The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปรีชา พรามณีโชติ, 2019-06-04 03:56:11

บทที่ 2 อิทธิพลของสภาพแวดล้อมในการผลิตสัตว์

หน่วยที่ 2

หน่วยที่ 2

อิทธิพลของสภาพแวดลอ้ มในการผลติ สตั ว์

ปรีชา พรามณีโชติ

เอกสารประกอบการสอน 10 วชิ าการจดั การสงิ่ แวดล้อมในฟาร์มสัตว์เล้ียง

บทที่ 2
อทิ ธิพลของสภาพแวดล้อมในการผลติ สัตว์

สภาพสิ่งแวดลอ้ มครอบคลุมปัจจยั ตา่ ง ๆ ท่ีอยรู่ อบตวั สตั ว์ ประกอบดว้ ย พ้ืนดิน แหล่งน้า

ภูมิอากาศ แรงลม โรงเรือน ที่อยูอ่ าศยั แปลงหญา้ ตลอดจนระบบหรือวิธีการจดั การเล้ียงสัตว์

สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการเล้ียงสัตว์ อย่างมาก ถึงแมส้ ัตวจ์ ะมีพนั ธุกรรมดี แต่ถา้ หากจดั การ

ส่ิงแวดลอ้ มไมด่ ี ก็มีผลตอ่ การดารงชีวติ และการใหผ้ ลผลิตของสัตวไ์ ด้

สภาพแวดลอ้ มมีบทบาทและความสาคญั ตอ่ การเล้ียงสตั วม์ าก ท้งั น้ีเพราะเม่ือคนนาสตั ว์ มา

เล้ียงก็เท่ากบั เป็ นการเปลี่ยนสภาพแวดลอ้ มของสัตว์ จากสภาพธรรมชาติมาอยใู่ นสภาพใหม่ที่คน

จดั ให้ การที่สัตวอ์ ยใู่ นสภาพแวดลอ้ มท่ีผดิ จากเดิม อาจเกิดท้งั ผลดีและผลเสีย องคป์ ระกอบของ

ส่ิงแวดลอ้ มท้งั หลาย อาจจะสนบั สนุนส่งเสริม หรือทาให้สัตวอ์ ่อนแอลง โดยการส่งเสริมหรือ

ก่อใหเ้ กิดหรือยบั ย้งั ขบวนการผลิตและการสืบพนั ธุ์ของสตั ว์ ยง่ิ มีการเล้ียงสตั วใ์ นปริมาณมากเป็ น

ระบบอุตสาหกรรม ย่ิงตอ้ งให้ความสาคญั ของการจดั การท่ีเก่ียวขอ้ งกบั สิ่งแวดลอ้ มรอบตวั สัตว์

มากข้ึน แต่ส่ิงแวดลอ้ มในการผลิตสัตวแ์ ต่ละชนิดมีความสลบั ซับซ้อนและมีคุณลกั ษณะพิเศษ

ดงั น้นั การศึกษาเกี่ยวกบั ส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั สัตว์ จะตอ้ งศึกษาปัญหาที่เกิดข้ึนกบั สัตวแ์ ต่ละชนิด

สภาพแวดลอ้ ม ท่ีเก่ียวของกบั การเล้ียงสัตว์

การจดั การเกี่ยวกบั สิ่งแวดลอ้ มที่มีผลต่อการเล้ียงสัตว์ ท้งั สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพ ทาง

ชีวภาพ ทางเคมี และส่ิงแวดลอ้ มท่ีเกิดจากการจดั การเล้ียงดู สิ่งแวดลอ้ มเหล่าน้ี มีอิทธิพลต่อตวั

สตั ว์ ไมท่ างตรงก็ทางออ้ ม

สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพ รวมท้งั ที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติ ไดแ้ ก่ สภาพภูมิอากาศ รอบ ๆ ตวั

สัตว์ และส่ิงแวดลอ้ มที่มนุษยส์ ร้างข้ึน ไดแ้ ก่ โรงเรือน แปลงหญา้ ซ่ึงมนุษยอ์ าจตดั สินใจดดั แปลง

สภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมท่ีสัตวส์ ามารถมีชีวติ และให้ผลผลิตได้ ตามสภาพภูมิอากาศที่

เปล่ียนแปลงไปกไ็ ด้ แสดงในรูปที่ 2.1

1. อทิ ธิพลของสภาพภูมิอากาศต่อการเลยี้ งสัตว์

สภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย อุณหภูมิ ความช้ืน ปริมาณฝนตก กระแสลม
แสงแดด และแสงสว่าง สภาพภูมิอากาศจะผนั แปรไม่แน่นอน เน่ืองมาจากท่ีต้งั ลักษณะภูมิ
ประเทศ ลกั ษณะดิน กระแสน้าในมหาสมุทร ตลอดจนพชื พรรณตา่ ง ๆ ภูมิอากาศเป็นปัจจยั ท่ี
มีอิทธิพลต่อสัตวท์ ้งั ทางตรงและทางออ้ ม สาหรับประเทศไทยซ่ึงอยูใ่ นเขตร้อนช้ืนน้นั อุณหภูมิท่ี
สูงและความช้ืนมีอิทธิพลอยา่ งมากต่อความเป็ นอยขู่ องสตั ว์ โดยอิทธิพลดงั กล่าวแยกได้ 2 ประการ

เอกสารประกอบการสอน 11 วิชาการจัดการส่ิงแวดลอ้ มในฟาร์มสัตว์เล้ยี ง

คือ อิทธิพลโดยตรงต่อตวั สัตว์ เช่น ทาใหส้ ัตวม์ ีรูปร่างเล็ก และมีลกั ษณะรูปร่างไม่ค่อยแตกต่าง
กนั มากนกั เหตุน้ีจึงทาให้พนั ธุ์สัตวใ์ นเขตร้อนมีไม่มากเหมือนในเขตอบอุ่น และ อิทธิพลโดย
ออ้ ม เช่น การปลูกพชื ท่ีใชเ้ ล้ียงสตั ว์ การเจริญของเช้ือโรคและพยาธิท่ีมีผลตอ่ สุขภาพสตั ว์

ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ สภาพภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อมทางเคมี

 รูปแบบโรงเรือน  อณุ หภมู ิ  แก๊ส
 พ้ืนคอก  ความช้ืน  มลู สตั วบ์ นพ้ืน
 ระบบการใหอ้ าหาร  ความเร็วลม
 การจดั การแปลงหญา้  ฝ่ นุ ละออง การจัดการเลยี้ งดู
 ระบบจดั เก็บมูล
 การจดั การรีดนม ตวั สัตว์  การดูแลเอาใจใส่
 การผกู ล่าม  คนเล้ียงสตั ว์
อาหารสัตว์  เทคนิคการรีดนม
ส่ิงแวดล้อมทางชีวภาพ  ระบบการเล้ียงสตั ว์
 ปริมาณอาหาร  เสียงรบกวน
 จุลินทรียท์ ี่ปนเป้ื อนใน  คุณภาพอาหาร  สตั วอ์ ื่น ๆ
อาหาร น้าด่ืม วสั ดุรองพ้ืน  วธิ ีการใหอ้ าหาร  จานวนสตั วต์ ่อพ้นื ที่
อากาศ เครื่องมือและ  น้าด่ืมสาหรับสตั ว์
อุปกรณ์เล้ียงสตั ว์

รูปที่ 2.1 สิ่งแวดลอ้ ม ท่ีเกี่ยวขอ้ งและมีผลกระทบต่อการเล้ียงสตั ว์ (Blom, 1992)

1.1 อุณหภูมิ สัตวแ์ ต่ละชนิดจะมีช่วงอุณหภูมิท่ีเหมาะสม และสามารถให้ผลผลิตไดด้ ี
แตกตา่ งกนั ไป ช่วงอุณหภูมิที่สัตวอ์ ยอู่ ยา่ งสบาย เป็นช่วงอุณหภูมิที่ไม่ร้อนและไม่เยน็ มากเกินไป
(thermoneutral zone) จะเป็ นช่วงอุณหภูมิท่ีสัตวม์ ีการสูญเสียพลังงานต่าท่ีสุด เพราะไม่ต้องใช้
พลงั งานเพ่ือการระบายความร้อนหรือสร้างความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย เมื่ออุณหภูมิสูงหรือต่าเกิน
กวา่ ที่สัตวจ์ ะรักษาอุณหภูมิร่างกายให้คงที่ได้ สัตวจ์ ะอยใู่ นสภาพท่ีเรียกวา่ เกิดความเครียด (stress)
เม่ืออุณหภูมิสภาพแวดลอ้ มสูงกว่าช่วงอุณหภูมิที่สัตวอ์ ยูส่ บาย ในทางตรงกนั ขา้ ม เม่ืออุณหภูมิ
สภาพแวดลอ้ มต่ากวา่ ช่วงอุณหภูมิที่สัตวอ์ ยสู่ บาย โดยสังเกตไดจ้ ากอาการส่ันเพื่อเพ่ิมความอบอุ่น
ใหแ้ ก่ร่างกาย ซ่ึงสภาพน้ีตอ้ งใชพ้ ลงั งานจึงมีการเผาผลาญอาหารมากข้ึนเพ่ือให้ไดพ้ ลงั งานเพียงพอ

เอกสารประกอบการสอน 12 วิชาการจดั การส่งิ แวดลอ้ มในฟาร์มสัตวเ์ ล้ยี ง

ในการรักษาอุณหภูมิร่างกาย ในสภาพน้ีสัตวจ์ ะอยูใ่ นภาวะความเครียดเนื่องจากความหนาวเย็น
(cold stress)

รูปท่ี 2.2 แสดงช่วงสภาพอุณหภูมิสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมและการแสดงออกของสัตวเ์ มื่อ
อุณหภูมิสภาพแวดลอ้ มสูงหรือต่ามากเกินไป (Yosef, 1984)

จากรูปท่ี 2.2 ช่วง BC เป็ นช่วงอุณหภูมิท่ีเหมาะสมสัตว์อยู่อย่างสบาย ทาให้สัตว์มี
สุขภาพแขง็ แรงสมบูรณ์ มีอตั ราการเจริญเติบโตสูงสุด จุด A และ D คือ จุดวิกฤติที่อุณหภูมิของ
สภาพแวดลอ้ มต่าสุด และสูงสุด ตามลาดบั ช่วง AD ช่วงท่ีสตั วอ์ ยไู่ ดแ้ ละยงั คงรักษาสภาวะสมดุล
ของอุณหภูมิร่างกายเป็ นปกติ เมื่ออุณหภูมิแวดล้อมต่ากว่าจุดวิกฤตต่าสุด (lower critical
temperature : LCT ) ทาให้สัตวต์ อ้ งเพิ่มอตั ราการผลิตความร้อนหรือเผาผลาญอาหารมากข้ึน เพ่ือ
สร้างความอบอุ่นใหแ้ ก่ร่างกายหรือสัตวพ์ ยายามรักษาอุณหภูมิของร่างกายใหค้ งที่ ในสภาพน้ีสัตว์
จะอยู่ในภาวะความเครียดเน่ืองจากความหนาวเยน็ (cold stress) เม่ือสัตวอ์ ยู่ในสภาพอากาศเยน็
นาน ๆ และอุณหภูมิแวดลอ้ มต่าเกินไป จนกลไกควบคุมความร้อนของร่างกาย ไม่สามารถรักษา
อุณหภูมิภายในร่างกายใหค้ งที่ได้ และอุณหภูมิภายในร่างกายเร่ิมลดลงเรื่อย ๆ จนในท่ีสุดสัตวก์ ็จะ
ตายเนื่องจากความเย็นจดั ได้ (Hypothermia) ในทางตรงกนั ขา้ มเมื่ออุณหภูมิแวดลอ้ มสูงกว่าจุด
วิกฤตสูงสุด (upper critical temperature : UCT ) ทาให้สัตวร์ ะบายความร้อนออกจากร่างกาย โดย

เอกสารประกอบการสอน 13 วิชาการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มในฟาร์มสัตวเ์ ลี้ยง

การเพิ่มอตั ราการระเหยความร้อนออกจากร่างกาย (Evaporative Heat Loss) สัตวจ์ ะเกิดอาการหอบ
กินอาหารลดลง และด่ืมน้ามากข้ึนเพ่ือช่วยลดความร้อนในร่างกาย ในสภาพน้ีสัตวจ์ ะอยูใ่ นภาวะ
ความเครียดเน่ืองจากความร้อน (heat stress) และเมื่อกลไกการควบคุมความร้อนของร่างกายไม่
สามารถควบคุมอุณหภูมิภายในร่างกาย (Core Temperature) ให้คงท่ีได้ หรือถึงจุดสูงสุดจนไม่
สามารถระบายความร้อนออกจากร่างกายไดแ้ ลว้ (รูปที่ 2.3) อุณหภูมิภายในของร่างกายจะเพ่ิม
สูงข้ึนเร่ือยๆ ทาให้ร่างกายสูญเสียความสามารถในการควบคุมอุณหภูมิ อาจทาใหเ้ กิดการเจ็บป่ วย
เนื่องจากความเหน็ดเหนื่อยอ่อนเพลีย หรือความเจ็บป่ วยรุนแรง และในท่ีสุด สัตวก์ ็จะตายเน่ืองจาก
อากาศร้อนจดั ได้ (Hyperthermia)

