไม้
และริมกำแพง เพื่อให้เปรตที่ไม่มีญาติมารับเอา
ไป เรียกว่า ชิงเปรต
ประเพณีรับส่งตายาย เป็นประเพณี
ทำบุญวันเสาร์ทำในเดือนสิบ ซึ่งจะจัดขึ้นทุกท้อง
ที่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นประเพณีที่
แสดงออกถึงความกตัญญูอย่างสูงยิ่งต่อ
บรรพบุรุษ เป็นประเพณี
19
ประเพณี และพิธีกรรม
วันรำลึกเสด็จประพาสต้นเกาะพะงัน รัชกาลที่ ๕
การเสด็จประพาสต้นของพระพุทธเจ้าหลวงรัชกาลที่๕นั้นได้มีพระ
มหากรุณาธิคุณอย่างสูงต่อชาวอำเภอเกาะพะงัน เนื่องจากแทบทุก
ครั้งที่ท่านเสด็จประพาสต้นหัวเมืองทางใต้หรือเสด็จประพาสยุโรป
พระองค์ท่านทรงเสด็จพักผ่อนพระ วรกายที่อำเภอเกาะพะงันแทบทุก
ครั้ง ซึ่งหากจะนับแล้วตั้งแต่วันที่๓๑สิงหาคม พ.ศ.๒๔๓๑ ซึ่งเป็นครั้ง
แรกที่ท่านได้เสด็จประพาสเกาะพะงัน เนื่องจากได้ทอดพระเนตรเห็น
น้ำตกใหญ่อยู่กลางหาดและได้ พระราชทานนามว่า “ธารเสด็จ” จนถึง
วันจันทร์ที่ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๕๒ ซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายที่ท่านได้
เสด็จประพาสเกาะพะงัน ซึ่งรวมกันแล้วถึง ๑๔ ครั้งด้วยกัน นอกจาก
นั้นแล้วในหลายๆ ครั้งท่านยังให้ จารึกหลักฐาน พระปรมาภิไธยย่อ
“จปร” , ตัวเลขและตัวอักษรต่างๆ ไว้นับถึง๑๐แห่ง โดยเฉพาะบริเวณ
น้ำตกที่พระองค์โปรดปรานมาก และได้พระราชทานนามไว้ทั้ง๓แห่ง
ได้แก่ น้ำตกธารเสด็จ , น้ำตกธารประพาส และน้ำตกธารประเวศ ซึ่งใน
ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของอุทยานแห่งชาติธารเสด็จ-เกาะพะงัน ซึ่งอุดม
สมบูรณ์ไปด้วยพรรณไม้และสัตว์ป่านานาพรรณ โดยเฉพาะกวางที่มี
เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยชาวเกาะพะงันได้รับพระราชทานจากล้นเกล้า
รัชกาลที่ ๕ เช่นเดียวกัน
ส่วนที่
โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ เ ล ะ อ า ชี พ
21
โครงสร้างเศรษฐกิจเเละอาชีพ
ระบบเศรษฐกิจ
โครงสร้างทางเศรษฐกิจของเทศบาลตำบลบ้านใต้ จะเป็น
ระบบธุรกิจการท่องเที่ยว และระบบการผลิตจากสาขา
การเกษตรเป็นส่วนใหญ่ และผลผลิตทางทะเล เป็นการ
ประกอบอาชีพประมงชายฝั่ ง ทางภาคอุตสาหกรรมเป็น
อุตสาหกรรมในครัวเรือนขนาดเล็ก
3.1 การเกษตร
- ประชากรในเขตเทศบาลตำบลบ้านใต้ส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพการเกษตรทำสวนมะพร้าว ทำสวนผลไม้ สวน
ยางพารา ฯลฯ
- เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สินเชื่อในระบบธนาคาร เช่น สินเชื่อ
ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ และธนาคาร
พาณิชย์อื่น ๆ
3.2 การประมง
- ประชากรในเขตเทศบาลตำบลบ้านใต้บางส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพประมงพื้นบ้าน/ประมงชายฝั่ ง และมีการเพาะเลี้ยง
สัตว์น้ำ
3.3 การปศุสัตว์
- ประชากรในเขตเทศบาลตำบลบ้านใต้มีการปศุสัตว์ที่สำคัญ
หลายประเภท ได้แก่ โคเนื้อ ไก่ไข่ ไก่เนื้อ ไก่พื้นเมือง เป็ด
