The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

MKO3_2-56_4122603คอมพิวเตอร์กราฟิก(อ.กนกวรรณไทยประดิษฐ)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pattradorn Chabangram, 2019-08-24 22:54:13

MKO3_2-56_4122603คอมพิวเตอร์กราฟิก(อ.กนกวรรณไทยประดิษฐ)

MKO3_2-56_4122603คอมพิวเตอร์กราฟิก(อ.กนกวรรณไทยประดิษฐ)

มคอ. 3

หลักสตู รเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
4122603 คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ

(Computer Graphic)

สาขา Information Technology

มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ิต ศนู ยก์ ารศึกษานอกทีต่ ั้งตรัง

SUAN1 DUSIT RAJABHAT UNIVERSITY

คานา

เอกสารแบบ มคอ.3 รายวชิ าคอมพวิ เตอร์กราฟกิ รหสั วชิ า 4122603 มงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจในทฤษฏี
เบือ้ งต้นเกี่ยวกบั การสร้างภาพด้วยคอมพวิ เตอร์ เทคนคิ การสร้างภาพ 3 มิติ เทคนคิ การยอ่ หรือขยาย การหมุน
การตัดภาพ การจัดรูปแบบตัวอักษร ฝึกปฏิบัติการสร้างภาพและตกแต่งภาพ การจัดวางหน้า การใช้หน้าต่าง
การโตต้ อบผใู้ ช้ การทาให้ภาพเคลื่อนไหว เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถในการนางานกราฟิกมาใช้ใน
งานธุรกิจเบ้ืองต้นเพื่อการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถวิเคราะห์ ออกแบบ หาวิธีการใน
การแก้ปญั หาเก่ียวกับงานธรุ กิจ และการฝกึ ใชโ้ ปรแกรมทางด้านคอมพิวเตอร์กราฟิกได้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการดาเนินงานเพ่ือพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนท่ีเน้นให้ผู้เรียน
ประยุกตใ์ ชง้ านและศกึ ษาเพ่มิ เติมจากกรณศี ึกษาและฝกึ ปฏิบัติจริง รายละเอียดรายวิชาน้ีจึงเป็นส่วนสาคัญต่อ
ผู้เรียนที่เน้นทั้งการเรียนการสอนท่ีเป็นทฤษฎี ฝึกปฏิบัติและการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้เรียนได้
แนวทางในการจัดการเรียนรู้ทฤษฎีและกรณีศึกษา จากกิจกรรมการเรียนการสอนภายในห้องเรียน รวมถึง
ตดิ ตามเทคโนโลยีใหม่ ๆ โดยใชท้ ักษะการค้นคว้าเพิ่มเติมจากการเรียนภายในห้อง ผู้เรียนสามารถนาความรู้ท่ี
ไดจ้ ากรายวิชานไ้ี ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นอนาคตได้

ทงั้ นไ้ี ดป้ รับกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใหน้ ักศกึ ษาบรู ณาการรายวิชาวิชาอ่ืนๆที่เก่ียวข้องด้วย และ
ยงั ใหน้ กั ษศึกษาส่งผลงานเข้าร่วมตามโครงการต่างๆ ที่เก่ียวข้อง เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์จริง และ
นาความร้ทู ี่เรยี นไปใช้งานจรงิ

คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร
หลกั สูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ (เทคโนโลยีสารสนเทศ)

ตลุ าคม 2556

สารบญั หนา้

หมวด 3
4
1 ข้อมูลทวั่ ไป 4
2 จดุ มุ่งหมายและวตั ถุประสงค์ 5
3 ลกั ษณะและการดาเนนิ การ 8
4 การพฒั นาผลการเรยี นรู้ของนกั ศึกษา 14
5 แผนการสอนและการประเมนิ ผล 15
6 ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน
7 การประเมนิ และปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศกึ ษา รายละเอียดของรายวชิ า
คณะ
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ิต
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หมวดท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป

1. รหสั และช่ือรายวชิ า
4122603 คอมพิวเตอร์กราฟกิ ส์
Computer Graphic

2. จานวนหนว่ ยกติ
3(2-2-5) หนว่ ยกิต

3. หลักสูตรและประเภทของรายวชิ า
3.1 หลกั สตู รเทคโนโลยสี ารสนเทศ (เทคโนโลยีสารสนเทศ)

4. อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบรายวิชาและอาจารยผ์ สู้ อน
4.1 อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบรายวิชา อาจารยก์ นกวรรณ ไทยประดษิ ฐ
4.2 อาจารยผ์ สู้ อน อาจารย์กนกวรรณ ไทยประดิษฐ

5. ภาคการศึกษา/ช้ันปีทเ่ี รยี น
ภาคการศึกษาที่ 2 / 2556 ชนั้ ปีที่ 2

6. รายวิชาทีต่ อ้ งเรียนมาก่อน (Pre-requisite)
ไมม่ ี

7. รายวชิ าทตี่ อ้ งเรียนพรอ้ มกนั (Co-requisites)
ไม่มี

8. สถานท่ีเรียน
ห้องคอมพวิ เตอร์ ชัน้ 2 มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ติ ศนู ยต์ รัง

9. วันท่จี ดั ทาหรือปรับปรงุ รายละเอียดของรายวิชาครงั้ ล่าสดุ
9.1 วนั ทีจ่ ัดทา 3 มถิ นุ ายน 2555
9.2 วนั ท่ปี รบั ปรงุ รายละเอียดล่าสดุ 24 ตลุ าคม 2556