รูปที่ 2.3 แสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งอุณหภูมิรอบตวั สัตว์ อุณหภูมิในร่างกายและกลไกควบคุม
ความร้อนของร่างกาย (Yousef, 1984)

โดยทว่ั ไปอุณหภูมิท่ีมนุษยอ์ ยู่อย่างสุขสบายท่ีสุดระหวา่ ง 70 – 75 องศาฟาเรนไฮท์(๐ฟ.)
ถา้ อุณหภูมิต่ากวา่ น้ีถือไดว้ า่ หนาว และสูงกวา่ น้ีถือวา่ ร้อนเกินไป ซ่ึงเป็ นท่ีน่าสังเกตวา่ สัตวเ์ ล้ียง
ทว่ั ไป ก็สามารถที่จะอยไู่ ดอ้ ยา่ งปกติสุข ในอุณหภูมิท่ีมีขนาดใกลเ้ คียงกบั ที่มนุษยต์ อ้ งการ ถา้
อุณหภูมิของอากาศต่ากวา่ อุณหภูมิของร่างกายมาก ความร้อนท่ีเกิดข้ึนในร่างกาย ก็ระบายออกได้
รวดเร็ว แต่ถา้ ความร้อนของร่างกายระบายออกเร็วกวา่ ความร้อนท่ีเกิดข้ึนภายในร่างกาย สัตวก์ ็
รู้สึกหนาว ถา้ ความร้อนในร่างกายระบายสู่อากาศชา้ เพราะอุณหภูมิของอากาศสูง สัตวจ์ ะรู้สึก

เอกสารประกอบการสอน 14 วชิ าการจดั การส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสัตวเ์ ลี้ยง

ร้อน อากาศท้งั ร้อนและหนาวจนเกินไป จะทาใหส้ ตั วไ์ มส่ บาย เป็นไขไ้ ด้ สาเหตุท่ีสัตวเ์ ป็ นไข้
ก็เพราะถา้ อุณหภูมิในอากาศต่าลง ร่างกายก็จะตอ้ งเร่งผลิตพลงั งานความร้อนออกมาให้พอที่จะ
รักษาอุณหภูมิร่างกายใหเ้ ป็นปกติ และในทานองกลบั กนั ถา้ อุณหภูมิในอากาศสูงข้ึนสัตวก์ ็จะเร่ง
ถ่ายเทความร้อนที่เกินพอออกจากร่างกาย มิฉะน้นั อุณหภูมิของร่างกายจะสูงข้ึนและสัตวม์ ีอาการ
เป็นไขเ้ ช่นเดียวกนั (อุณหภูมิร่างกายของคน 98 ๐ฟ. โค 101 ๐ฟ. และไก่ 105 ๐ฟ. )

โดยทวั่ ไปอุณหภูมิของอากาศในประเทศไทยอยใู่ นเกณฑ์เฉลี่ยระหวา่ ง 25 – 28 ๐ซ. อากาศ
ในภาคเหนือจะเยน็ กวา่ ภาคกลางเล็กนอ้ ย สาหรับอากาศในภาคใตค้ ่อนขา้ งสบาย สม่าเสมอตลอดปี
ส่วนในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ในฤดูร้อนอากาศแห้งแลง้ และอุณหภูมิค่อนขา้ งสูง สัตวแ์ ต่ละ
ชนิดอุณหภูมิของอากาศที่สัตวอ์ ยู่อยา่ งสบาย จะแตกต่างกนั ออกไป เช่น โคในเขตร้อนอุณหภูมิที่
เหมาะสมจะอยใู่ นช่วง 15 – 27 ๐ซ. สุกรจะมีอตั ราการเจริญเติบโตดีที่สุด เม่ือเล้ียงในอุณหภูมิของ
อากาศประมาณ 24 ๐ซ. เป็นตน้ แตโ่ ดยเฉลี่ยอุณหภูมิของอากาศท่ีเหมาะสมแก่การเจริญเติบโตของ
สัตวท์ ว่ั ๆ ไป คือประมาณ 25 ๐ซ. โดยมีช่วงอุณหภูมิระหว่าง 15 – 35 ๐ซ. ดงั น้นั หากอุณหภูมิ
ของอากาศรอบ ๆ ตวั สัตวส์ ูงหรือต่ากวา่ อุณหภูมิของอากาศท่ีเหมาะสมต่อสตั วแ์ ต่ละชนิด จะมีผล
ทาให้ประสิทธิภาพในการผลิตของสตั ว์ เช่น อตั ราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใชอ้ าหาร
ผลผลิตไข่หรือน้านมต่าลง นอกจากน้นั ในสภาพอุณหภูมิสูงจะมีผลกระทบทางออ้ ม โดยเป็ น
สาเหตุใหอ้ าหารสตั วเ์ ส่ือมคุณภาพหรือเสียหายได้ เช่น วติ ามินบางชนิดสลายตวั เป็นตน้

สตั วอ์ ายนุ อ้ ย ๆ โดยเฉพาะหลงั เกิดใหม่ ๆ ตอ้ งการอุณหภูมิสูงในช่วงเวลาหน่ึง ดงั น้นั ผู้
เล้ียงจึงควรดูแลจดั การสิ่งแวดลอ้ มให้เป็ นไปตามท่ีสัตวต์ อ้ งการ เช่น ลูกสุกรควรกกโดยใช้หลอด
ไฟฟ้าหรือเคร่ืองกกในช่วง 5 วนั แรก หรืออาจจดั การคอกคลอดให้ป้องกนั ลมโกรกได้ แลว้ ใชข้ ้ี
เล่ือยหรือกระสอบป่ านให้ลูกสุกรนอนก็ได้ สาหรับในโค แพะ แกะ อาจใชฟ้ างแหง้ หรือกระสอบ
ป่ านปูพ้ืนคอกคลอดใหล้ ูกสตั วน์ อน

เม่ือสัตวเ์ ติบโตข้ึน สัตวต์ อ้ งการอุณหภูมิที่ต่าลง โดยทว่ั ๆ ไป อุณหภูมิหอ้ งปกติเป็ นช่วง
อุณหภูมิท่ีเหมาะสมกบั สัตว์ (ตารางท่ี 2.1) ถา้ หากอุณหภูมิของอากาศสูงเกินกวา่ ช่วงท่ีสัตวจ์ ะอยู่
อยา่ งสบาย สตั วจ์ ะแสดงอาการตอบสนอง โดยพบอาการ ดงั น้ี (สุรพล, 2537)

(1) มีการขบั เหง่ือออกมากข้ึน เพ่อื เพิม่ การระบายความร้อนทางผวิ หนงั
(2) หายใจหอบและถี่ข้ึน โดยเฉพาะสัตวท์ ี่ไมม่ ีตอ่ มเหง่ือหรือต่อมเหง่ือนอ้ ย เช่น ไก่ สุกร
และโค
(3) กินน้ามากข้ึน แต่กินอาหารลดลง ซ่ึงแสดงออกโดยการกินน้าบ่อย และเบ่ืออาหาร
(4) ซึม และพยายามไม่เคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อลดการเผาผลาญอาหารใหเ้ กิดความร้อน

เอกสารประกอบการสอน 15 วิชาการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มในฟาร์มสตั วเ์ ลีย้ ง

ผลที่ตามมาคือ สัตวจ์ ะแสดงอาการเครียด ซึม ถา้ เป็ นสัตวท์ ี่เล้ียงไวใ้ นแปลงหญา้ จะหยดุ
กินหญา้ และหาที่มีร่มเงาเพือ่ พกั ผอ่ น สุขภาพจะอ่อนแอลง เนื่องจากกินอาหารลดลง สัตวท์ ่ีเครียด
เนื่องจากอากาศร้อนมีความตอ้ งการเกลือแร่และวติ ามินสูงกวา่ สตั วป์ กติ ประมาณ 10-15 เปอร์เซ็นต์
ดงั น้นั การให้สารละลายเกลือแร่และวิตามิน โดยเฉพาะวิตามินซีให้กบั สัตวใ์ นสภาพน้ี จะช่วยลด
อนั ตรายลงไดม้ าก

(5) สัตวท์ ่ีถูกเล้ียงในสภาพอากาศร้อนจะเจริญเติบโตชา้ กวา่ รูปร่างเล็กกวา่ เนื่องจากสัตว์
กินอาหารนอ้ ยลงทาใหไ้ ดร้ ับสารอาหารไมเ่ พยี งพอ นอกจากน้ีพืชอาหารสัตวแ์ ละวตั ถุดิบอาหารที่
ไดจ้ าการผลิตในสภาพอากาศร้อน จะมีคุณค่าทางอาหารต่า แตม่ ีเยอ่ื ใยสูง

(6) มีผลต่อการสืบพนั ธุ์ อุณหภูมิของอากาศที่สูงมาก มีผลเสียต่อความตอ้ งการผสมพนั ธุ์
ของสตั ว์ คุณภาพของน้าเช้ือ อตั ราการตกไข่ ตลอดจนอตั ราการผสมติด สตั วท์ ่ีอยใู่ นสภาพอากาศ
ร้อนนาน ทาใหค้ วามสมบูรณ์พนั ธุ์ต่าลง

ตารางที่ 2.1 อุณหภูมิท่ีเหมาะสมของสภาพแวดลอ้ มรอบตวั สตั วท์ ่ีสัตวแ์ ต่ชนิดจะอยอู่ ยา่ งสบาย

ชนิดและประเภทของสัตว์ อุณหภูมิที่เหมาะสม( ๐ ซ)

สัตวป์ ี ก อายุ 1 วนั 33-35

อายุ 2- 7 วนั 33

อายุ 8-14 วนั 30

โตเตม็ วยั 21-26

ไก่ไข่ 7-21

สุกร สุกรแรกเกิด 1-5 วนั 34

สุกรอายุ 5 วนั ข้ึนไป 28-30

โคเขตร้อน อายุ 1 วนั – 30 วนั 25-30

อายุ 30 วนั ข้ึนไป 15-28

โคเขตอบอุ่นหรือเขตหนาว

อายุ 1- 30 วนั 13-22

อายุ 30 วนั ข้ึนไป 0-15

กระบือ 20-25

แพะ 20-30

แกะ 2-24

ดดั แปลงจาก : มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช (2545) ; สุรพล (2537)

เอกสารประกอบการสอน 16 วิชาการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มในฟาร์มสตั ว์เลยี้ ง

(7) มีผลต่อผลผลิตจากสตั ว์ ผลผลิตที่มีผลกระทบโดยตรงจากสภาพอากาศร้อน ไดแ้ ก่

ปริมาณน้านมและส่วนประกอบน้านม มีรายงานวา่ โคนมลูกผสมพ้ืนเมืองโฮลสไตน์ 50 %
ผลผลิตน้านมลดลง ประมาณ 30 % เม่ืออุณหภูมิสูงข้ึนทุก ๆ 2 ๐ซ จากช่วงอุณหภูมิท่ีสัตวอ์ ยูไ่ ด้
อยา่ งสบาย และจะหยดุ ให้นมและเริ่มป่ วยเมื่ออุณหภูมิสูงถึง 35 ๐ซ และส่งผลกระทบมากเม่ือโคอยู่
ในช่วงของการให้น้านมสูงสุด (peak of lactation) นอกจากน้ียงั พบวา่ ส่วนประกอบบางอย่างใน
น้านม เช่น ปริมาณเกลือแร่คลอไรดใ์ นน้านมสูงข้ึน ในขณะที่ปริมาณน้าตาลเลคโตส ไนโตรเจน
และไขมนั นม ลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงข้ึน

ไก่ไข่พนั ธุ์อีซ่า บราวน์ ที่อยู่ในช่วงเริ่มให้ไข่สูงสุด ถา้ อุณหภูมิอากาศสูงข้ึนถึง 34 ๐ซ.
ติดตอ่ กนั 3 วนั ปริมาณผลผลิตไขจ่ ะลดลงประมาณ 30-50 % และตอ้ งใชเ้ วลาอยา่ งนอ้ ย 8 วนั จึง
จะกลบั มาให้ไข่สูงสุดไดอ้ ีก และถา้ หากความช้ืนสัมพทั ธ์ในอากาศสูงกวา่ 75 % จะพบวา่ อตั รา
การตายสูงถึง 5 %

(8) พฤติกรรมบางประการของสัตว์ เช่น พฤติกรรมการแทะเล็มหญา้ ของสัตวเ์ ค้ียวเอ้ือง
ในแปลงหญา้ เม่ืออากาศร้อนข้ึน สัตวจ์ ะหยดุ แทะเลม็ หญา้ และหลบเขา้ หาท่ีมีร่มเงาและกินน้าแทน
ส่วนกระบือปลกั จะลงเกลือกปลกั เพื่อระบายความร้อน การจดั การในสภาพอากาศร้อน จึงควร