เนื้อ เป็ดไข่ กระบือ และสุกร
ส่วนที่
ส ถ า น ที่ ท่ อ ง เ ที่ ย ว
23
วัดโพธิ์บ้านใต้
วัดโพธิ์มีความเจริญรุ่งเรืองในสมัยพ่อท่านหมื่นและ
พ่อท่านขวัญ เป็นเจ้าอาวาส พ่อท่านหมื่น เป็นพระ
อุปัชฌาย์และเป็นพระสังฆาธิการระดับผู้นำของเมืองพงัน
มีชีวิตอยู่ราวปลายสมัยรัชกาลที่ 3 จนราว พ.ศ. 2449 พ่อ
ท่านขวัญมรณภาพ ไม่มีเจ้าอาวาสสืบต่อมา จึงกลายเป็น
วัดร้างอยู่ระยะหนึ่ง ต่อมาได้มีพระภิกษุมาจำพรรษาอีก
ปัจจุบันเป็นวัดประจำหมู่บ้าน ตรงข้ามวัดโพธิ์เป็นศูนย์อบ
สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ภาพที่6 วัดโพธิ์บ้านใต้
24
น้ำตกธารเสด็จ
น้ำตกธารเสด็จ อยู่ตำบลบ้านใต้ เป็นน้ำตกที่รัชกาลที่ 5 เคย
เสด็จประพาสและได้พระราชทานนามไว้ อีกทั้งเป็นน้ำตกที่ทรงโปรด
มาก โดยได้เสด็จประพาสถึง 14 ครั้งตลอดรัชกาล นอกจากนั้น
รัชกาลที่ 6 รัชกาลที่ 7 พร้อมพระมเหสี และรัชกาลที่ 9 ก็เคย
เสด็จประพาส และได้จารึกพระปรมาภิไธยย่อไว้ที่ก้อนหินบริเวณน้ำตก
ทุกพระองค์ การเดินทางไปน้ำตกธารเสด็จ สามารถไปได้ทั้งทางเรือ
และทางรถ หากเดินทางโดยทางเรือ เมื่อเริ่มเข้าอ่าวธารเสด็จจะพบ
ความงามของภูเขาโขดหินที่มีรูปร่างแปลกๆ และหาดทรายสีขาว เมื่อ
ขึ้นจากเรือแล้วเดินไปไม่ไกลนักจะพบกับลำธารมีกระแสน้ำไหลผ่าน
ปะทะแก่งหินที่มีอยู่มากมาย ทำให้เกิดเสียงดังตามความเร็วของ
กระแสน้ำ ช่วงเดือนตุลาคม - มกราคม ไม่สามารถนั่งเรือไปน้ำตกได้
และถ้าเป็นทางรถจะต้องเป็นรถที่มีสมรรถนะสูงจึงจะสามารถเดินทาง
ไปได้ แต่ถ้าเป็นหน้าฝนการเดินทางจะลำบากมาก เพราะทางที่ผ่านจะ
เป็นทางลาดชันตลอดและเป็นภูเขาสูง การเดินทางจึงต้องระมัดระวัง
เป็นพิเศษ
ภาพที่7 น้ำตกธารเสด็จ
25
หาดริ้น
หาดริ้น ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ตำบลบ้านใต้ ห่างจากที่ว่าการอำเภอ
ประมาณ 12 กิโลเมตร เป็นชายหาดที่สวยและมีชื่อเสียงของ
เกาะพะงัน ความยาวของหาดประมาณ 2 กิโลเมตร นอกจากเป็น
หาดที่สวยแล้วยังมีกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวชาวต่างชาตินิยมมา
ชุมนุมกันในวันพระจันทร์เต็มดวง เรียกว่า
ฟูลมูนปาร์ตี้ ซึ่งจะมีนักท่องเที่ยวจำนวนนับพันคนมาเต้นรำ
กันอย่างสนุกสนานจนมีชื่อเสียงดังไปทั่วโลก การเดินทางในปัจจุบัน
สะดวกเพราะมีถนนคอนกรีตตัดผ่านตั้งแต่ท่าเรือจนถึงชายหาด
งานฟูลมูนปาร์ตี้ (Full Moon Party) เริ่มต้นขึ้นจากการที่นัก
ท่องเที่ยวเพียงสองสามคนจัดปารืตี้ขนาดเล็กๆ ขึ้นบนหาดริ้นนอก
เมื่อปีคริสต์ศักราชที่ 80 กว่าๆ มีการเปิดเพลง เต้นรำกันใต้
แสงจันทร์มีความสนุกสนาน และมีการจัดขึ้นอีกทุกๆ เดือน มีคน
มาร่วมมากขึ้นทุกเดือน กิจกรรมนี้จะมีขึ้นในช่วงพระจันทร์เต็มดวง
ทุกครั้ง ถ้าไม่ตรงกับวันพระหรือวันสำคัญทางศาสนา หรือวันเลือก
ตั้งสำคัญ โดยจะจัดขึ้นบนชายหาดของหาดริ้นนอก ซึ่งตั้งอยู่ทาง