หมวดท่ี 2 จดุ มงุ่ หมายและวัตถปุ ระสงค์

1. จดุ มุ่งหมายของรายวชิ า

1. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการสร้างภาพด้วยคอมพิวเตอร์ ความหมายกราฟิก ประเภทและ
ลกั ษณะของภาพกราฟกิ

2. สร้างภาพ 3 มติ ิ ยอ่ ขยาย หมุน ตัดภาพ จดั รูปแบบตวั อกั ษร ออกแบบและผลติ งานกราฟิก ตลอดจน
กระบวนการพฒั นาผลงานกราฟิก

3. เกิดความคิดในการคัดเลือกทรัพยากรเครื่องมือ/โปรแกรมกราฟิก และใช้เคร่ืองมือ/โปรแกรมสร้าง
ผลงานกราฟิก

4. เกิดทกั ษะในการสรา้ งผลงานกราฟกิ นาไปประยกุ ต์ใชไ้ ดช้ วี ิตประจาวนั
5. เกดิ เจตคตทิ ่ดี ตี ่อการคดิ สรา้ งงานกราฟิกอย่างสร้างสรรค์
6. เป็นผมู้ จี รยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการสร้างสื่อ และงานกราฟกิ อยา่ งมคี ณุ ธรรม

2. วัตถุประสงคใ์ นการพัฒนา/ปรับปรงุ รายวชิ า

1. เพื่อให้นักศึกษามีฐานความรู้ที่ เกิดทักษะในการสร้างผลงานกราฟิกไปใช้ในทุกธุรกิจ ผู้ประกอบการ
รา้ นขายสินคา้ /บริการ

2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ฐานความรู้ในวิชาน้ีเพ่ือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์
กราฟิก

หมวดที่ 3 ลกั ษณะและการดาเนนิ การ

1. คาอธิบายรายวชิ า

ศึกษาความรเู้ บื้องตน้ เกี่ยวกบั การสร้างภาพด้วยคอมพิวเตอร์ เทคนิคการสร้างภาพ 3 มิติ เทคนิคการ
ย่อหรือขยาย การหมุน การตัดภาพ การจัดรูปแบบตัวอักษร ฝึกปฏิบัติการสร้างภาพและตกแต่งภาพ การจัด
วางหนา้ การใช้หน้าต่าง การโตต้ อบกับผใู้ ช้ การทาให้ภาพเคลื่อนไหว

Study of basic knowledge for create computer imaging, techniques to visualize 3D,
compression and expansion techniques, rotation, crop, character formatting. Practice in
image creation and decoration, page layout, window using, interaction with users, animation
making

2. จานวนช่ัวโมงท่ีใช้ต่อภาคการศกึ ษา

บรรยาย สอนเสรมิ ฝึกปฏิบัติ การศึกษาด้วยตนเอง
ฝึกออกแบบ สร้างภาพ ตดั 75 ช่วั โมง/ภาค
บรรยาย 30 การใชโ้ ปรแกรมประยกุ ต์ การศึกษา
และตกแต่งภาพ
ช่ัวโมง/ภาค ด้านคอมพิวเตอรก์ ราฟิก จัดรปู แบบตัวอักษร 30
ชวั่ โมง/ภาคการศกึ ษา
การศึกษา

3. จานวนชวั่ โมงต่อสปั ดาห์ท่ีอาจารยใ์ หค้ าปรกึ ษาและแนะนาทางวิชาการแก่นกั ศึกษาเปน็ รายบคุ คล

4

1 ใหค้ าปรึกษาและแนะนาทางวิชาการผ่านระบบ E-learning, Facebook, web blog
2 จดั เวลาให้คาปรึกษาเปน็ รายบคุ คล หรอื รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ช่ัวโมงตอ่ สัปดาห์ (เฉพาะรายท่ี

ต้องการ)

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศกึ ษา

1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

1.1 คณุ ธรรม จริยธรรมทีต่ อ้ งการ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล
การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธ์ิทางซอฟต์แวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ใน
การสรา้ งงานกราฟกิ อย่างมีคณุ ภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัตหิ ลักสตู รดังนี้

1.1.1 ตระหนกั ในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซอ่ื สตั ย์
1.1.2 มวี นิ ยั ตรงตอ่ เวลา และความรับผดิ ชอบต่อตนเองและสงั คม
1.1.3 มภี าวการณ์เปน็ ผูน้ าและผูต้ าม สามารถทางานเป็นทีม
1.1.4 สามารถแก้ไขข้อขดั แย้งและลาดับความสาคญั
1.1.5 เคารพสทิ ธแิ ละรบั ฟังความคิดเหน็ ของผอู้ นื่
1.1.6 เคารพในคุณคา่ และศกั ดศ์ิ รีของความเปน็ มนุษย์
1.1.7 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคบั ต่าง ๆ ขององค์กรและสงั คม
1.1.8 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคมมี

จรรยาบรรณทางวชิ าการและวิชาชพี

1.2 วิธีสอน
1.2.1 บรรยาย และสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม พร้อมทั้งยกตัวอย่างกรณีศึกษาประกอบ
โดยเน้นในเร่ืองของความรับผิดชอบต่องาน การตรงต่อเวลา วินัยจรรยาบรรณ ความ
ซอ่ื สัตย์ต่อตนเองและเพ่อื นในกลุ่ม
1.2.2 ให้นักศึกษาทาช้ินงานมาส่ง โดยเน้นเรื่องการส่งงานตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อ
ตัวเอง และการไม่ลอกงานคนอ่ืนมาส่ง