ปล่อยสตั วล์ งแทะเล็มในแปลงหญา้ ในช่วงท่ีอากาศไมส่ ูง คือช่วงเชา้ และช่วงใกลค้ ่าหรือตดั หญา้ ให้
สตั วก์ ินในช่วงกลางคืนภายในโรงเรือน

แนวทางการแกไ้ ขปัญหาการเล้ียงสัตวใ์ นสภาพอากาศร้อน (สุรพล, 2537)
1. คดั เลือกพนั ธุ์สัตวท์ ี่มีลกั ษณะเหมาะสม เช่น มีต่อมเหง่ือมาก มีพ้ืนที่ผิวหนงั มาก อาจ
ทาไดโ้ ดยการผสมพนั ธุ์กบั พนั ธุ์พ้นื เมือง ซ่ึงทนทานกบั สภาพอากาศร้อนไดด้ ี
2. จดั การสภาพแวดลอ้ ม เช่น การออกแบบวางทิศทางโรงเรือนให้เหมาะสม มีการระบาย
อากาศท่ีดี ใชว้ สั ดุที่ป้องกนั ความร้อนไดท้ าหลงั คาและฝาผนงั
3. ปรับปรุงสภาพและวธิ ีการเล้ียง อาจทาไดโ้ ดย ลดจานวนสัตวต์ ่อพ้ืนท่ีลง การใชพ้ ดั ลม
ช่วยระบายกาศ การใชร้ ะบบพ่นน้าเป็ นหมอก (fogger) ในโรงเรือนหรือใชร้ ะบบพ่นน้าเป็ นฝอย
บนหลังคาโรงเรือน (sprinkler) การใช้ระบบโรงเรือนแบบปรับอากาศท่ีเรียกว่า ระบบอีแวป
(evaporative system) ซ่ึงนิยมในระบบการเล้ียงในปัจจุบนั การเปลี่ยนเวลาใหอ้ าหารเป็นช่วงเวลา
ท่ีอากาศเยน็ วธิ ีการเหล่าน้ี สามารถเลือกใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั ชนิดของสตั วแ์ ละสภาพการเล้ียง
อิทธิพลของอากาศร้อน นอกจากจะส่งผลกระทบต่อตวั สัตวท์ ้งั ทางตรงและทางออ้ มแลว้
ยงั ส่งผลกระทบต่อผลผลิตและการเก็บรักษาผลผลิต เช่น อตั ราการฟักออกของลูกไก่ในช่วงหน้า
ร้อนลดลง ดงั น้นั การขนส่งและเก็บไข่ฟักจากโรงเรือน จึงควรเก็บในช่วงเยน็ ใกลค้ ่าและเก็บไข่ใน
หอ้ งที่มีอุณหภูมิ 16-18 ๐ซ. ความช้ืนสัมพทั ธ์ 75 เปอร์เซ็นต์ ใชเ้ วลาเกบ็ นานไม่เกิน 7 วนั

เอกสารประกอบการสอน 17 วิชาการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มในฟาร์มสตั วเ์ ล้ียง

ผลเสียของความร้อนในโคนม
ก. โคจะกินอาหารนอ้ ยลง เน่ืองจากร่างกายตอ้ งการลดความร้อนท่ีเกิดจากขบวนการหมกั
ยอ่ ยอาหารในกระเพาะอาหาร ผลท่ีตามมาก็คือโคจะไดร้ ับสารอาหารไม่เพียงพอต่อการให้ผลผลิต
น้านม
ข. ผลผลิตน้านมลดลง พบว่าโคที่คลอดลูกในฤดูหนาวจะให้ผลผลิตน้านมมากว่าโคท่ี
คลอดลูกในฤดูร้อน
ค. ประสิทธิภาพในระบบสืบพนั ธุ์ลดลงในโคพ่อพนั ธุ์ มีผลต่อขบวนการผลิตอสุจิ ทาให้
ความเขม้ ขน้ ของตวั อสุจิในน้าเช้ือลดลง ความสมบูรณ์แข็งแรงของตวั อสุจินอ้ ยลง เปอร์เซ็นตก์ าร
ตายและความผิดปกติของอสุจิเพิ่มข้ึน และความกาหนดั ลดลง ในโคแม่พนั ธุ์อิทธิพลของความ
ร้อนมีผลต่อการทางานของรังไข่ ทาให้ไม่มีการตกไข่ ไม่แสดงอาการเป็ นสัดหรือเป็ นสัดเงียบ ทา
ให้พลาดโอกาสในการผสมพนั ธุ์ นอกจากน้ียงั ทาใหอ้ ตั ราการผสมติดต่า อตั ราการตายของตวั อ่อน
สูง รวมท้งั การพฒั นาของตวั อ่อนชา้ กวา่ ปกติ ในโคเน้ือและโคขุนนอจากจะมีปัญหาคลา้ ยกบั ในโค
นมดงั ท่ีไดก้ ล่าวมาแลว้ น้นั ยงั พบวา่ ความร้อนมีผลต่อการเจริญเติบโต และเพ่ิมน้าหนกั ของโคอีก
ดว้ ย ท้งั น้ีเน่ืองจากโคกินอาหารลดลงนนั่ เอง

ผลเสียของความร้อนในสุกร
ก. ในสุกรขุน พบว่าในช่วงอากาศร้อน สุกรจะกินอาหารขน้ ได้น้อยลง ทาให้อตั ราการ
เจริญเติบโตชะงกั
ข. ในสุกรพ่อพนั ธุ์อิทธิพลจากความร้อนมีผลต่อประสิทธิภาพการสืบพนั ธุ์ และมีผลต่อ
ขบวนการผลิตอสุจิ พบว่าความเขม้ ขน้ ของตวั อสุจิลดลง ความสมบูรณ์แข็งแรงของอสุจิลดลง
จานวนอสุจิท่ีผิดปกติจะเพิ่มข้ึน นอกจากน้ียงั มีผลต่อการผลิตฮอร์โมนเทสโตสเตอโรน ส่งผลให้
ขบวนการผลิตอสุจิไม่สมบูรณ์และอสุจิที่ไดเ้ ป็ นอสุจิท่ีไม่โตเต็มวยั คือเป็ น immature sperm และ
ยงั ทาใหพ้ ฤติกรรมของพอ่ สุกรในการข้ึนผสมพนั ธุ์ลดลงดว้ ย
ค. ในแม่พนั ธุ์ อิทธิพลจากความร้อนต่อประสิทธิภาพการสืบพนั ธุ์ มีดงั น้ี
1) สุกรเขา้ สู่ระยะเจริญพนั ธุ์ชา้ กวา่ ปกติ
2) วงจรการเป็ นสัดยาวนานข้ึน แต่ระยะการเป็ นสัดจะส้ันลง ความสนใจทางเพศและ
อาการเป็นสดั จะลดลง หรือเป็นสดั เงียบ
3) อตั ราการตกไขล่ ดลง
4) อตั ราการผสมติดต่า รวมท้งั อตั ราการคลอดลูกต่าดว้ ย
5) จานวนสุกรกลบั สัดหลงั ผสมเพมิ่ ข้ึน

เอกสารประกอบการสอน 18 วิชาการจัดการสงิ่ แวดลอ้ มในฟาร์มสตั วเ์ ล้ียง

6) ในช่วงแรกของการต้งั ทอ้ ง หากแม่สุกรเกิดความเครียดเน่ืองจากความร้อนในระยะ 1-2
วนั หลงั ผสม จะทาใหอ้ ตั ราการเกิดปฏิสนธิลดลง และทาใหอ้ ตั ราการตายของตวั อ่อนเพม่ิ ข้ึน

7) ในช่วงกลางของการต้งั ทอ้ ง แมส่ ุกรจะทนตอ่ ความเครียดจากความร้อนไดม้ ากข้ึน
8) ในช่วง 2 สัปดาห์ก่อนคลอด หากสุกรเกิดความเครียดจากความร้อน แม่สุกรมกั คลอด
ยาก อตั ราการตายของลูกขณะคลอดสูงข้ึน ลูกที่เกิดจะมีน้าหนกั แรกคลอดต่า นอกจากน้ีขณะที่เกิด
ความเครียด ระบบภูมิคุม้ กนั ของแม่จะลดลง ทาให้ Antibody ที่มีในน้านมเหลืองต่าลง ส่งผลทาให้
ลูกสุกรอ่อนแอติดโรคง่าย
9) ในระยะเล้ียงลูก อิทธิพลจากความร้อนทาให้แม่สุกรกินอาหารน้อยลง การพฒั นาของ
ต่อมน้านมและการสร้างน้านมจึงไม่สมบูรณ์เตม็ ท่ี ทาใหก้ ารเพมิ่ น้าหนกั ของลูกสุกรก่อนหยา่ นมต่า
10) สภาพอากาศร้อนอาจเป็ นสาเหตุ ทาให้สุกรติดโรคไดง้ ่าย โดยเฉพาะการติดเช้ือใน
ระบบทางเดินหายใจ เน่ืองจากสุกรตอ้ งเพิม่ การระบายความร้อนดว้ ยการอา้ ปากหายใจ ทาใหโ้ อกาส
ท่ีเช้ือโรคจะผา่ นเขา้ ไปยงั อวยั วะในระบบทางเดินหายใจสูงข้ึน นอกจากน้ีอากาศที่ร้อนจดั อาจทา
ใหส้ ุกรเกิดอาการฮีทสโตรคได้ โดยเฉพาะในสุกรทอ้ งแก่ท่ีกินอาหารขน้ ในปริมาณมาก สุกรจะมี
อาการหอบ อา้ ปากหายใจ น้าลายไหล มีไขส้ ูง และอาจช๊อคตายไดห้ าแกไ้ ขไมท่ นั
ผลเสียของความร้อนในไก่
ก. กินอาหารนอ้ ยลง ทาใหอ้ ตั ราการเจริญเติบโตลดลง
ข. อตั ราการผสมติดต่า
ค. เปอร์เซ็นตไ์ ขล่ ดลง ขนาดไข่เลก็ ลง รวมท้งั เปลือกไข่จะบางลง
ง. คุณภาพซากเลวลง
จ. อตั ราการตายเพิ่มข้ึน
ฉ. มกั พบปัญหาการจิกกนั ของไก่ในฝงู
ช. ภูมิตา้ นทานโรคลดลงในช่วงท่ีไก่เครียด ทาใหไ้ ก่ติดโรคไดง้ ่ายเช่น โรคนิวคาสเซิล,
หวดั หนา้ บวม เป็นตน้

1.2 ความชื้น ความช้ืนในอากาศมีความเกี่ยวขอ้ งอย่างใกลช้ ิดกบั ขบวนการระบายความ
ร้อนออกจากร่างกายของสัตว์ โดยธรรมชาติสัตวจ์ ะระบายความร้อนจากร่างกายไดด้ ีท่ีสุดในขณะ
ร้อนดว้ ยวิธีระเหยน้า เช่น ระเหยโดยเหง่ือ หรือลมหายใจ ความสามารถที่สัตวจ์ ะระเหยความ
ร้อน ไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด ข้ึนกบั ปัจจยั ตา่ ง ๆ ดงั น้ี

(1) อุณหภูมิของอากาศ สัตวท์ ี่เล้ียงในเขตร้อนทวั่ ๆ ไปเมื่ออุณหภูมิสูงข้ึนกว่า 35 ๐ซ.
สตั วจ์ ะระบายความร้อนออกจากร่างกาย โดยระเหยออกมากบั ไอน้าทางเหง่ือและลมหายใจ เพม่ิ ข้ึน
ทุกหน่วยพ้นื ท่ีตอ่ อุณหภูมิท่ีเพ่ิมข้ึน

เอกสารประกอบการสอน 19 วชิ าการจัดการสิง่ แวดล้อมในฟาร์มสัตวเ์ ลย้ี ง

(2) ชนิดของสัตวแ์ ละพนั ธุ์สัตว์ โดยทวั่ ไปสตั วร์ ะบายความร้อนออกจากร่างกายต่อมเหงื่อ
และทางลมหายใจ โค แพะ และสุกร มีต่อมเหงื่อที่ผิวหนงั ของร่างกาย แต่ทางานไดไ้ ม่ดีเท่าสัตว์
ชนิดอื่น จึงระบายความร้อนโดยการหายใจถี่ข้ึน ไก่และนกไม่มีต่อมเหงื่อ จึงตอ้ งเพ่ิมการะบาย
ความร้อนออกจากร่างกายโดยการอา้ ปากหายใจและกางปี กออกเพอื่ ระบายความร้อนออกทางใตป้ ี ก
ซ่ึงมีขนปกคลุมนอ้ ย ส่วนสุนขั มีต่อมเหง่ือเฉพาะท่ีโคนหางจะระบายความร้อนออกทางลิ้น โดย
การอา้ ปากแลบลิ้นและหอบหายใจ