ทิศใต้ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนมากของเกาะพะงัน
ภาพที่8 ฟูลมูลปาร์ตี้
26
หาดบ้านใต้
ชายหาดยาวสวยงาม มองเห็นเกาะสมุย เกาะแตใน
เกาะแตนอก เป็นจุดชมวิวพระอาทิตย์ลับขอบฟ้ายาม
เย็นที่สวยงามอีกแห่งบนเกาะพะงัน ตลาดบ้านใต้เป็น
ชุมชนเก่าแก่ สามารถชมวิถีชีวิตของคนเกาะ พะงัน ใน
เรื่องที่พักนั้นมีมากมายหลายรีสอร์ทเรียงรายตลอด
หาดบ้านใต้ ช่วงเทศกาลฟูลมูนปาร์ตี้ ที่พักส่วนใหญ่จะ
เต็มก่อนล่วงหน้าเสมอ
ภาพที่9 หาดบ้านใต้ ภาพที่10 หาดบ้านใต้
27
ลานพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5 บ้านท้องนาง ตำบล
บ้านใต้ อำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ตั้งอยู่ ณ ถนนสายบ้านท้องนาง - ธารเสด็จ หมู่ที่ 5 ตำบลบ้าน
ใต้ ตำบลบ้านใต้ อำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน
เนื้อที่ 1 ไร่ 2 งาน 36 ตารางวา เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.
2543 ตามหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส. 3 ก.) เลขที่
1080
ภาพที่11 พระบรมราชานุสาวรีย์ ร.๕ ภาพที่12 พระบรมราชานุสาวรีย์ ร.๕
ภาพที่13 พระบรมราชานุสาวรีย์ ร.๕
ส่วนที่
ก า ร ดำ เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ เ ล ะ สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล
เ เ บ บ บู ร ณ า ก า ร
29
การดำเนินโครงการยกระดับเศรษฐกิจ
เเละสังคมรายตำบลเเบบบูรณาการ
โครงการ น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
ภาพที่14 น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
วัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรมในการดำเนินงาน
1.เพื่อยกระดับสินค้าทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์สินค้า OTOPใน
ชุมชนของตำบลบ้านใต้ ผ่านระบบเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตและบริการ
ผ่านสมาร์ทโฟนผ่านทางเฟสบุ๊ค - แอปพลิเคชั่นไลน์
2.เพื่อการส่งเสริมสัมมาชีพใหม่กระจายรายได้ หมุนเวียนให้แก่
ชุมชน โดยนำทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างมะพร้าวทำการ
แปรรูปให้มีความหลากหลายทางผลิตภัณฑ์ เช่นการทำคุกกี้แป้ง
มะพร้าวขนมปังไส้มะพร้าวอาหารเพื่อสุขภาพและหลักโภชนาการส่ง
เสริมสัมมาชีพด้านการผลิต นอกจากนี้ยังมีการผลิตปุ๋ยชีวภาพเพื่อ
ลดการใช้ปุ๋ยเคมี และถ่านดับกลิ่นจากกะลามะพร้าว
30
รูปแบบกิจกรรมที่จะเข้าไปดำเนินการในพื้นที่
1 . ก า ร พั ฒ น า สั ม ม า ชีพ แ ล ะ ส ร้า ง อ า ชีพ ใ ห ม่
( ก า ร ย ก ร ะ ดั บ สิ น ค้ า O T O P / อ า ชีพ อื่ น ๆ )
คิ ด เ ป็ น ร้อ ย ล ะ 2 0 ข อ ง กิ จ ก ร ร ม ทั้ง ห ม ด
2 . ก า ร ส ร้า ง แ ล ะ พั ฒ น า C R E A T I V E
E C O N O M Y ( ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว )
คิ ด เ ป็ น ร้อ ย ล ะ 5 0 ข อ ง กิ จ ก ร ร ม ทั้ง ห ม ด