1.3 วิธกี ารประเมนิ ผล
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษาที่เกิดขึ้นระหว่างการทากิจกรรมภายในห้องเรียน
และสง่ งานท่ีได้รับมอบหมายตามขอบเขตทใ่ี ห้ตรงเวลา และมีความรบั ผดิ ชอบต่อตัวเอง
1.3.2 ประเมินผลจากการสง่ ช้ินงานของนักศกึ ษา
1.3.3 ประเมนิ ผลจากใบเชค็ รายช่อื การเข้าชน้ั เรียน

2. ความรู้

5

2.1 ความรู้ทต่ี ้องได้รบั
2.1.1 มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับหลักการ และทฤษฎีท่ีสาคัญเกี่ยวกับงานคอมพิวเตอร์
กราฟกิ ส์ การสรา้ งภาพดว้ ยคอมพิวเตอร์
2.1.2 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการดาเนินการในโปรแกรมทางด้านคอมพิวเตอร์
กราฟกิ ส์ในแบบตา่ ง ๆ
2.1.3 สามารถวางแผน ออกแบบ เลือกใช้โปรแกรมทางด้านคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ในการ
ออกแบบสื่อ/ประชาสัมพันธ์ และนาเสนองานไดอ้ ย่างเหมาะสม และมปี ระสิทธภิ าพ
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาการใช้โปรแกรมทางด้านคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ได้
รวมถึงสามารถประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้อย่างเหมาะสม
2.1.5 สามารถนาโปรแกรมทางดา้ นคอมพิวเตอร์กราฟิกส์มาบูรณาการความรู้ ในศาสตร์อื่น ๆ
ท่เี ก่ยี วข้องได้

2.2 วธิ ีสอน
2.2.1 บรรยายหลกั การ และทฤษฎีที่สาคัญเก่ียวกับงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ และให้นักเรียน
มีส่วนร่วมในการเรียนโดยการตอบคาถามระหว่างการบรรยาย หรือแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นขณะบรรยายระหว่างอาจารย์ผู้สอน นักศึกษา และเพ่ือนนักศึกษาในชั้นเรียน
เก่ยี วกบั เรอื่ งที่กาลงั บรรยาย
2.2.2 มอบหมายชิ้นงานทงั้ งานเดยี่ ว และงานกลุม่ พรอ้ มทง้ั นาเสนอชิ้นงานหรือรายงาน
2.2.3 สาธิตการใช้งานโปรแกรมทางด้านคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ และมอบหมายงานให้ฝึก
ปฏิบตั ิ

2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1 ทดสอบก่อนและหลังเรียน ทดสอบย่อย (ภาคปฏิบัติและทฤษฎี) สอบกลางภาค สอบ
ปลายภาค
2.3.2 สังเกตพฤติกรรมการเรียน การฝึกปฏิบัติภายในห้อง และพฤติกรรมการมีส่วนร่วมใน
กจิ กรรมกล่มุ
2.3.3 ประเมินผลจากคะแนนสอบก่อนและหลังเรียน ทดสอบย่อย (ภาคปฏิบัติและทฤษฎี)
สอบกลางภาค สอบปลายภาค การฝึกปฏิบัติชิ้นงาน การทารายงานและการมีส่วนร่วม
ในการนาเสนอรายงานและอภปิ รายในช้ันเรยี น

3. ทกั ษะทางปญั ญา
1.1 ทกั ษะทางปัญญาทีต่ ้องการพฒั นา
1.1.1 พัฒนาความสามารถในการวางแผน การคดิ และการวิเคราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบ
1.1.2 สามารถระบุประเด็นปัญหา เสนอแนะแนวทางการดาเนินการอย่างเหมาะสมและ
สรา้ งสรรค์

6

1.1.3 สามารถประยุกตค์ วามรูท้ ่ไี ด้รับไปใช้กับโปรแกรมประยุกต์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟกิ ส์ได้
อย่างเหมาะสมและมปี ระสทิ ธิภาพ

3.2 วธิ ีการสอน
3.2.1 บรรยายหลักการ และทฤษฎีท่ีสาคัญเกี่ยวกับงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ และให้นักเรียน
มีส่วนร่วมในการเรียนโดยการตอบคาถามระหว่างการบรรยาย หรือแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นขณะบรรยายระหว่างอาจารย์ผู้สอน นักศึกษา และเพ่ือนนักศึกษาในช้ันเรียน
เก่ยี วกับเรือ่ งที่กาลังบรรยาย
3.2.2 ให้นักศึกษาลองวางแผน คิด และวิเคราะห์การดาเนินงานหรือข้ันตอนการทางานด้าน
คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ สอ์ ย่างเป็นระบบ
3.2.3 สาธิตวิธีการใช้โปรแกรมประยุกต์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก แล้วนามาประยุกต์เพ่ือใช้ใน
การสรา้ งชน้ิ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3.2.4 กาหนดโจทยแ์ ละให้นักศกึ ษาลองฝกึ ปฏิบัติงาน และแก้ปัญหาด้วยตนเองก่อนที่อาจารย์
จะเข้าไปชว่ ย