(3) ความช้ืนในอากาศและแรงลม ถา้ อากาศมีความช้ืนสูง สัตวจ์ ะสามารถระบายความ
ร้อนออกจากร่างกายโดยการะเหยออกมากบั ไอน้าไดน้ ้อยลง ดงั น้นั ถา้ อากาศช้ืน น้าก็ระเหยไดช้ า้
โดยเฉพาะถา้ ความช้ืนในอากาศถึงจุดอิ่มตวั คือถึง 100 เปอร์เซ็นต์ เหง่ือจะระเหยไม่ไดเ้ ลย ถา้
อากาศแห้ง น้าก็จะระเหยไดเ้ ร็ว โดยเหตุน้ีถา้ อากาศร้อนจดั และช้ืน สัตวจ์ ะรู้สึกอึดอดั ไม่สบาย
เพราะความร้อนระบายออกจากร่างกายไมไ่ ด้

นอกจากความช้ืนในอากาศ จะมีผลต่อตวั สัตวโ์ ดยตรงแลว้ ยงั มีผลโดยออ้ มต่อการผลิต
สัตว์ เช่น ทาใหอ้ ตั ราการเกิดโรคกบั สัตวแ์ ละแมลงท่ีเป็ นพาหะ ของโรคสูงข้ึน โดยเฉพาะเกี่ยวกบั
ระบบทางเดินหายใจ นอกจากน้ียงั มีผลต่อการเก็บรักษาอาหารสัตว์หรือวตั ถุดิบอาหารสัตว์
สภาวะท่ีอุณหภูมิสูง ความช้ืนสูง มกั จะง่ายตอ่ การเกิดเช้ือรา และเมื่อนาไปเล้ียงสตั ว์ จะมีผลทาให้
สตั วป์ ่ วย เจริญเติบโตชา้ หรือชะงกั การเจริญเติบโต และตายในท่ีสุด

1.3 ลมหรือการระบายอากาศ ลมมีส่วนสาคญั ในการถ่ายเทระบายความร้อนส่วนที่เกิน

ของสัตว์ โดยทวั่ ไปอากาศท่ีอยู่รอบ ๆ ตวั สัตวบ์ ริเวณท่ีติดกบั ผิวหนัง มกั จะมีอุณหภูมิสูงกว่า
อากาศท่ีอยไู่ กลออกไป ดงั น้นั ถา้ หากมีการถ่ายเทอากาศท่ีอยรู่ อบตวั สตั ว์ ก็จะช่วยให้การระบาย
ความร้อนจากตวั สัตวไ์ ดม้ ากข้ึน เน่ืองจากอากาศท่ีเยน็ กวา่ จะเขา้ มาแทนที่ นอกจากน้ี ลมยงั ช่วย
ใหก้ ารระเหยของน้าหรือเหงื่อเร็วข้ึน ซ่ึงจะช่วยระบายความร้อนจากตวั สัตวอ์ ีกทางหน่ึง จึงมีผล
ทาให้สัตวร์ ู้สึกสบายตวั ในสภาพการเล้ียงสัตวแ์ บบหนาแน่นภายโรงเรือน ลมหรือการระบาย
อากาศท่ีดี จะช่วยลดความร้อนของอากาศ และควบคุมความช้ืนภายในโรงเรือน ตลอดจน
ระบายอากาศเสียที่เกิดจากการเล้ียงสัตว์ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4)
แอมโมเนีย (NH3) และก๊าซซลั เฟอร์ไดออกไซด์ (H2S) ซ่ึงมีผลต่อสุขภาพของสัตว์ และอตั ราการ
เจริญเติบโต แตถ่ า้ หากลมพดั แรงเกินไป ก็จะเกิดผลเสียตอ่ สตั วไ์ ดเ้ ช่นกนั กล่าวคือ สตั วอ์ าจจะ
ป่ วยหรือเกิดโรคบางอยา่ งกบั สัตวไ์ ดด้ ว้ ย ดงั น้นั ผเู้ ล้ียงสัตวจ์ ึงจาเป็ นตอ้ งค่อยระวงั อยา่ ใหส้ ัตวร์ ับ
ลมท่ีแรงเกินไป

1.4 แสงแดด แสงแดดใหท้ ้งั แสงสวา่ งและความร้อน มีส่วนสาคญั ต่อการเจริญเติบโต และ
ความแข็งแรงของสัตว์ เน่ืองจากผิวหนังเม่ือถูกแสงแดด จะสามารถสังเคราะห์วิตามินดี ซ่ึง

เอกสารประกอบการสอน 20 วิชาการจดั การสง่ิ แวดล้อมในฟาร์มสตั ว์เลยี้ ง

ร่างกายสัตวส์ ามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของกระดูก ซ่ึงเป็นโครงสร้างหลกั ของ
ร่างกาย สัตวเ์ ล้ียงท่ีไม่ไดร้ ับแสงแดดจะเกิดโรคกระดูกอ่อน อยา่ งไรก็ตาม ถา้ หากสัตวไ์ ด้รับ
แสงแดดหรือสัมผสั กบั แสงแดดเป็ นประจา จะทาให้ผิวหนงั บวมแดง อกั เสบและไหมเ้ กรียม ท่ี
เรียกวา่ ซนั เบิร์น(sunburn) เนื่องจากเซลล์ผวิ หนงั ถูกทาลายดว้ ยความร้อน สัตวท์ ่ีมีเมด็ สีที่ผวิ หนงั
จะทนทานตอ่ แสงแดดมากกวา่ สัตวท์ ี่ไมม่ ีเม็ดสี ดงั น้นั สัตวท์ ่ีผวิ หนงั สีขาว เช่น สุกรพนั ธุ์ลาร์จไวท์
จะไดร้ ับอนั ตรายจากแสงแดดไดง้ ่าย ถา้ สัตวไ์ ดร้ ับแสงแดดนานๆ จะทาให้อุณหภูมิของร่างกาย
สัตวส์ ูง ซ่ึงมีผลกระทบต่อการกินอาหารของสัตว์ เช่นเดียวกบั ผลกระทบที่เกิดจากอุณหภูมิของ
อากาศสูง ดงั น้นั การทาร่มเงาให้สัตวใ์ นเวลากลางวนั จึงเป็ นส่ิงจาเป็ น เพื่อให้สัตวส์ ามารถ
หลบความร้อนจากแสงแดดได้ ผลของแสงแดดจดั คือ สัตวจ์ ะรู้สึกร้อนอึดอดั ไม่สบาย นอกจากน้ี
แสงแดดยงั ทาใหเ้ กิดความแหง้ แลง้ พืชอาหารสัตวจ์ ะเหี่ยวเฉาตายหมด ทาใหส้ ัตวข์ าดอาหาร

อยา่ งไรก็ตาม แสงแดดอ่อน ๆ ก็มีความจาเป็ นต่อชีวิตของสัตว์ เพราะแสงแดดก่อให้เกิด
กระบวนการสังเคราะห์แสง (photosynthesis) ในพืช ซ่ึงเป็ นประโยชน์ต่อสัตวแ์ ละมนุษย์ แสง
สวา่ งจากแสงแดดจะมีผลกระตุน้ กระบวนการเมทธาบอลิซึมของร่างกาย เช่น การเผาผลาญอาหาร
พลงั งาน การกาจดั คาร์บอนไดออกไซดอ์ อกจากร่างกาย นอกจากน้ี แสงแดดยงั มีความสาคญั ใน
การกระตุน้ ความเป็ นหนุ่มเป็ นสาวของสัตว์ โดยเฉพาะในสัตวป์ ี ก เช่น ไก่ และนก พบวา่ ไก่ไข่ที่
ถูกเล้ียงในพ้นื ท่ีท่ีมีแสงแดดจา้ ตลอดวนั จะใหไ้ ข่เร็วกวา่ ไก่ไข่ท่ีเล้ียงไวใ้ นท่ีที่มีแสงแดดนอ้ ย

1.5 ปริมาณฝน ฝนมีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั ความช้ืนและอุณหภูมิของอากาศ โดยฝนจะมีส่วนทา
ใหค้ วามช้ืนของอากาศสูงข้ึน แต่ในขณะเดียวกนั จะช่วยให้อุณหภูมิของอากาศเยน็ สบาย ซ่ึงมีผล
ต่อการเจริญเติบโตของสัตว์ และการให้ผลผลิต ดงั ท่ีไดก้ ล่าวมาแลว้ ในเร่ืองของอุณหภูมิและ
ความช้ืน นอกจากน้ี ฝนยงั มีผลกระทบทางออ้ มต่อสัตว์ คือ มีผลต่อชนิดและปริมาณพืชอาหาร
สัตวโ์ ดยตรง ฤดูหนาวมีฝนตกน้อยมาก แต่ยงั มีความช้ืนพอท่ีพืชจะเจริญได้บา้ ง ในฤดูร้อน
อากาศแหง้ แลง้ และร้อน ทาให้ฤดูร้อนมกั จะขาดแคลนพืชอาหารสัตว์ ดงั น้นั สัตวเ์ ล้ียงที่เล้ียงใน
ฤดูร้อน โดยเฉพาะโค กระบือ ซ่ึงเล้ียงปล่อยหากินแบบธรรมชาติ จึงมกั จะมีอตั ราเจริญเติบโตชา้
อตั ราการผสมติดต่า เน่ืองจากปริมาณอาหารที่ไดร้ ับไม่เพียงพอ นอกจากน้นั ฝนยงั มีผลต่อการ
เกิดโรคและพยาธิในสัตว์ โดยเฉพาะพยาธิต่าง ๆ มกั เจริญเติบโตและแพร่ระบาดไดด้ ีในช่วงฝนตก
ฝนที่ตกติดตอ่ กนั เป็นเวลานาน ๆ อยา่ งภาคใตข้ องประเทศไทยกม็ ีผลต่อสตั วเ์ ล้ียงเช่นกนั เน่ืองจาก
สัตวจ์ ะเกิดโรคไดง้ ่าย หรืออาจเป็นผลต่ออาหารสตั ว์ ทาใหอ้ าหารสตั วม์ ีความช้ืนสูง อาจเกิดเช้ือ
ราได้ ดงั น้นั ปริมาณฝนหากมากเกินไปหรือนอ้ ยไปกเ็ กิดผลเสียต่อการเล้ียงสตั วท์ ้งั สิ้น

1.6 แสงสว่าง จะผนั แปรไปตามฤดูกาล เช่น ในฤดูร้อนความยาวช่วงแสงจะยาวนาน
กวา่ ในฤดูหนาว สาหรับความยาวของช่วงแสงน้นั มีผลกระทบหรือมีอิทธิพลต่อพืชอาหารสัตว์

เอกสารประกอบการสอน 21 วิชาการจัดการสงิ่ แวดล้อมในฟาร์มสัตวเ์ ล้ียง

และการแสดงออกของสัตว์ กล่าวคือ ในฤดูร้อนอุณหภูมิของอากาศสูงและความยาวช่วงแสงยาว
จะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางเพศ โดยสัตวเ์ พศเมียจะมีความสมบูรณ์พนั ธุ์ลดลง คุณภาพของ
น้าเช้ือเพศผูล้ ดลง แต่จะกระตุน้ การกินอาหาร ในไก่ไข่ แสงสวา่ งสามารถกระตุน้ ใหไ้ ก่ไข่ ใหไ้ ข่
เร็วข้ึน ดงั น้นั การเล้ียงไก่ไข่ จึงจาเป็นตอ้ งให้แสงตลอดเวลาในช่วงที่ไก่ใหผ้ ลผลิตไขส่ ูง เพอ่ื ให้
ไก่ไข่ไดก้ ินอาหารเพ่ิมข้ึน ทาให้ผลผลิตไข่สูงข้ึน ในโคนมการเพิ่มแสงใหย้ าวนานข้ึนเป็ นวนั ละ
16 ชวั่ โมง เม่ือเทียบกบั ความยาวช่วงแสงตามธรรมชาติ 9 – 12 ชวั่ โมง พบวา่ โคนมสามารถเพิ่ม
ผลผลิตน้านมได้มากกว่าเดิม ร้อยละ 6 – 10 ในไก่เน้ือ การให้แสงในช่วงเวลากลางคืนหรือ
ช่วงเวลาหลงั ดวงอาทิตยต์ กดินแลว้ สามารถเร่งการเจริญเติบโตของไก่เน้ือได้

วธิ ีแกป้ ัญหาเก่ียวกบั แสงสวา่ งท่ีมีอิทธิพลต่อสัตว์ ทาไดโ้ ดยการควบคุมความยาวช่วงแสง
ในโรงเรือนใหเ้ หมาะสมกบั ชนิดของตวั สัตวแ์ ละอายขุ องสัตว์ เช่น การจดั วางตาแหน่งและทิศทาง
ของโรงเรือน การจดั ต้งั โคมไฟหรือหลอดไฟฟ้าในจานวนและตาแหน่งท่ีเหมาะสม การกาหนด
เวลาปิ ดเปิ ดหลอดไฟฟ้า เป็นตน้

