The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wachiraya panthasri, 2020-07-28 11:45:00

E-book

E-book

Calligraphers United

การแตง่ บทร้อยกรอง
ประเภทกลอนสภุ าพ

กลอนสุภาพ
Calligraphers United

เปน็ กลอนประเภทหนงึ่ ซง่ึ ลักษณะคาํ ประพันธข์ องภาษาไทยทเ่ี รยี บเรยี ง
เข้าเป็นคณะ ใช้ถอ้ ยคาํ และทํานองเรียบๆ ซง่ึ นบั ไดว้ ่ากลอนสุภาพเป็น
กลอนหลกั ของกลอนท้ังหมด เพราะเป็นพนื้ ฐานของกลอนหลายชนดิ
หากเข้าใจกลอนสภุ าพ ก็สามารถเข้าใจกลอนอ่นื ๆ ไดง้ ่ายขน้ึ คําประพนั ธ์ ท่ี
ตอ่ ท้ายวา่ "สภุ าพ"นับวา่ เปน็ คําประพันธ์ที่แสดงลักษณะเป็นไทยแท้ ดว้ ย
มขี อ้ บงั คบั ในเร่ือง "รูปวรรณยุกต"์ ในกลอนสภุ าพนอกจากมบี งั คับ
เสยี งสระเปน็ แบบแผนเชน่ กลอนปกตแิ ล้ว ยังบงั คับรปู วรรณยุกตเ์ พ่ิม
จึงมขี อ้ จาํ กดั ท้ังรปู และเสียงวรรณยกุ ต์เปน็ การแสดงไหวพริบปฏิภาณ
และความแตกฉานในการใชภ้ าษาไทยของผ้แู ตง่ ใหเ้ ด่นชดั ย่ิงขน้ึ คํา
ประพันธ์กลอนสุภาพนยิ มเลน่ กันมากต้งั แต่สมยั อยุธยา จวบจนถึง
ปัจจบุ นั ในต้นรตั นโกสินทรน์ ้ันงานกลอนสุภาพเด่นชดั ในรัชกาลท่ี ๒ซึ่ง
เฟื่องฟถู งึ ขนาดมกี ารแขง่ ขนั ตอ่ กลอนสด กลอนกระทู้ ตลอดรัชสมยั มี
ผลงานออกมามากมาย เชน่ กลอนโขน กลอนนิทาน กลอนละคร กลอน
ตาํ ราวัดโพธ์ิ เปน็ ตน้ บทพระราชนิพนธ์เร่อื ง เงาะปา่ ก็เกดิ ขน้ึ ในยุคนี้ ยงั มี
กวีทา่ นอ่ืนที่มีชือ่ เสยี ง เชน่ สุนทรภู่ เปน็ ตน้ และในสมยั รัชกาลที่ ๖กม็ ี
ปราชญก์ วีทางกลอนสุภาพทีส่ ําคญั หลายท่านเช่นกัน กลอนสภุ าพคือ
กลอนทใี่ ช้ถอ้ ยคํา และทาํ นองเรียบๆ แบง่ ออกเป็น ๔ชนดิ คอื กลอน
สภุ าพแบง่ เปน็ ๔ ชนิด คอื

1.กลอน 6

เป็นกลอนทีใ่ ชใ้ นหนึ่งบทมี ๒ คํากลอน หนึง่ ค ากลอนมี ๒ วรรค ทุกวรรค
มี ๖ คาํ (การเรยี กชอ่ื กลอน ๖ จึงมาจากจ านวนคําในวรรค) ในหนงึ่ บท
มี ๔ วรรค คือ วรรคสดบั วรรครบั วรรครอง วรรคส่ง

2.กลอน 7

เป็นกลอนที่ใชใ้ นหน่ึงบทมี ๒ คํากลอน หนึ่งค ากลอนมี ๒ วรรค ทุกวรรค
มี ๗ คําเรยี กชือ่ กลอน ๗ ตามจํานวนคําในแตล่ ะวรรค ลักษณะสมั ผัสกจ็ ะ
คล้ายกับกลอน ๖

3.กลอน 8

เป็นกลอนที่ใชใ้ นหนง่ึ บทมี ๒ คาํ กลอน หนง่ึ คํากลอนมี ๒ วรรค ทกุ วรรค
มี ๘ คาํ ลกั ษณะสมั ผสั เหมอื นกลอน ๖และ ๗

4.กลอน 9

เปน็ กลอนท่ีใชใ้ นหนึ่งบทมี ๒ คํากลอน หน่งึ คํากลอนมี ๒วรรค ทุกวรรคมี
๙ คําลักษณะสัมผสั เหมือนกลอน ๖,๗ และ ๘

กฎสัมผัส

พยางค์สดุ ท้ายของวรรคที๑่ สมั ผสั กบั พยางคท์ ่ี ๓หรือ ๕ ในวรรคที่ ๒พยางค์
สดุ ท้ายของวรรคท่ี๒สัมผัสกับพยางคส์ ดุ ท้ายของวรรคที๓่ และสมั ผัสกับพยางค์
ท่๓ี หรือ ๕ ในวรรคที่ ๔ สัมผัสระหว่างบทพยางคส์ ุดท้ายของบทต้นสัมผสั กบั
พยางคส์ ดุ ท้ายของวรรคท่๒ี ของบทถัดไป