3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1 สอบปฏิบัติ สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการ
ประยกุ ต์ความรู้ในบทเรยี นทไี่ ด้ศกึ ษา
3.3.2 วดั ผลจากการประเมินชนิ้ งาน และการนาเสนอผลงาน
3.3.3 สงั เกตพฤตกิ รรมการแก้ปัญหา ระหว่างเรียน และในการสอบปฏบิ ตั ิ

4. ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ

4.1 ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรับผิดชอบทตี่ ้องการ
4.1.1 พัฒนาทกั ษะในการสรา้ งสัมพันธภาพระหว่างผเู้ รียนดว้ ยกัน
4.1.2 พฒั นาความเป็นผนู้ าและผตู้ ามในการทางานเปน็ ทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
กาหนดเวลา

4.2 วธิ กี ารสอน
4.2.1 จดั กิจกรรมกลุ่มในการสร้างชิ้นงานรว่ มกนั พรอ้ มทั้งการนาเสนอชิ้นงาน
4.2.2 กาหนดโจทย์ในการออกแบบชนิ้ งานและใหข้ อมูลจากผู้ท่เี กี่ยวข้องกบั ช้ินงานนน้ั ๆ
4.2.3 มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล รวมถึงการนาเสนอรายงาน

4.3 วิธีการประเมนิ ผล
4.3.1 ประเมนิ ตนเองและเพอ่ื นด้วยแบบฟอร์มทีก่ าหนด ขณะนาเสนอช้นิ งาน
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นาเสนอ พฤตกิ รรมการทางานเป็นทีม
4.3.3 ประเมนิ จากรายงานการค้นควา้ ดว้ ยตนเอง

7

4.3.4 คะแนนจากแบบทดสอบ
5. ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสารและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

5.1 ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสือ่ สารการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทตี่ อ้ งพัฒนา
5.1.1 ทักษะการคดิ คานวณเชิงตัวเลขที่เกีย่ วขอ้ งกบั หลกั การของการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
5.1.2 พฒั นาทกั ษะในการส่ือสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทารายงาน
และการนาเสนอในชัน้ เรยี น
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวเิ คราะหข์ อ้ มูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทกั ษะในการสบื ค้นข้อมูลทางอินเทอรเ์ นต็
5.1.5 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์ ส่ง
งานทางระบบ E-learning , Facebook
5.1.6 พัฒนาทักษะในการนาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เคร่ืองมือ และเทคโนโลยีท่ี
เหมาะสม
5.1.7 พฒั นาทกั ษะในการใช้งานโปรแกรมประยกุ ตด์ ้านคอมพวิ เตอรก์ ราฟิกส์

5.2 วธิ ีการสอน
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ส่ือการสอน E-Learning หรือ
คน้ คว้าดว้ ยตนเองจากเว็บไซต์ และทารายงาน โดยเน้นการนาตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง
จากแหล่งที่มาของข้อมูลทีน่ ่าเช่ือถือ
5.2.2 นาเสนอโดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูปในรปู แบบและเทคโนโลยที ี่เหมาะสม
5.2.3 ฝึกปฏบิ ัติการใชง้ านโปรแกรมประยกุ ตด์ า้ นคอมพิวเตอร์กราฟิกส์

5.3 วธิ ีการประเมินผล
5.3.1 ประเมินจากช้ินงานรายเดียวและกลุ่ม รายงาน และรูปแบบการนาเสนอด้วยสื่อ
เทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีสว่ นรว่ มในการอภปิ รายและวธิ ีการอภปิ ราย
5.3.3 สอบกลางภาค ปลายภาค และสอบปฏิบตั ิ

8

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมนิ ผล

1. แผนการสอน

สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กจิ กรรมการเรยี นการสอน / ส่อื ทีใ่ ช้ (ถา้ ม)ี ผสู้ อน
ที่ บทนา ชั่วโมง
1 แนะนาเบื้องต้นเกี่ยวกับรายวิชารวมถึง กิจกรรมการเรียนการสอน อาจารย์
กจิ กรรมตา่ งๆ 4 1. ช้ีแจงแนวการสอน รายละเอียดของ กนกวรรณ
2 บ ท ท่ี 1 ค ว า ม รู้ เ บ้ื อ ง ต้ น เ ก่ี ย ว กั บ รายวิชา ไทยประดษิ ฐ
คอมพวิ เตอร์กราฟกิ ส์ 4 2. ข้อตกลงเบ้ืองต้นในการเรียนและแนะนา
3 - ความหมายของคอมพวิ เตอรก์ ราฟิกส์ หนังสอื เพม่ิ เติม อาจารย์
- ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ 4 3. ทดสอบก่อนเรียน กนกวรรณ
กราฟกิ ส์ 4. แนะนาโปรแกรมใช้สาหรับการออกแบบ ไทยประดิษฐ
- ประเภทภาพกราฟิกส์ ด้านกราฟิก ได้แก่ Adobe Photoshop,
- การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในงาน Adobe Illustrator, Adobe InDesign อาจารย์
ดา้ นต่างๆ 5. เปิดโอกาสให้นักศึกษาอภิปรายและ กนกวรรณ
- อนาคตของคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ ซกั ถามในประเด็นท่ีสนใจ ไทยประดษิ ฐ
- สรุป สอื่ ทใ่ี ช้
1. เอกสารประกอบการสอน
บทท่ี 2 ภาพกราฟิก 2 มติ ิ และ 3 มติ ิ 2. Power point
- ความหมายของภาพกราฟกิ 3. สอ่ื Visualizer และ Projector
- ประเภทของภาพกราฟกิ 4. Facebook Group, e-learning
- ภาพบิตแมพ 5. ใบงานกจิ กรรม/แบบฝึกหัด
- ภาพเวกเตอร์ 6. แบบทดสอบก่อนเรยี น
- ความละเอยี ดของภาพ 7. โปรแกรม Adobe Photoshop, Adobe
- สรปุ Illustrator, Adobe InDesign