2. อทิ ธิพลของภูมปิ ระเทศต่อการเลยี้ งสัตว์
ภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะของธรรมชาติของพ้ืนดิน พ้ืนโลก หรื อลักษณะของ

สภาพแวดลอ้ มในบริเวณใดบริเวณหน่ึง เช่น ลกั ษณะความสูงต่าของพ้ืนท่ี ความเป็นกรดด่างของ
ดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดินและแหล่งน้า เป็ นตน้ ภูมิประเทศมีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั การเล้ียงสัตว์
มากพอสมควร โดยเฉพาะเกี่ยวกบั แหล่งของอาหารสัตว์ สภาพภูมิอากาศ ชนิดของสัตวเ์ ล้ียง
ตลอดจนเก่ียวขอ้ งกบั รายไดจ้ ากการทาฟาร์ม ภูมิประเทศท่ีเป็นตวั กาหนดดงั กล่าวน้ีคือ

2.1 ทาเลที่ต้ังฟาร์ม ทาเลท่ีต้งั ฟาร์มจะเป็ นตวั กาหนดความยากง่ายในการผลิต ถา้ หากวา่
ทาเลที่ต้งั ฟาร์มอยไู่ กลตลาด การผลิตสัตวเ์ พื่อจาหน่ายผลิตผลยอ่ มตอ้ งเพ่ิมค่าใชจ้ ่ายในการขนส่ง
และมีผลต่อคุณภาพของผลิตผล เช่น น้านมดิบท่ีรีดไดจ้ ากฟาร์ม ถา้ ตอ้ งใชร้ ะยะเวลานานในการ
นาส่งโรงงานแปรรูปน้านม ยอ่ มทาใหค้ ุณภาพน้านมเส่ือมลงไป หรือฟาร์มพ่อแม่ไก่พนั ธุ์ท่ีผลิต
ไข่เพื่อนาส่งโรงพัก ถ้าหากเส้นทางคมนาคมไม่สะดวก ทาให้ไข่ท่ีจะนาเข้าฟักได้รับการ
กระทบกระเทือนมากระหวา่ งการขนส่ง ยอ่ มทาใหอ้ ตั ราการฟักออกต่าลง เป็นตน้

2.2 แหล่งน้า น้าเป็ นปัจจยั สาคญั มากต่อการผลิตสัตว์ เน่ืองจากการเล้ียงสัตว์ ตอ้ งอาศยั น้า
ในการชะลา้ งทาความสะอาดคอกและโรงเรือนสัตว์ รวมท้งั ใหส้ ัตวบ์ ริโภค คุณภาพของน้าในแต่
ละแหล่ง มีผลต่อการผลิตสัตว์ แหล่งน้าที่ใชเ้ ล้ียงสัตว์ ไดแ้ ก่

2.2.1 น้าใตด้ ิน แหล่งน้าใตด้ ินในสภาพภูมิประเทศบางแห่งท่ีระดบั ของความกระดา้ ง
สูงมาก เน่ืองจากน้าในระหวา่ งการซึมผา่ นช้นั ต่าง ๆ ของดินน้นั น้าซ่ึงมีคาร์บอนไดออกไซด์อยูใ่ น

เอกสารประกอบการสอน 22 วิชาการจดั การส่งิ แวดลอ้ มในฟาร์มสตั วเ์ ลี้ยง

รูปของกรดคาร์บอนิค จะละลายเกลือซิลิเกตและคาร์บอนเนตลงไปดว้ ย ทาใหน้ ้าใตด้ ิน มีเกลือของ
แคลเซียมและแมกนีเซียมสูง เม่ือนามาใหส้ ตั วบ์ ริโภคจะมีผลทาใหส้ ัตวม์ ีอตั ราการเจริญเติบโตชา้ ลง

2.2.2 น้าบนดิน ไดแ้ ก่ น้าในแม่น้า ลาคลอง ลาธาร น้าตก หนอง บึง เป็นแหล่งน้าท่ีไม่
ค่อยปลอดภยั ควรนามาปรับปรุงให้สะอาดก่อนนาไปใช้ เช่น ขงั ให้ตกตะกอน กรอง และใช้

สารเคมีฆ่าเช้ือ น้าในแม่น้าลาคลองท่ีไหลผา่ นแหล่งเพาะปลูก ชุมชน แหล่งเล้ียงสัตว์ หรือโรงงาน
อุตสาหกรรม อาจมีสารเคมีต่าง ๆ ปนเป้ื อน เช่น ยาฆ่าแมลง ป๋ ุย ฯลฯ ซ่ึงเม่ือนามาให้สัตวบ์ ริโภค
โดยตรง ยอ่ มมีผลทาใหส้ ัตว์ เจริญเติบโตชา้ และตายในที่สุด นอกจากน้ีอาจมีการสะสมของสาร
ตา่ ง ๆ ในเน้ือสตั ว์ ซ่ึงจะมีผลกระทบตอ่ ผบู้ ริโภคและการยอมรับผลิตผลของตลาด

2.2.3 น้าฝน เป็ นน้าอ่อนและค่อนขา้ งบริสุทธ์ิ สะอาด แต่ในปัจจุบนั สภาวะในอากาศ
อาจทาใหน้ ้าฝนมีส่ิงเจือปนมากมาย ต้งั แต่ฝ่ นุ ละออง ก๊าซพิษบางอยา่ งท่ีละลายอยใู่ นน้า เช่น ก๊าซ
ไนตรัสออกไซด์ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เป็ นผลให้เกิดฝนกรดที่เป็ นอนั ตรายโดยเฉพาะกับ

ภาชนะรองรับน้าท่ีไม่ทนกรด เช่น หลงั คาและภาชนะใส่น้าฝนที่เป็ นเหล็กอาบสังกะสีหรือโลหะ
หนกั อาจถูกชะลา้ งลงไปปนเป้ื อนอยใู่ นน้า

2.2.4 น้าประปา มกั ไดจ้ ากน้าบนดินหรือน้าใตด้ ิน นามาผา่ นกระบวนการกรองและ
ฆา่ เช้ือโรคโดยใชส้ ารเคมี มีความสะอาดและปลอดภยั พอสมควรในการเล้ียงสตั ว์

หลกั การพิจารณาความเหมาะสมของแหล่งน้าท่ีใชเ้ ล้ียงสัตว์ ใหด้ ูที่ต้งั ของแหล่งน้า ตอ้ ง
ไม่ใช่น้าท่ีมาจากบริเวณเพาะปลูก ซ่ึงอาจมีการใชย้ าฆ่าแมลง การใชป้ ๋ ุยบางชนิด หรือบริเวณที่รับ
น้าจากโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ แหล่งน้าตอ้ งห่างจากบริเวณบา้ นเรือนที่อยู่อาศยั ชุมชน และ
แหล่งเล้ียงสัตว์ ควรห่างจากส้วมซึมและสถานท่ีทิ้งขยะมูลฝอยให้มากที่สุด และควรมีปริมาณ
เพยี งพอกบั ปริมาณสัตวท์ ่ีเล้ียง ลกั ษณะของน้าที่ใชเ้ ล้ียงสัตว์ ตอ้ ง ไม่มีสี กลิ่น รส เป็นน้าใส ไม่
ขุ่น ไม่มีส่ิงเจือปนใดๆ ท้งั ท่ีแขวนลอยหรือตกตะกอน เป็ นน้าอ่อน ไม่มีแร่ธาตุหินปูนละลายอยู่
นอกจากน้ี เมื่อส่องดูดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ ไม่ควรมีสิ่งเจือปนจาพวกไดอะตอมหรืออนูของพชื น้า
ต่าง ๆ ซ่ึงเป็ นอนั ตรายต่อสัตว์ ปราศจากอินทรียสารพวกมูลสัตว์ คอลลอยดห์ รือวุน้ เมือกต่าง ๆ

และไม่มีจุลินทรีย์ โดยเฉพาะแบคทีเรีย จาพวก อี โคไล ซาลโมเนลล่า ซูโดโมแนส กลุ่มโคโล

ฟอร์ม และรากลุ่มแอสเปอร์จิลลสั รวมท้งั ไมค่ วรมีพยาธิและไขพ่ ยาธิ
2.3 ความสูงต่าของพืน้ ท่ี มีความเกี่ยวขอ้ งกบั ความกดดนั ของบรรยากาศ ยง่ิ ระดบั สูงข้ึนไป

เท่าใด ความกดดนั ของบรรยากาศจะต่ากว่าในพ้ืนที่ราบเท่าน้นั ความกดดนั ของบรรยากาศจะ
เก่ียวขอ้ งตอ่ ระบบความดนั โลหิตและอตั ราการหายใจของสัตว์ สัตวท์ ่ีเจริญไดด้ ีในท่ีราบเมื่อข้ึนไป
อยบู่ นที่สูงมาก ๆ จะรู้สึกเหน่ือยเร็ว หอบง่าย เพราะปริมาณออกซิเจนในพ้ืนที่ที่สูง จะเบาบางกว่า
ในท่ีต่า ร่างกายสตั วจ์ ึงจาเป็นตอ้ งหาปรับระบบใหพ้ อดีโดยการหายใจหอบใหไ้ ดป้ ริมาณออกซิเจน

เอกสารประกอบการสอน 23 วิชาการจดั การส่งิ แวดล้อมในฟาร์มสัตว์เลี้ยง

ตามความตอ้ งการของร่างกาย ในทานองเดียวกนั สัตวท์ ี่อยใู่ นที่สูง เม่ือนามาเล้ียงในที่ราบก็จะรู้สึก
อึดอดั ได้เช่นกัน นอกจากน้ี ความสูงต่าของพ้ืนท่ียงั มีผลต่อการฟักออกของเช้ือลูกไก่อีกด้วย
กล่าวคือ ในพ้ืนที่สูง ๆ มกั มีออกซิเจนต่า ซ่ึงออกซิเจนมีความสาคญั และเป็ นปัจจยั สาคญั ของการ
พฒั นาของเช้ือตวั อ่อนในฟองไข่ ในที่สูงการฟักไข่ของสัตวป์ ี กมกั ฟักออกในเปอร์เซ็นตต์ ่ากวา่
พ้ืนท่ีท่ีมีความสูงจากระดบั น้าทะเลไมม่ ากนกั

2.4 ดินและความอุดมสมบูรณ์ของดิน ดินเป็ นสิ่งแวดล้อมที่สัมผสั กับสัตวต์ ลอดเวลา
เช่นเดียวกบั อากาศที่อยรู่ อบตวั สัตว์ แตด่ ินเป็นส่ิงแวดลอ้ มที่ไม่เคล่ือนที่เหมือนอากาศ ดงั น้นั หาก
ดินมีการปนเป้ื อนส่ิงสกปรก เช่น เช้ือโรคที่เป็ นอนั ตรายกบั สัตว์ การกาจดั ให้หมดไปทาไดย้ าก
มาก โดยเฉพาะผิวดินช้นั บนสุดในระยะความหนาไม่เกิน 2 เมตร จะมีส่ิงเจือปนท่ีประกอบดว้ ย
อินทรียวตั ถุจานวนมาก ซ่ึงเป็ นอาหารท่ีดีและมีความเหมาะสมต่อการดารงชีวติ ของเช้ือโรคท่ีเป็ น
อนั ตรายตอ่ สัตว์ เช้ือโรคในดินอาจมาจากการพดั พาของน้า ที่ไหลผา่ นแหล่งปฏิกูลหรือซากสัตวท์ ่ี
ตายดว้ ยโรคและถูกฝังไวใ้ นดินต้ืน ๆ หรืออาจจะถูกพดั พาโดยลม เช้ือโรคบางชนิดโดยเฉพาะ
แบคทีเรีย สามารถมีชีวิตและคงความเป็ นพิษในดินที่มีความช้ืนไดน้ าน โดยการสร้างปลอกหุ้ม
หรือสร้างสปอร์ได้ เช่น โรคแอนแทรกซ์ อยใู่ นดินไดน้ านถึง 6 เดือน หรืออาจนานกวา่ น้ี ถา้ หาก
อยใู่ นซากสัตวท์ ี่ถูกฝังไวใ้ นดินที่มีความช้ืน ในระดบั ความลึกไม่เกิน 3 เมตร