3 . ก า ร นำ อ ง ค์ ค ว า ม รู้ไ ป ช่ว ย บ ริก า ร ชุ ม ช น
( H E A L T H C A R E / เ ท ค โ น โ ล ยี ด้ า น ต่ า ง ๆ )
คิ ด เ ป็ น ร้อ ย ล ะ 1 5 ข อ ง กิ จ ก ร ร ม ทั้ง ห ม ด
4 . ก า ร ส่ ง เ ส ริม ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
( C I R C U L A R E C O N O M Y ก า ร เ พิ่ ม ร า ย ไ ด้
ห มุ น เ วีย น ใ ห้แ ก่ ชุ ม ช น ) ใ ห้แ ก่ ชุ ม ช น
คิ ด เ ป็ น ร้อ ย ล ะ 1 5 ข อ ง กิ จ ก ร ร ม ทั้ง ห ม ด
31
รูปแบบกิจกรรมที่จะเข้าไปดำเนินการในพื้นที่
1.เพื่อยกระดับสินค้าทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์
สินค้าOTOPในชุมชนของตำบลบ้านใต้ ผ่านระบบ
เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตและบริการผ่านสมาร์ทโฟนผ่านทาง
เฟสบุ๊ค-แอปพลิเคชั่นไลน์
2.เพื่อการส่งเสริมสัมมาชีพใหม่ กระจายรายได้
หมุนเวียนให้แก่ชุมชน โดยนำทรัพยากรธรรมชาติในท้อง
ถิ่นอย่างมะพร้าวทำการแปรรูปให้มีความหลากหลายทาง
ผลิตภัณฑ์ เช่น การทำคุกกี้แป้งมะพร้าว ขนมปังไส้
มะพร้าว การทำแป้งมะพร้าวและเค้กมะพร้าวอ่อน อาหาร
เพื่อสุขภาพและหลักโภชนาการส่งเสริมสัมมาชีพด้านการ
ผลิต นอกจากนี้ยังมีการผลิตปุ๋ยชีวภาพเพื่อลดการใช้ปุ๋ย
เคมี
32
ผลการดำเนินงานกิจกรรม
1.ชาวบ้านเข้าใจระบบสื่อสารออนไลน์มากยิ่งขึ้น
2.มีการขายสินค้าออนไลน์ซึ้งเข้ากับ
สถานการณ์โควิดในปัจจุบัน
3.ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการโฆษณาขายของ
ออนไลน์
4.ลูกค้าสามารถเข้าถึงได้ 24 ชั่วโมง
อยู่ระหว่างการดำเนินการขออนุมัติโครงการ
ภาพที่15 น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
โครงการ ฝึกทักษะประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิง 33
อนุรักษ์และนันทนาการองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี
เรื่อง การศึกษาธรรมชาติเส้นทางใหม่
ภาพที่ 16 คู่มือเส้นทางการเดินป่า
ภาพที่17 วิวทิวทัศน์มุมสูงจากเส้นทางการเดินป่า
34
ภาพที่18 วิวทิวทัศน์มุมสูงจากเส้นทางการเดินป่า
ภาพที่19 วิวทิวทัศน์มุมสูงจากเส้นทางการเดินป่า
35
บรรณานุกรม
มงคล หลิง(2544) ขนาดและที่ตั่งเกาะพะงัน (พิมพ์ครั้งที่ 5).
กรุงเทพมหานคร : วรสารพัฒนาชุมชน
สิริวรรณ (2535) สถานที่ท่องเที่ยวเกาะพะงัน (พิมพ์ครั้งที่ 8).
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แม็คนิคอาร์ต
ณัฐริกา (2543) ลักษณะภูมิประเทศภูมิอากาศเกาะพะงัน
(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ปิยลักษณ์
พิชชาพร (2555) การเมืองการปกครองเกาะพะงัน (พิมพ์ครั้งที่ 4).
กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์มัณฆิตา
36
37
"ร.5 ธารเสด็จ หลวงพ่อเพชรรวมใจ
เกาะพะงัน พระจันทร์สวยน้ำใส หาดทราย
ขาว ปะการังแพรวพราว เพชรกลางอ่าว
เมืองคนดี "
คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ เ ก า ะ พ ะ งั น