บทที่ 3 ความรู้เบ้ือต้นเกี่ยวกับการ กิจกรรมการเรียนการสอน
ออกแบบกราฟิก 1. เฉลยแบบฝกึ หัด
2. บรรยาย และถามตอบในชั้นเรยี น
3. แบบฝึกหดั ทบทวน
4. สาธติ การใชโ้ ปรแกรม Adobe
Photoshop CS6
5. ใหน้ กั ศกึ ษาฝึกปฏบิ ตั ติ ามใบงาน
6. เปดิ โอกาสให้นักศกึ ษาอภิปรายและ
ซักถามในประเดน็ ทีส่ นใจ
ส่อื ทีใ่ ช้
1. เอกสารประกอบการสอน
2. Power point
3. ส่อื Visualizer และ Projector
4. Facebook Group, e-learning
5. ใบงานกิจกรรม/แบบฝึกหดั
6. โปรแกรม Adobe Photoshop CS6

กจิ กรรมการเรียนการสอน
1. เฉลยแบบฝึกหัด

9

สปั ดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กจิ กรรมการเรยี นการสอน / สื่อท่ใี ช้ (ถ้าม)ี ผู้สอน
ท่ี - ความหมายของการออกแบบกราฟกิ ชั่วโมง
- หนา้ ทข่ี องกราฟิกดีไซน์ 2. บรรยาย และถามตอบในชั้นเรยี น อาจารย์
4 - บรรทัดฐานในการออกแบบกราฟกิ 4 3. แบบฝึกหดั ทบทวน กนกวรรณ
- กระบวนการออกแบบกราฟกิ 4. สาธิตการใช้โปรแกรม Adobe ไทยประดษิ ฐ
5 - กระบวนการคิดสร้างสรรคอ์ ย่างเป็นระบบ 4 Photoshop CS6
6 - การวเิ คราะหง์ านออกแบบ 4 5. ใหน้ ักศกึ ษาฝกึ ปฏิบตั ติ ามใบงาน อาจารย์
- การวางแผนการออกแบบ 6. เปดิ โอกาสให้นกั ศกึ ษาอภปิ รายและ กนกวรรณ
- การสร้างผลงานกราฟิก ซกั ถามในประเด็นท่สี นใจ ไทยประดิษฐ
- การนาเสนอผลงานกราฟกิ สอ่ื ทใ่ี ช้ อาจารย์
- สรุป 1. เอกสารประกอบการสอน กนกวรรณ
2. Power point ไทยประดษิ ฐ
บทที่ 4 องค์ประกอบในออกแบบงาน 3. สอ่ื Visualizer และ Projector
กราฟกิ 4. Facebook Group, e-learning
- จุด(Dot) 5. ใบงานกิจกรรม/แบบฝึกหดั
- เสน้ (Line) 6. โปรแกรม Adobe Photoshop CS6
- รูปร่าง รปู ทรง (Shape)
- ลักษณะพื้นผวิ (Texture) กจิ กรรมการเรยี นการสอน
- น้าหนกั อ่อน แก่ (Value/ Shading) 1. เฉลยแบบฝกึ หัด
- สรุป 2. บรรยาย และถามตอบในชน้ั เรยี น
3. แบบฝกึ หดั ทบทวน
สอบปฏิบตั กิ ารใช้โปรแกรม Adobe 4. สาธติ การใชโ้ ปรแกรม Adobe
Photoshop CS6 2 ชว่ั โมง Photoshop CS6
5. ใหน้ กั ศกึ ษาฝึกปฏิบัตติ ามใบงาน
บทที่ 5 สกี บั งานออกแบบงานกราฟกิ 6. เปิดโอกาสใหน้ กั ศกึ ษาอภปิ รายและ
- วงจรสี ซกั ถามในประเด็นทส่ี นใจ
- องค์ประกอบสี ส่ือทีใ่ ช้
- จติ วิทยาการใชส้ ี 1. เอกสารประกอบการสอน
- การวางโครงสี 2. Power point
- สรุป 3. สอื่ Visualizer และ Projector
4. Facebook Group, e-learning
5. ใบงานกิจกรรม/แบบฝึกหัด
6. โปรแกรม Adobe Photoshop CS6

กิจกรรมการเรียนการสอน
สอบปฏบิ ัติการใช้โปรแกรม
สอ่ื ที่ใช้
1. ขอ้ สอบปฏิบตั ิ
2. โปรแกรม Adobe Photoshop CS6

กจิ กรรมการเรยี นการสอน
1. เฉลยแบบฝกึ หดั
2. บรรยาย และถามตอบในชั้นเรยี น
3. แบบฝกึ หัดทบทวน
4. สาธติ การใช้โปรแกรม Adobe
Illustrator CS6