สภาพความอุดมสมบูรณ์ของดินเป็ นอีกปัจจยั หน่ึงที่มีผลต่อตน้ ทุนในการผลิตสัตว์ ในภูมิ
ประเทศที่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินดี การปลูกพืชอาหารสัตวย์ ่อมไดผ้ ลดี ให้ผลผลิตต่อหน่วย
พ้ืนท่ีสูง ทาให้ตน้ ทุนค่าอาหารสัตวต์ ่าลง หรือสามารถลดตน้ ทุนในเร่ืองของท่ีดินได้ เน่ืองจาก
สามารถใชพ้ ้ืนท่ีนอ้ ย นอกจากน้ีคุณภาพของพืชอาหารสัตวท์ ี่ปลูก ในพ้ืนที่ท่ีอุดมสมบูรณ์สูง ยอ่ ม
สูงกวา่ พืชท่ีปลูกในแหล่งที่ไม่อุดมสมบูรณ์ ซ่ึงมีผลต่อการผลิตสัตว์ เช่น พืชอาหารสัตวท์ ี่ปลูกใน
พ้ืนที่ดินขาดธาตุซีลีเนียม ปริมาณธาตุซีลีเนียมในพืชอาหารสัตวน์ ้นั จะ ไม่เพียงพอสาหรับสัตว์ ทา
ใหม้ ีผลต่อความสมบูรณ์พนั ธุ์ของสัตว์ อตั ราการผสมติดต่า การแกไ้ ขจึงจาเป็ นตอ้ งเสริมแร่ธาตุที่มี
ซีลีเนียมในอาหารสัตว์ ซ่ึงเป็ นการเพ่ิมตน้ ทุนในการผลิตสัตว์ การเล้ียงสัตวบ์ างชนิด เช่น โคนม
หรือโคเน้ือ จาเป็ นตอ้ งใช้พ้ืนท่ีในการเล้ียงมาก ท้งั น้ีเพราะตอ้ งจดั ทาทุ่งหญา้ ไวใ้ ห้โคกิน หากเรา
เลือกพ้ืนที่ที่อุดมสมบูรณ์ดีการปลูกพืชอาหารให้สัตวก์ ินก็จะไดผ้ ลตอบแทนท่ีสูง ท้งั น้ี พ้ืนท่ีที่ใช้
เล้ียงสัตวไ์ ดด้ ีตอ้ งอุดมสมบูรณ์และน้าทว่ มไมถ่ ึง

เอกสารประกอบการสอน 24 วิชาการจัดการสิง่ แวดลอ้ มในฟาร์มสัตว์เลีย้ ง

3. กลไกการตอบสนองต่อส่ิงแวดล้อม
สตั วท์ ุกชนิดเมื่อสภาพแวดลอ้ มเปล่ียนแปลงไป ยอ่ มไดร้ ับผลกระทบตอ่ สภาพความเป็ นอยู่

และพฤติกรรมของสัตว์ ซ่ึงสัตวพ์ ยายามปรับตวั ให้เขา้ กบั สภาพแวดล้อมใหม่ โดยการควบคุม
สภาวะสมดุลของร่างกาย และตอบสนองต่อสภาพแวดลอ้ มน้นั ผา่ นการทางานของระบบประสาท
และฮอร์โมน ทาใหส้ ตั วแ์ สดงออกท้งั ทางสรีรวทิ ยาและการใหผ้ ลผลิต

3.1 ระบบประสาท โดยระบบประสาทอตั โนมตั ิ ทางานโดยมีศูนยค์ วบคุมการทางานอยู่ที่
สมองส่วน medulla oblongata สมองส่วน hypothalamus และไขสันหลัง การทางานของระบบ
ประสาทอตั โนมตั ิส่วนใหญจ่ ะทางานเพ่ือรักษาความสมดุลภายในของร่างกาย

การทางานของระบบประสาทในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย เม่ือสัตว์ได้รับการ
กระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอก (สภาพอากาศหนาว) ตวั รับความรู้สึกที่อยู่ส่วนรอบนอกที่มีอยู่ทวั่
ร่างกายคือ ผิวหนงั ซ่ึงมีตวั รับ (receptors ดา้ นต่าง ๆ มากมาย) และส่งกระแสประสาทไปยงั สมอง
ผ่านทางไขสันหลงั เขา้ สู่ไฮโปธาลามสั สมองรับรู้และส่งกระแสประสาทไปยงั หน่วยปฏิบตั ิการ
ผา่ นทางเซลลป์ ระสาท ทาใหส้ ัตวแ์ สดงอาการขนลุก

3.2 ระบบต่อมไร้ท่อ เป็นระบบในร่างกายท่ีทาหนา้ ท่ีควบคุมการทางานของร่างกาย ควบคู่
ไป กับการทางานของระบบประสาท มีหน้าที่ในการผลิตสารชีวเคมีหรือสารอินทรีย์ เรียกว่า
ฮอร์โมน(hormone) ฮอร์โมนท่ีผลิตได้จะหลง่ั เขา้ สู่ระบบไหลเวียนของเลือด เพ่ือไปทาหน้าที่
ควบคุมการทางานของร่างกายในลกั ษณะของการกระตุน้ หรือยบั ย้งั การทางานของอวยั วะเป้าหมาย
(target organ) กลไกต่างๆ ในร่างกายที่เกี่ยวขอ้ งกบั ระบบตอ่ มไร้ทอ่ ไดแ้ ก่ การสืบพนั ธุ์ การต้งั ทอ้ ง
การคลอด การยอ่ ยอาหาร และการดูดซึมอาหาร การสร้างพลงั งาน การทางานของระบบทางเดิน
อาหาร การควบคุมปริมาณและส่วนประกอบของ ของเหลวในร่างกาย และการปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั
ส่ิงแวดลอ้ ม เป็นตน้

3.3 การตอบสนองต่อส่ิงเร้าจากภายนอก
การตอบสนองของสัตวต์ ่อการกระตุน้ ของสิ่งเร้าจากภายนอก เป็ นการทางานร่วมกนั

ระหว่างระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ โดยระบบประสาทจะควบคุมการตอบสนองที่เกิดข้ึนและ
สิ้นสุดเร็ว ไดแ้ ก่ การหดตวั ของกลา้ มเน้ือ ทาใหเ้ กิดการเคล่ือนไหวอยา่ งรวดเร็ว ส่วนระบบต่อมไร้
ท่อผา่ นกลไกการทางานของฮอร์โมน จะควบคุมการตอบสนองที่เกิดชา้ กวา่ แตจ่ ะมีผลต่อเนื่องเป็ น
เวลานาน ท้งั 2 ระบบจะทางานต่างกนั แตท่ างานสัมพนั ธ์กนั เรียกวา่ ระบบประสานงาน

เม่ือมีการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อม ตวั รับจะรับรู้การเปล่ียนแปลงและส่ง
สญั ญาณไปยงั ศูนยค์ วบคุม ศูนยค์ วบคุมจะส่ังการและส่งสญั ญาณไปยงั ตวั ตอบสนองใหท้ างานเพื่อ
ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เหมาะสม ท่ีจะช่วยใหส้ ภาพแวดลอ้ มในตวั สัตวก์ ลบั เขา้

เอกสารประกอบการสอน 25 วิชาการจดั การส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสตั วเ์ ล้ยี ง

สู่สภาพปกติ การควบคุมอุณหภูมิภายในร่างกายของสตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยน้านมน้นั จะมีระบบประสาท
อตั โนมตั ิ ท่ีมีศูนยค์ วบคุมอยู่ในไฮโปธาลามสั ทาหนา้ ที่เสมือนตวั ควบคุมอุณหภูมิที่ใชก้ บั ระบบ

เคร่ืองทาความเยน็ หรือตูอ้ บ ไฮโปธาลามสั จะได้ขอ้ มูลเก่ียวกบั อุณหภูมิ เพื่อมาเปรียบเทียบกบั

ระดบั ท่ีต้งั เอาไว้ เพ่ือสั่งงานที่เหมาะสมไปตามระบบประสาทอตั โนมตั ิ ให้ทางานตอบสนองต่อ
ขอ้ มูลท่ีไดร้ ับต่อไป แต่ ไฮโปธาลามสั มีลกั ษณะแตกต่างกบั ตวั ควบคุมอุณหภูมิ คือการรับขอ้ มูล

รวม ที่มาจากตวั รับของอุณหภูมิซ่ึงกระจายอยทู่ ว่ั ร่างกาย
เมื่อใดที่อุณหภูมิร่างกายของสตั วเ์ ล้ียง เพ่ิมสูงเหนือระดบั ตวั ควบคุมอุณหภูมิที่กาหนด

ไว้ เส้นเลือดท่ีอยู่ใกลบ้ ริเวณผิวหนงั จะขยายตวั เพ่ิมปริมาณเลือดไปเล้ียงผิวหนงั มากข้ึน เมื่อ
อากาศเย็นกว่าท่ีผิวหนงั ก็จะมีการถ่ายเทความร้อนให้กบั อากาศ นอกจากน้ันความร้อนอาจ
สูญเสียไปโดยการระเหยออกมากบั น้าลายและเหง่ือ เช่น สุนขั ใชป้ ากช่วยหายใจ แมวจะมีอากาศ
ผ่านบริเวณปากและลิ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้ความร้อนระเหยผา่ นออกมาทางน้าลายได้ จึงช่วยลด
อุณหภูมิของร่างกาย คนและมา้ ระบายความร้อนส่วนเกินออกมาทางต่อมเหงื่อ ที่กระจายอยูท่ ว่ั
ร่างกาย การขบั เหง่ือ จึงเป็นการระบายความร้อนออกจากร่างกาย ซ่ึงทาใหเ้ กิดการสูญเสียน้าและ
เกลือแร่มาก จะมีผลไปกระตุน้ ศูนยใ์ นไฮโปธาลามสั ทาให้เกิดการกระหายน้า และมีการหลง่ั
ฮอร์โมน ADH จากไฮโปธาลามสั เพอ่ื ใหห้ น่วยไตดูดน้ากลบั เพื่อประหยดั น้า

ตารางท่ี 2.2 เปรียบเทียบการแสดงอาการของสตั วท์ ี่อยใู่ นสภาพอากาศร้อนและสภาพอากาศเยน็

อากาศร้อน อากาศเยน็

การขยายตัวของหลอดเลือด (Vasodilation) การหดตัวของหลอดเลือด (Vasoconstriction)
หลอดเลือดขยายตวั เพื่อให้เลือดไหลเขา้ สู่เส้น หลอดเลือดหดตวั เล็กลง เพ่ือลดปริมาณเลือดท่ี
เลือดฝอยท่ีผวิ หนงั มากข้ึนและความร้อนจะสูญเสีย ไหลไปสู่ผิวหนงั ช่วยรักษาความอบอุ่นให้แก่
ไป ร่างกาย

การขับเหง่ือ (Sweating) หนาวสั่น (Shivering)
Sudorific glands ขบั เหงื่อเพอื่ ระบายความ การหดตวั และยดื ตวั อยา่ งรวดเร็วของกลา้ มเน้ือ
ร้อนโดยการระเหยน้า เกิดการผลิตความร้อนใหแ้ ก่ร่างกายโดยการ
หายใจ
กลา้ มเน้ือโคนขนหดตวั ทาใหข้ นแบนราบ ขนบริเวณผวิ หนงั ลุกต้งั ชนั (Piloerection)
ลง

เอกสารประกอบการสอน 26 วิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมในฟาร์มสัตว์เลีย้ ง

การเพิม่ พ้ืนท่ีผวิ ของร่างกายโดยการยดื ตวั การลดพ้นื ท่ีผวิ โดยการหดหรือคูล้ าตวั ให้

อา้ แขนขา ทาตวั เองใหข้ ยายใหญข่ ้ึน เล็กลงเพือ่ ลดพ้นื ที่การสูญเสียความร้อน

สัตวเ์ ลือดอุน่ ใชก้ ลไกการควบคุมยอ้ นกลบั แบบลบในการรักษาอุณหภูมิของร่างกายได้
หลายทาง โดยมีศูนยก์ ลางที่รับสัญญาณการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอยู่ท่ีไฮโปธาลามสั ตวั รับรู้
การเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิเรียกวา่ เทอร์โมรีเซพเตอร์ (thermoreceptor) ท่ีผิวหนงั จะมีเทอร์โมรี
เซพเตอร์เป็ นตวั รับรู้อุณหภูมิภายนอก แลว้ ส่งสัญญาณไปที่ไฮโปธาลามสั ไฮโปธาลามสั จะส่ง
กระแสประสาทไปยงั อวยั วะตอบสนองให้มีการทางาน เพ่ือช่วยปรับอุณหภูมิร่างกายเขา้ สู่ภาวะ
ปกติต่อไป วิธีการที่สัตวใ์ ชใ้ นการปรับสมดุลของอุณหภูมิร่างกาย (Corrective mechanisms in
temperature control) ไดแ้ ก่

1) การเพ่ิมหรือลดการหลั่งเหงื่อ ในการระบายความร้อนของร่างกาย อาศยั การ
ไหลเวียนของเลือดอย่างเดียวไม่เพียงพอ ร่างกายจึงมีกลไกการสร้างเหงื่อเพ่ิมข้ึนอีกทาง เพื่อให้
ความร้อนถ่ายเทออกไปพร้อมกบั การระเหยของเหง่ือ ร่างกายอาจเสียน้าและเกลือแร่ปริมาณมากได้
ในแต่ละชว่ั โมงที่เสียเหงื่อ ดงั น้นั จะตอ้ งไดร้ ับน้าและเกลือแร่ทดแทนในปริมาณท่ีเพยี งพอ