สมั ผสั ในกลอนสุภาพจะมีความไพเราะยง่ิ ข้นึ ไป นอกเหนอื จากการสมั ผสั ตาม
สัมผัสบงั คบั แล้วยังต้องมสี ัมผสั ในทเ่ี ปน็ สมั ผสั สระและสัมผัสอกั ษร อกี ด้วย
จึงจะเปน็ บทกลอนทไ่ี พเราะเสียงวรรณยกุ ตค์ ือ การบงั คบั เสียงท้ายวรรคของ
บทร้อยกรองโดยเฉพาะบทร้อยกรองประเภทกลอนอนั ที่จริงไม่ถงึ กับเปน็ การ
บังคับทเี่ คร่งครัดแต่ก็เปน็ ความนยิ มโดยทวั่ ไปทางการแตง่ บทรอ้ ยกรองเสียง
ท้ายวรรคของกลอน

วรรคสดับ นิยมใชเ้ สยี งวรรณยกุ ต์ทุกเสียง
วรรครับ นยิ มใช้เสียงวรรณยุกต์เอก โท และจตั วา
วรรครอง นิยมใช้เสยี งวรรณยกุ ต์สามัญ และ ตรี
วรรคสง่ นยิ มใชเ้ สยี งวรรณยกุ ตส์ ามญั และตรี

Calligraphers United

บทของกลอน

คาํ กลอนวรรคหน่งึ เรียกวา่ กลอนหน่งึ สองวรรค หรือสองกลอน เรียกวา่
บาทหน่งึ หรอื คาํ หน่ึง สองคาํ หรือสองบาท หรือส่วี รรค หรอื สก่ี ลอน เรียก
วา่ บทหน่งี วรรคทงั้ ส่ขี องกลอน ยังมชี ่ือเรยี กตา่ งๆ กนั และนยิ มใช้เสียง
ตา่ งๆ กันอีก คอื

1. กลอนสลบั ไดแ้ ก่ กลอนวรรคต้น คําสุดทา้ ย ใช้คําเตน้ คือนอกจาก
เสียงสามัญ แต่ถา้ จะใช้ กไ็ ม่ห้าม
2. กลอนรบั ไดแ้ ก่ กลอนวรรคที่สอง คาํ สุดท้าย นิยมใช้ เสียงจัตวา ห้ามใช้
เสียงโท, สามัญ, ตร,ี และวรรณยกุ ตเ์ อกมรี ูป วรรณยุกตเ์ อกไม่มีรูป ไม่หา้ ม แต่
ต้องให้คาํ สดุ ท้าย ของกลอนรอง เป็นเสยี งตรี
3. กลอนรอง ไดแ้ ก่ กลอนวรรคทสี่ าม คาํ สุดท้าย นิยมใช้ เสยี งสามญั ห้ามใช้
เสยี งจัตวา หรือคําที่มรี ปู วรรณยกุ ต์
4. กลอนสง่ ไดแ้ ก่ กลอนวรรคท่สี ี่ คาํ สดุ ท้าย นิยมใช้ เสียงสามญั ห้ามใช้
คําตาย และคําทีม่ รี ูปวรรณยุกต์ จะใชค้ าํ ตายเสียงตรี บ้

บาทของกลอน

คาํ กลอนน้ัน นบั 2 วรรคเปน็ 1 บาท ตามธรรมดา กลอนบทหนึง่
จะตอ้ งมีอย่างน้อย 2 บาท (เว้นไวแ้ ตก่ ลอนเพลงยาว หรอื กลอนนริ าศ
ซึง่ นยิ มใช้บทแรก ที่ขึ้นต้นเรอื่ ง เพียง 3 วรรค) บาทแรก เรยี กว่า บาท
เอก บาทท่ี 2 เรียกว่า บาทโท คาํ กลอนจะยาวเท่าไรกต็ าม คงเรียกชือ่ ว่า
บาทเอก บาทโท สลับกันไปจนจบ และตอ้ งจบลง ด้วยบาทโทเสมอ

หลักนยิ มทัว่ ไปของกลอน

1. คาํ สุดท้ายของวรรคที่ 1 และวรรคที่ 2 ก็ดี คําสดุ ท้ายของวรรคท่ี 3 และวรรคท่ี 4
กด็ ี ไม่ควรใช้คํา ทม่ี ีเสียงเหมือนกัน หรือคําท่ใี ช้สระ และตวั สะกด ในมาตราเดียวกนั

2. คําทร่ี ับสมั ผสั ในวรรคที่ 2 และที่ 4 ควรให้ตาํ แหนง่ สัมผสั ตกอยทู่ ่ีพยางค์
สุดทา้ ย ของคํา ไม่ควรให้สมั ผสั ลงทตี่ น้ คาํ หรือกลางคาํ ย่งิ เปน็ กลอนขับรอ้ ง ยง่ิ
ตอ้ งระวงั เปน็ พิเศษ เพราะจะทาํ ใหเ้ สียความ ในเวลาขับร้อง

3. คาํ สุดทา้ ยของวรรค ควรใชค้ าํ เตม็ ไม่ควรใช้ครึ่งคาํ หรอื ยัติภังค์ เวน้ ไวแ้ ต่ แต่ง
เป็น กลบทยตั ภิ งั ค์ หรอื เป็น โคลง, ฉันท์ และกาพย์

4. ไม่ควรใชภ้ าษาอื่น ที่ยังมไิ ดร้ บั รอง มาใชเ้ ป็นส่วนหนึ่ง แห่งภาษาไทย

จัดทําโดย
นางสาววชริ ญาณ์ พนั ธะศรี ม.๖/๑ เลขท่ี ๒๙


Click to View FlipBook Version