10

สปั ดาห์ หัวขอ้ /รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียนการสอน / ส่ือทีใ่ ช้ (ถา้ ม)ี ผู้สอน
ท่ี ชว่ั โมง
7 บทท่ี 6 หลักการออกแบบงานกราฟิก 5. ให้นักศึกษาฝึกปฏบิ ตั ติ ามใบงาน อาจารย์
- ความมสี มดุล (Balance) 4 6. เปดิ โอกาสให้นกั ศึกษาอภิปรายและ กนกวรรณ
8 - บรเิ วณวา่ ง (Space) ซกั ถามในประเด็นทส่ี นใจ ไทยประดษิ ฐ
- จังหวะ (Rhythm) 4 สอื่ ที่ใช้
9 - ขนาดและสดั ส่วน (Size & Property) 1. เอกสารประกอบการสอน อาจารย์
- ความแตกตา่ ง (Contrast) 4 2. Power point กนกวรรณ
- ความกลมกลืน (Harmony) 3. ส่อื Visualizer และ Projector ไทยประดษิ ฐ
- ความมีเอกภาพ (Unity) 4. Facebook Group, e-learning
- จดุ เด่น (Dominance) 5. ใบงานกิจกรรม/แบบฝกึ หัด อาจารย์
- เทคนิคในการออกแบบงานกราฟิก 6. โปรแกรม Adobe Illustrator CS6 กนกวรรณ
- สรุป ไทยประดิษฐ
กจิ กรรมการเรียนการสอน
การใช้โปรแกรม Adobe Illustrator CS6 1. เฉลยแบบฝึกหัด
เบอ้ื งต้น 2. บรรยาย และถามตอบในช้ันเรยี น
3. แบบฝึกหดั ทบทวน
บทที่ 7 ตัวอกั ษรในงานออกแบบกราฟิก 4. สาธติ การใชโ้ ปรแกรม Adobe
- ชนิดของตัวอักษร Illustrator CS6
5. ใหน้ ักศึกษาฝกึ ปฏบิ ัตติ ามใบงาน
6. เปดิ โอกาสใหน้ ักศกึ ษาอภิปรายและ
ซักถามในประเดน็ ที่สนใจ
สอื่ ท่ใี ช้
1. เอกสารประกอบการสอน
2. Power point
3. สือ่ Visualizer และ Projector
4. Facebook Group, e-learning
5. ใบงานกิจกรรม/แบบฝกึ หัด
6. โปรแกรม Adobe Illustrator CS6

กจิ กรรมการเรียนการสอน
1. สาธติ การใช้โปรแกรม Adobe
Illustrator CS6
2. ให้นกั ศกึ ษาฝึกปฏิบัตติ ามใบงาน
3. เปิดโอกาสใหน้ ักศกึ ษาอภิปรายและ
ซกั ถามในประเด็นท่ีสนใจ
สือ่ ทใ่ี ช้
1. เอกสารประกอบการสอน
2. Power point
3. ส่ือ Visualizer และ Projector
4. Facebook Group, e-learning
5. ใบงานกิจกรรม/แบบฝึกหัด
6. โปรแกรม Adobe Illustrator CS6

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เฉลยแบบฝึกหัด

11

สัปดาห์ หวั ขอ้ /รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียนการสอน / สื่อที่ใช้ (ถ้าม)ี ผู้สอน
ท่ี - สกลุ ของตวั พิมพ์ ชว่ั โมง
- ขนาดของตัวอักษร 2. บรรยาย และถามตอบในช้ันเรยี น อาจารย์
10 - การจดั วางตวั อักษร 3 3. แบบฝึกหดั ทบทวน กนกวรรณ
11 - การนาตัวอักษรมาใชใ้ นงานออกแบบ 3 4. สาธติ การใช้โปรแกรม Adobe ไทยประดษิ ฐ
- สรุป Illustrator CS6 อาจารย์
12 4 5. ให้นักศึกษาฝกึ ปฏบิ ัตติ ามใบงาน กนกวรรณ
สอบ ปฏิ บัติก ารใช้โปรแกรม Adobe 6. เปิดโอกาสให้นักศกึ ษาอภปิ รายและ ไทยประดษิ ฐ
Illustrator CS6 ซกั ถามในประเดน็ ท่ีสนใจ
สื่อทใ่ี ช้ อาจารย์
บทท่ี 8 การออกแบบตราสัญลกั ษณ์ 1. เอกสารประกอบการสอน กนกวรรณ
- ชนดิ ของภาพสัญลักษณ์ 2. Power point ไทยประดิษฐ
- คุณสมบัติของสญั ลักษณท์ ่ีดี 3. สอ่ื Visualizer และ Projector
- หลักในการออกแบบตราสัญลกั ษณ์ 4. Facebook Group, e-learning
- สรปุ 5. ใบงานกจิ กรรม/แบบฝกึ หดั
6. โปรแกรม Adobe Illustrator CS6
บทท่ี 9 Hardware และ Software
สาหรับงานกราฟกิ กจิ กรรมการเรียนการสอน
- คอมพิวเตอร์ และ Hardware ที่เหมาะกับ สอบปฏิบัตกิ ารใช้โปรแกรม
งานกราฟิก ส่อื ท่ีใช้
- อุปกรณ์ต่อพ่วงสาหรับงานกราฟิก 2 มิติ 1. ขอ้ สอบปฏิบัติ
และ 3 มิติ 2. โปรแกรม Adobe Illustrator CS6

กิจกรรมการเรยี นการสอน
1. เฉลยแบบฝกึ หดั
2. บรรยาย และถามตอบในชั้นเรยี น
3. แบบฝึกหดั ทบทวน
4. สาธติ การใชโ้ ปรแกรม Adobe InDesign
CS6
5. ให้นกั ศกึ ษาฝึกปฏบิ ัตติ ามใบงาน
6. เปิดโอกาสใหน้ ักศกึ ษาอภิปรายและ
ซกั ถามในประเดน็ ท่สี นใจ
สอ่ื ที่ใช้
1. เอกสารประกอบการสอน
2. Power point
3. สือ่ Visualizer และ Projector
4. Facebook Group, e-learning
5. ใบงานกิจกรรม/แบบฝึกหดั

6. โปรแกรม Adobe InDesign CS6

กิจกรรมการเรยี นการสอน
1. เฉลยแบบฝกึ หดั
2. บรรยาย และถามตอบในชัน้ เรยี น
3. แบบฝึกหัดทบทวน
4. สาธติ การใช้โปรแกรม Adobe InDesign
CS6

12

สัปดาห์ หวั ข้อ/รายละเอยี ด จานวน กิจกรรมการเรยี นการสอน / ส่อื ทีใ่ ช้ (ถ้าม)ี ผสู้ อน
ท่ี - Software สาหรับงานกราฟิก 2 มิติ ชั่วโมง
13 - Software สาหรบั งานกราฟิก 3 มติ ิ 5. ให้นักศึกษาฝึกปฏบิ ัตติ ามใบงาน อาจารย์
- สรปุ 4 6. เปดิ โอกาสให้นักศึกษาอภปิ รายและ กนกวรรณ
14 ซกั ถามในประเดน็ ที่สนใจ ไทยประดิษฐ
การใช้โปรแกรม Adobe InDesign CS6 4 ส่อื ที่ใช้
15 เบ้อื งตน้ 1. เอกสารประกอบการสอน อาจารย์
4 2. Power point กนกวรรณ
บทท่ี 10 งานออกแบบกราฟิกกบั งานอืน่ 3. สอ่ื Visualizer และ Projector ไทยประดิษฐ
- งานออกแบบส่ือสิง่ พิมพ์ 4. Facebook Group, e-learning
- งานออกแบบตัวอกั ษร 5. ใบงานกจิ กรรม/แบบฝกึ หัด อาจารย์
- อินฟอร์เมชันดไี ซน์ 6. โปรแกรม Adobe InDesign CS6 กนกวรรณ
- งานอนิ เทอรแ์ อ็คทฟี กราฟกิ ไทยประดิษฐ
- งานออกแบบเว็บไซต์ กจิ กรรมการเรียนการสอน
- งานออกแบบมัลติมีเดีย 1. สาธิตการใชโ้ ปรแกรม Adobe InDesign
- งานโฆษณา CS6
- งานภาพยนตร์ 2. ให้นกั ศึกษาฝกึ ปฏบิ ัตติ ามใบงาน
- สรุป 3. เปดิ โอกาสให้นกั ศกึ ษาอภปิ รายและ
ซกั ถามในประเด็นที่สนใจ
สอบปฏิบัติการใชโ้ ปรแกรม Adobe ส่ือทีใ่ ช้
InDesign CS6 1. เอกสารประกอบการสอน
2. Power point
3. ส่อื Visualizer และ Projector
4. Facebook Group, e-learning
5. ใบงานกจิ กรรม/แบบฝึกหัด
6. โปรแกรม Adobe InDesign CS6

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เฉลยแบบฝึกหัด
2. บรรยาย และถามตอบในช้นั เรยี น
3. แบบฝกึ หดั ทบทวน
4. สาธิตการใชโ้ ปรแกรม Adobe InDesign
CS6
5. ใหน้ กั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ัตติ ามใบงาน
6. เปดิ โอกาสให้นกั ศกึ ษาอภปิ รายและ
ซกั ถามในประเดน็ ท่ีสนใจ
ส่อื ทใ่ี ช้
1. เอกสารประกอบการสอน
2. Power point
3. สอ่ื Visualizer และ Projector
4. Facebook Group, e-learning
5. ใบงานกจิ กรรม/แบบฝกึ หัด
6. โปรแกรม Adobe InDesign CS6

กจิ กรรมการเรียนการสอน
สอบปฏิบตั ิการใชโ้ ปรแกรม

13

สปั ดาห์ หวั ขอ้ /รายละเอยี ด จานวน กจิ กรรมการเรียนการสอน / ส่อื ทใี่ ช้ (ถ้าม)ี ผู้สอน
ที่ ชั่วโมง

สือ่ ท่ีใช้

1. ข้อสอบปฏบิ ตั ิ

2. โปรแกรม Adobe InDesign CS6

สอบปลายภาค

2. แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

กิจกรรม ผลการเรยี นรู้ วธิ ีการประเมนิ สัปดาห์ที่ สดั ส่วนของการ
ท่ี ประเมิน ประเมนิ ผล
การมวี ินยั /การตรงตอ่ เวลา/การเข้าชัน้ 10 %
1 คะแนนจิตพิสัยและการเข้าร่วม เรียน/การแต่งกาย/ความรบั ผดิ ชอบ ทกุ สปั ดาห์
กจิ กรรม 10%
แบบฝกึ หัดทา้ ยบท+ชนิ้ งาน ทุกสปั ดาห์ 30%
2 การทาแบบฝกึ หดั และชิน้ งาน ปฏิบตั ิ 5,10,15 20%
ทดสอบ 30%
3 การทดสอบปฏิบัติระหว่างเรยี น ทดสอบ 8
16
4 สอบกลางภาคเรยี น

5 สอบปลายภาคเรียน

หมวดท่ี 6 ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน

1. เอกสารและตาราหลัก
ปาพจน์ หนนุ ภักด.ี (2553). หลักการและกระบวนการออกแบบ (Graphic Design Principles).

นนทบรุ :ี ไอดซี ี

2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 4122603 คอมพวิ เตอร์กราฟิก โดย อาจารย์กนกวรรณ ไทย

ประดษิ ฐ

3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
ไพศาล โมลสิ กุลมงคล. (2550). คอมพิวเตอรก์ ราฟิกส.์ กรงุ เทพมหานคร: ดวงกมลสมยั .
ปิยะบุตร สุทธิดารา และอนัน วาโซะ. (2553). เรียนรู้การทางานกราฟิกดีไซน์สิ่งพิมพ์แบบมืออาชีพ

(Graphic Design Artwork Photoshop + Illustrator). นนทบุร:ี ไอดซี ี พรีเมียร์.วรพงศ์ วรชาติ
อุดมพงศ์. (2535). ออกแบบกราฟิค. กรงุ เทพมหานคร: สานกั พมิ พ์ศลิ ปาบรรณาคาร.
โสรชัย นันทวัชรวิบูลบ์. (2545). Be Graphic สู้เส้นทางกราฟิกดีไซเนอร์. กรุงเทพมหานคร: เอง อาร์ง อิน

ฟอร์เมชนั แอนด์ พบั ลิเคชัน.
ทวศี กั ด์ิ กาญจนสุวรรณ. (2552). เทคโนโลยีมลั ตมิ เี ดีย. กรุงเทพมหานคร: เคทีพี คอมพ์ แอนด์คอนซลั ท์.
แม็คเวด จอห์น. (2556). Before & After. How to design cool stuff. กรุงเทพมหานคร: ทรู ดิจิตอล

คอนเทน้ ท์ แอนด์ มเี ดีย.
สืบศิริ แซ่ลี้ และพงศ์พิพัฒน์ สายทอง. (2554). พื้นฐานการออกแบบ. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม.

14

ศักดชิ์ ัย เกยี รตนิ าคนิ ทร์. (2553). หลักการออกแบบศิลปะ Principle of Design. กรงุ เทพฯ : ไว้ลาย.
ธนัชสร จติ เนื่อง. (2556). คู่มอื ใช้งาน InDesign CS6. กรุงเทพมหานคร: สวสั ดีไอที
ธนชั สร จิตเนื่อง. (2554). Illustrator CS5. กรุงเทพมหานคร: สวัสดไี อที

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนนิ การของรายวชิ า

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธผิ ลของรายวิชาโดยนักศกึ ษา
1) การสนทนากลุ่มระหวา่ งผ้สู อนและผเู้ รยี น
2) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมนิ รายวิชา
3) ขอ้ เสนอแนะผา่ นระบบอเี ลริ ์นน่งิ ท่ีอาจารยจ์ ดั ทาเปน็ ช่องทางการส่อื สารกบั นกั ศกึ ษา

2. กลยุทธก์ ารประเมนิ การสอน
ในการเก็บข้อมลู เพ่ือประเมนิ การสอน ได้มีกลยทุ ธด์ งั นี้
1) การสังเกตการณ์สอนของผสู้ อน
2) ผลการเรียนของนักศึกษา
3) การทวนสอบผลการประเมินการเรยี นรู้

3. การปรบั ปรงุ การสอน
หลังจากผลการประเมนิ การสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรงุ การสอนโดยการจดั กิจกรรมในการระดม

สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรบั ปรงุ การสอนดงั นี้
1) สมั มนาการจดั การเรยี นการสอน
2) การวิจยั ในและนอกช้ันเรียน

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิข์ องนักศกึ ษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มกี ารทวนสอบผลสัมฤทธ์ใิ นรายหัวขอ้ ตามที่คาดหวังจากการ

เรยี นรใู้ นวชิ า ไดจ้ ากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศกึ ษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ
ทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิโดยรวมในวิชาได้ดังน้ี

1) การวิเคราะห์ผลการเรยี นดว้ ยหลกั สถิตทิ างมาตรฐานการศึกษา
2) การใช้แบบประเมนิ เพอ่ื ทวนสอบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนกับนักศึกษา
3) การใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นของนักศึกษา

5. การดาเนินการทวนสอบและการวางแผนปรบั ปรงุ ประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธปิ์ ระสิทธิผลรายวชิ า ไดม้ กี ารวางแผนปรบั ปรุงการสอน

และรายละเอยี ดวิชา เพื่อใหเ้ กดิ คุณภาพมากขน้ึ ดังนี้
1) จะมกี ารปรบั ปรุงรายวชิ าเพื่อใหส้ อดคล้องเนอื้ หาสาระของรายวิชาตามความเหมาะสม
2) จะมกี ารปรับปรงุ รายวิชาให้สอนคลอ้ งกับกลุ่มผูเ้ รียนโดยเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
3) จะมกี ารปรับปรุงรายวชิ าโดยใหส้ อดคลอ้ งกับเทคโนโลยีดา้ นคอมพวิ เตอร์กราฟิกในปัจจบุ ันทมี่ ีการ
พัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่อง

15


Click to View FlipBook Version