2) การขยายตวั -การหดตวั ของหลอดเลือดบริเวณผิวหนงั เพื่อการระบายความร้อน
นอกจากน้ีการหดตวั และการขยายตวั ของหลอดเลือดบริเวณภายในร่างกายยงั มีผลต่อการกระจาย
ความร้อนและการรักษาระดบั อุณหภูมิของเลือดที่ไหลกลบั เขา้ ยงั หัวใจไดด้ ้วย โดยการไหลของ
เลือดในหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดาในลกั ษณะที่เป็ น Counter current flow มีบทบาทต่อ
การรักษาอุณหภูมิใหก้ บั ร่างกายดว้ ยเช่นกนั

3) การหดตวั ของกลา้ มเน้ือ pilo erector ท่ีโคนขนเพื่อผลิตความร้อน และการสั่นของ
กลา้ มเน้ือทว่ั ร่างกาย (shivering)

4) การเพ่มิ หรือลดอตั ราเมตาโบลิซึมของร่างกายผา่ นทางการทางานของฮอร์โมน
ระบบกลไกควบคุมความร้อน จะเป็ นตวั บอกให้หลอดเลือดใกล้ ๆ กบั ผิวหนงั

ขยายตวั เพอ่ื ใหร้ ่างกายนาเลือด ซ่ึงเป็นตวั พาความร้อนระบายออกสู่อากาศภายนอกมากข้ึน ร่างกาย
ตอ้ งการน้าและเกลือแร่ในปริมาณพอเพยี ง ที่จะทาใหเ้ ลือดไหลเวยี นสู่หลอดเลือดท่ีขยายตวั ไดโ้ ดย
ไม่เกิดปัญหา

ตวั อยา่ งการตอบสนองของสัตวเ์ ม่ืออาศยั อยใู่ นสภาพอากาศหนาวเยน็ โดยแสดงผา่ น
กลไกการควบคุมความร้อนภายในร่างกาย เพ่ือตอ้ งการรักษาอุณหภูมิภายในร่างกายให้คงที่ (รูปท่ี
2.4) ซ่ึงเป็ นการทางานร่วมกนั ผา่ นทางระบบประสาทและระบบฮอร์โมน ส่งผลต่อการทางานของ

เอกสารประกอบการสอน 27 วิชาการจดั การสงิ่ แวดล้อมในฟาร์มสัตว์เลี้ยง

อวยั วะต่าง ๆ ได้แก่ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ต่อมหมวกไต ต่อมไทรอยด์ หัวใจ ตบั และ
กลา้ มเน้ือ มีผลทาใหเ้ กิดกระบวนการเผาผลาญสารอาหารมากข้ึน เพ่อื สร้างความอบอุ่นแก่ร่างกาย

รูปท่ี 2.4 แสดงระบบการทางานของร่างกายในการตอบสนองต่อสภาพอากาศหนาว(Yosef , 1984)

4. การปรับตวั ให้เข้ากบั ส่ิงแวดล้อม (Acclimatization)

การปรับตวั ให้เขา้ กบั สภาพแวดล้อม หมายถึง ขบวนการที่สัตวป์ รับตวั ให้เขา้ กบั สภาพ
แวดลอ้ มที่สัตวจ์ ะตอ้ งดารงชีวิตอยู่ โดยเฉพาะสัตวท์ ี่ถูกนาไปอยู่ในสภาพแวดลอ้ มใหม่ ท่ีต่างไป
จากสภาพแวดล้อมเดิม สัตว์จะเกิดความเครียด ถ้าสัตว์ไม่สามารถปรับตัวเองให้เข้ากับ
สภาพแวดลอ้ มใหม่ได้ สัตวก์ ็จะมีชีวิตอยู่ไม่ได้ การปรับตวั ของสัตวใ์ ห้เขา้ กบั สิ่งแวดลอ้ มใหม่
อาจเป็นแบบชวั่ คราวหรือเป็นแบบถาวรกไ็ ด้

เอกสารประกอบการสอน 28 วิชาการจัดการสงิ่ แวดลอ้ มในฟาร์มสัตวเ์ ลี้ยง

4.1 การปรับตัวแบบชั่วคราว มกั เป็ นระยะแรกของการปรับตวั ซ่ึงเป็ นการตอบสนองต่อ

สภาพแวดลอ้ มท่ีสัตวเ์ ผชิญอยู่ในขณะน้ัน เช่น หายใจหอบ หรือเบื่ออาหาร การตอบสนอง
ลกั ษณะน้ีจะมีขอ้ จากดั ซ่ึงข้ึนอยกู่ บั พนั ธุ์สัตวแ์ ละระดบั ความแตกต่างระหวา่ งส่ิงแวดลอ้ มที่เดิม
กบั ท่ีใหม่ โดยเฉพาะสภาพอากาศที่แตกต่างกนั มาก เช่น ร้อนจดั และมีช่วงระยะเวลานาน สัตว์
อาจจะหมดความสามารถในการปรับตวั เนื่องจากสูญเสียเหงื่อมากเกินไป ในขณะท่ีกินอาหารได้
นอ้ ยลง ทาใหไ้ ดร้ ับสารอาหารไม่เพียงพอกบั ความตอ้ งการของร่างกาย ดงั น้นั ผูเ้ ล้ียงสัตว์ จึงตอ้ ง
ระมดั ระวงั ไม่ควรทาใหส้ ภาพแวดลอ้ มเดิมกบั สภาพแวดลอ้ มใหมม่ ีความแตกตา่ งกนั มากเกินไป

4.2 การปรับตัวแบบถาวร เกิดข้ึนหลงั จากที่สัตวม์ ีการปรับตวั แบบชว่ั คราวมาระยะเวลา
หน่ึง สตั วจ์ ะเร่ิมเปล่ียนแปลงพฤติกรรมบางอยา่ ง หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวทิ ยาของสัตว์
เช่น สตั วจ์ ะเคลื่อนไหวชา้ ลง ซ่ึงเป็นการลดความร้อนท่ีเกิดข้ึนจากการเคลื่อนไหวกลา้ มเน้ือ โคที่
ถูกปล่อยให้กินหญา้ ในเวลากลางวนั จะหลบแสงแดดเขา้ ใตร้ ่มเงาบ่อย ๆ และพอใจท่ีจะเล็มหญา้
ในช่วงเวลากลางคืน หรือช่วงท่ีอากาศเยน็ มากกวา่ กลางวนั สัตวจ์ ะกินน้าบ่อยและมากข้ึน ไก่จะ
ยนื กางปี กหอ้ ยลง เวลานอนจะนอนตะแคงเหยยี ดขาออกไป เพ่อื เพม่ิ พ้ืนท่ีระบายความร้อนมากข้ึน

การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวทิ ยา อาจพบวา่ มีความเปล่ียนแปลงระดบั ฮอร์โมน เช่น สัตว์
จากแถบอบอุ่นจะลดระดบั การทางานของต่อมไทรอยดแ์ ละต่อมหมวกไตลง เมื่อนามาเล้ียงในแถบ
ร้อน ซ่ึงเป็นผลทาใหก้ ารสร้างพลงั งานของร่างกายลดลง และเป็นเหตุใหส้ มรรถนะในการสืบพนั ธุ์
ลดลงดว้ ย

เมื่อสภาพอุณหภูมิแวดลอ้ มสูงข้ึน สัตวม์ ีความเครียดจากความร้อน มีผลกระทบต่อการ
เปล่ียนแปลงทางสรีรวิทยา ไดแ้ ก่ อุณหภูมิร่างกายเพิ่ม อตั ราการเตน้ ของชีพจรเพิ่ม อตั ราการ
หายใจเพิ่ม ด่ืมน้าเพ่ิม อัตราการขับเหง่ือเพิ่ม ปริมาณการกินได้ลดลง และอาจเกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางสรีรวทิ ยาในระดบั โมเลกลุ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อสมรรถภาพการผลิต สมรรถภาพ
ดา้ นอตั ราการเจริญเติบโต และสมรรถภาพของระบบสืบพนั ธุ์ลดลง ดงั น้ันแนวทางการแกไ้ ข
คือ การเพิ่มร่มเงาในแปลงหญา้ การอาบน้าใหส้ ัตว์ การจดั การดา้ นอาหาร และการพฒั นาสาย
พนั ธุ์สตั วท์ ี่ทนร้อน เพื่อเพ่มิ สมรรถภาพการผลิตดา้ นอตั ราการเจริญเติบโต และระบบสืบพนั ธุ์

ปัจจยั หน่ึงที่ทาให้สัตวส์ ามารถปรับตวั ให้เขา้ กบั ส่ิงแวดลอ้ มไดด้ ี คือ ความสามารถของ
สัตวเ์ ก่ียวกบั อตั ราการแลกเน้ือหรือประสิทธิภาพการใชอ้ าหาร สัตวท์ ี่สามารถใชอ้ าหารไดด้ ี ความ
ร้อนที่เกิดจากการยอ่ ยอาหารจะนอ้ ย จึงทาใหเ้ กิดความร้อนจากการยอ่ ยอาหารนอ้ ยลง

ดงั น้นั ในการคดั เลือกลกั ษณะหรือรูปร่างของสัตว์ ท่ีจะช่วยใหส้ ัตวส์ ามารถปรับตวั ไดด้ ี
ข้ึน เช่น เลือกสัตวท์ ี่มีผวิ หนงั ท่ีจะระบายความร้อนไดม้ าก มีขนเรียบส้ัน และผิวหนงั มีเม็ดสีช่วย

เอกสารประกอบการสอน 29 วชิ าการจัดการสิง่ แวดล้อมในฟาร์มสัตวเ์ ล้ียง

ก้นั กรองรังสีจากแสงแดด มีอตั ราการแลกเน้ือดี ลกั ษณะเหล่าน้ีจะช่วยใหส้ ตั วท์ นต่อความร้อนได้
ดี หรืออาจใชเ้ ทคนิคการผสมขา้ มพนั ธุ์ กบั สัตวซ์ ่ึงอาศยั อยใู่ นสิ่งแวดลอ้ มเดิม เช่น สัตวพ์ ้ืนเมือง
อาจทาใหไ้ ดส้ ัตวท์ ่ีสามารถปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั ส่ิงแวดลอ้ มน้นั ได้ ถา้ มีความจาเป็ นตอ้ งเล้ียงสัตวใ์ น
สภาพแวดลอ้ มท่ีต่างกนั ผูเ้ ล้ียงสัตวต์ อ้ งพยายามช่วยปรับสภาพแวดลอ้ มใหม่ให้ลดระดบั ความ
แตกต่างลง เช่น การปรับปรุงการจดั การ การปรับปรุงโรงเรือน ตลอดจนคุณภาพและปริมาณ
อาหาร

กรณีที่นาสัตวจ์ ากแถบอบอุ่นไปเล้ียงในแถบร้อน ซ่ึงมีสภาวะอุณหภูมิ ความช้ืน แสงสวา่ ง
แตกต่างไปจากเดิมมาก สตั วอ์ าจจะปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั ส่ิงแวดลอ้ มใหม่ โดย

(1) เพม่ิ การระบายความร้อนออกจากร่างกาย โดยการหายใจหอบถี่ หรือขบั เหง่ือมากข้ึน
(2) ลดการสร้างความร้อนเพิ่ม เช่น กินอาหารนอ้ ยลง โดยเฉพาะอาหารท่ีใหพ้ ลงั งานสูง
กินน้ามากข้ึน สตั วจ์ ะแสดงอาการซึมไม่พยายามเคลื่อนไหว
(3) เปล่ียนแปลงพฤติกรรม เช่น โค จะเปล่ียนเป็ นแทะเล็มหญา้ ในเวลาท่ีอากาศเย็น
กระบือสามารถปรับตวั เข้ากับสภาพอากาศในเขตร้อน และร้อนช้ืนได้เป็ นอย่างดี โดยอาศยั
พฤติกรรมการนอนแช่ปลกั ในฤดูร้อนกระบือปลกั สาวจะใชเ้ วลาลงปลกั ในช่วงกลางวนั โดยเฉพาะ
ช่วงเวลาท่ีมีความเขม้ ของรังสีจากดวงอาทิตยส์ ูง และจะออกแทะเล็มหญา้ ในช่วงเวลาเชา้ และเวลา
เยน็ เพ่ือหลีกเลี่ยงการแทะเล็มหญา้ ในช่วงเวลาท่ีร้อน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในเวลา 12.00 น. หรือ
สุกรชอบเล่นน้าบอ่ ย ๆ เป็นตน้
(4) ในระยะยาวสัตวจ์ ะมีการพฒั นาองค์ประกอบของร่างกาย เช่น มีไขมนั ใตผ้ ิวหนัง
ลดลง มีเหนียงยาวข้ึน เป็นตน้

5. ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมต่อการเลยี้ งสัตว์

ส่ิงแวดลอ้ มไม่วา่ จะเกิดจากสภาพแวดลอ้ มท่ีเกิดข้ึนโดยธรรมชาติ เช่น การเปล่ียนแปลง
ภูมิกากาศของโลก หรือเกิดจากการจดั การของมนุษย์ เช่น โรงเรือนเล้ียงสัตว์ การจดั การเล้ียงดู
สัตว์ ย่อมส่งผลกระทบต่อการเล้ียงสัตว์ท้ังสิ้น ซ่ึงอาจส่งผลกระทบโดยตรงหรืออ้อมต่อ
สมรรถนะการผลิตของสัตว์ หรือสุขภาพสัตวเ์ ล้ียงในฟาร์ม

5.1 ส่ิงแวดล้อมก่อให้เกดิ ความเครียดต่อสัตว์

สิ่งแวดล้อมใด ๆ ก็ตามท่ีก่อให้เกิดความเครียดต่อสัตว์ มีผลต่อสุขภาพสัตวท์ ้งั สิ้น
ความเสียหายท่ีเกิดจากความเครียดจะมาก – นอ้ ยข้ึนอยูก่ บั สตั วเ์ อง อายุ เพศ พนั ธุ์สัตว์ ความคุน้ เคย

เอกสารประกอบการสอน 30 วิชาการจดั การสิ่งแวดลอ้ มในฟาร์มสตั วเ์ ล้ยี ง

ตอ่ สาเหตุของความเครียด และสภาพอาหารที่ไดร้ ับ เป็นตน้ และผลเสียดงั กล่าวมีความรุนแรงต้งั แต่
สัตวเ์ ริ่มรู้สึกไมส่ บาย จนถึงข้นั ทาใหส้ ตั วต์ ายได้

5.1.1 ปัจจัยของสิ่งแวดล้อมทกี่ ่อให้ความเครียดแก่สัตว์แบ่งออกเป็ น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1) ปัจจยั ทางฟิ สิกส์ เช่น อุณหภูมิ ความช้ืน ลม แสงแดด ความสวา่ ง และฝน เป็นตน้
2) ปัจจยั เคมี เช่น ปริมาณ O2, CO2, SO2, NH3 และกล่ิน เป็ นตน้
3) ปัจจยั ทางชีววทิ ยา เช่น ความหนาแน่นของฝงู สัตว์ ความกลวั ภาวะจากการป่ วย

และพาราไซท์ เป็นตน้
4) ปัจจยั ทางออ้ ม เช่น อาหาร น้าดื่ม สภาพโรงเรือน เป็นตน้

นอกจากน้ีการจดั การภายในฟาร์ม กเ็ ป็นสาเหตุของความเครียดได้ เช่น การจบั สตั ว์
การขนส่งสตั ว์ การทาวคั ซีน และเสียงที่ทาใหส้ ัตวต์ กใจ เป็นตน้

5.1.2 ผลของความเครียดต่อสุขภาพสัตว์
1) ทาใหร้ ะบบภูมิคุม้ กนั ของร่างกายมีประสิทธิภาพต่าลง และสตั วต์ ิดโรคไดง้ ่าย
2) อตั ราการเจริญเติบโตหยดุ ชะงกั
3) ผลผลิตน้านม และไข่ลดลง
4) อตั ราการตายแบบฉบั พลนั ในฝงู สัตวเ์ พ่มิ ข้ึน
5) ประสิทธิภาพของระบบสืบพนั ธุ์ลดลง เช่น อตั ราการผสมติดต่า อตั ราการตาย

ของตวั อ่อนสูง และสตั วไ์ มแ่ สดงอาการเป็ นสัดตามปกติ เป็นตน้

5.1.3 วธิ ีการลดความเครียดให้สัตว์
1) ปรับปรุงสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ใหเ้ หมาะตอ่ ความเป็นอยขู่ องสตั ว์
2) ดูแลใหส้ ัตวไ์ ดร้ ับอาหารอยา่ งมีคุณค่าและปริมาณท่ีเหมาะสม
3) ป้องกนั ความเครียดท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ
4) จดั หาน้าด่ืมใหพ้ อเพียง และเสริมไวตามินใหแ้ ก่สัตว์
5) พยายามอยใู่ กลช้ ิดและปฏิบตั ิต่อสัตวอ์ ยา่ งนุ่มนวล

5.2 สภาพแวดล้อมต่อการให้ผลผลติ ของสัตว์
ในสภาพปกติ สัตวส์ ามารถใหผ้ ลผลิตไดต้ ามความสามารถของสายพนั ธุ์น้นั ๆ แต่เมื่อ

สภาพแวดลอ้ มเปลี่ยนไป สัตวพ์ ยายามปรับตวั ให้สามารถดารงชีวิตอยู่ไดใ้ นสภาพแวดลอ้ มน้นั ๆ
การปรับตวั ของสัตว์ จะไปรบกวนกระบวนการทางานของระบบต่างๆ กระบวนเมตาบอลิซึมของ

เอกสารประกอบการสอน 31 วิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมในฟาร์มสตั วเ์ ลี้ยง

สารอาหารต่าง ๆ ดังน้ัน สัตว์ที่ให้ผลผลิตสูง จะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดลอ้ มมากกวา่ สตั วท์ ี่ใหผ้ ลผลิตต่า

5.2.1 กลไกทางสรีรวิทยาของสัตว์
สตั วท์ ่ีไดร้ ับส่ิงกระตุน้ ท่ีก่อใหเ้ กิดความเครียด เช่น ความเจบ็ ปวดเน่ืองจากโรคภยั

หรืออุบตั ิเหตุ การเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศ ทาใหส้ ัตวต์ อ้ งอยูใ่ นสภาพที่ไม่เหมาะสมนานๆ
สัตวจ์ ะมีการปรับตวั เก่ียวกบั ภาวะร่างกายและสภาพความเป็ นอยู่ (life styles) เพื่อให้สามารถ

ดารงชีวิตอยู่และเจริญเติบโตได้ โดยพยายามรักษาความสมดุลภายในร่างกาย ผ่านทางกลไก
หลายทางร่วมกนั และสัมพนั ธ์กนั ไดแ้ ก่ กลไกทางกายวิภาค สรีรวิทยา ชีวเคมี ระบบการสร้าง
ภูมิคุม้ กนั แสดงออกทางพฤติกรรมและทางสรีรวิทยา ตวั อยา่ งในภาพท่ี 2.5 เมื่อสัตวอ์ ยูใ่ นสภาพ
อากาศร้อนข้ึน ตัวรับรู้ความรู้สึกจะส่งกระแสประสาทไปยงั สมองส่วนไฮโปธาลามสั ซ่ึงมี
ศูนยก์ ลางการควบคุมการทางานของอวยั วะต่างๆ ของร่างกาย แลว้ สมองจะส่งกระแสประสาทสงั่
การผา่ นเซลลป์ ระสาทไปยงั อวยั วะต่างๆ ใหท้ างานตอบสนองตามหนา้ ที่ ไดแ้ ก่ พฤติกรรมเกี่ยวกบั
ความอยากกินอาหารและความหิวกระหายน้า อวยั วะท่ีทาหนา้ ที่ในการควบคุมและรักษาระดบั
ความร้อนภายในร่างกาย รวมท้งั ต่อมใตส้ มองที่ได้รับคาสั่งจากไฮโปธาลามสั ให้ทาหน้าท่ีผลิต
ฮอร์โมนเพ่ือไปกระตุน้ การทางานของต่อมและอวยั วะต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง มีผลทาให้ฮอร์โมนถูก

ผลิตและขบั หลง่ั ออกสู่กระแสเลือด และน้ายอ่ ยถูกผลิตและขบั หลง่ั ออกสู่ระบบการยอ่ ยอาหาร
กระบวนการเผาลาญอาหาร ไดแ้ ก่ โปรตีน , คาร์โบไฮเดรต, ไขมนั , เกลือแร่ และน้า

เพ่ือใหไ้ ดส้ ารอาหารนาไปใชใ้ นการเจริญเติบโต การใหผ้ ลผลิตเน้ือ และนม รวมท้งั การสืบพนั ธ์
เป็ นการทางานร่วมกนั ของระบบประสาท ฮอร์โมน ดงั น้นั เม่ือกลไกเหล่าน้ีไดร้ ับผลกระทบ ก็จะ
ส่งผลตอ่ สภาพความเป็นอยูแ่ ละการใหผ้ ลผลิตของสัตว์ ดงั เช่น เมื่อนาสตั วส์ ายพนั ธุ์ยโุ รปมาเล้ียง
ในแถบร้อนและร้อนช้ืน สตั วจ์ ะพบปัญหาตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ อากาศร้อนท่ีทาใหส้ ัตวเ์ ครียด
(heat stress) ทาให้เกิดกระบวนการเปล่ียนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมี มีผลให้ความอยากกิน
อาหาร ปริมาณการกินอาหารได้ ประสิทธิภาพการใชอ้ าหารและการนาสารอาหารไปใชป้ ระโยชน์
ลดลง กลไกการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย เช่น การหายใจ การขบั เหงื่อที่ตอ้ งทางานมากข้ึน
เป็นเหตุใหร้ บกวนกระบวนการเมตาบอลิซึมของสารอาหารตา่ ง ๆ ดว้ ย เช่น เม่ือสตั วก์ ินน้ามากข้ึน
มีผลต่อภาวะสมดุลของของเหลวในร่างกาย สูญเสียความสมดุลของไนโตรเจน พลงั งาน และ
เกลือแร่ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อการทางานของน้ายอ่ ย เช่น ลดการทางานของน้ายอ่ ย transaminase
มีการหลง่ั ฮอร์โมน insulin T3 T4 และ aldosterone ลดลง แต่มี cortisol มากข้ึนการรบกวนเหล่าน้ี

เอกสารประกอบการสอน 32 วิชาการจดั การสิ่งแวดล้อมในฟาร์มสัตวเ์ ล้ยี ง

มีผลทาให้ metabolite ในเลือดลดลง เช่น น้ าตาลกลูโคส โปรตีนรวม ไขมันรวม และ
โคเลสเตอรอล เป็นตน้ ผลท้งั หมดเหล่าน้ีจึงทาใหป้ ระสิทธิภาพของการเจริญเติบโต การใหน้ ้านม
และการสืบพนั ธ์ลดลง

อณุ หภูมสิ ภาพแวดล้อมสูง

ตวั รับรู้รอบๆร่างกาย
ไฮโปธาลามสั

ศูนยค์ วาม ศูนยก์ าร ศูนยก์ าร ศูนย์ ศูนยค์ วบคุม ศูนยค์ วบคุม
หิว/อยาก ออกเหง่ือ หายใจ กระหายน้า หลอดเลือด การขนลกุ

อุณหภมู ิลดลงโดยการระเหยน้า อณุ หภมู ิลดลงโดยไมร่ ะเหยน้า
การกินอาหาร การกินน้า

สารอาหาร,สารละลายในเลือด อุณหภูมิของเลือด

parathyroid, pancreatic islets and ต่อมใต้ thyroid, adrenal glucocorticoids
adrenal mineralocorticoids glands สมอง and sex glands

เอนไซมใ์ นกระแสเลือด

กระบวนการเผาผลาญอาหาร ไดแ้ ก่ โปรตีน, คาร์โบไฮเดรต, ไขมนั , เกลือแร่ และน้า

การผลติ เนื้อและนา้ นม และการสืบพนั ธ์ุ
รูปท่ี 2.5 แสดงผลของสภาพแวดลอ้ มท่ีไม่เหมาะสม เม่ือนาโคยโุ รปที่มาเล้ียงในสภาพอากาศร้อน

เอกสารประกอบการสอน 33 วิชาการจดั การส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสตั ว์เลีย้ ง

ส่งผลต่อการใหผ้ ลผลิตน้านมและการสืบพนั ธุ์ (Phillips and Piggins, 1992)

5.2.2 การให้นม โคนมให้ผลผลิตน้านมอยา่ งเต็มที่ เม่ืออยู่ในสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสม แต่เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ เช่น ร้อนเกินไปหรือหนาวเกินไป มีผลทาให้
ปริมาณน้านมลดลงและเกิดการเปล่ียนแปลงของส่วนประกอบของน้านมดว้ ย การเล้ียงโคนมใน
สภาพแวดลอ้ มที่ไม่เหมาะสมนาน ๆ ทาให้สัตวเ์ กิดความเครียด กินอาหารไดล้ ดลง (รูปท่ี 2.6)
ในทางสรีรวิทยา ต่อมใตส้ มองขบั หลง่ั Growth hormone ลดลง ส่งผลให้การสังเคราะห์โปรตีน
ลดลงด้วย ต่อมไทรอยด์ขบั หลงั่ Thyroxin เขา้ สู่กระแสเลือดลดลง มีผลทาให้ปริมาณน้าตาลใน
เลือดลดลง และเมื่อสัตวต์ กอยูใ่ นสภาพน้นั ยาวนานข้ึน สัตวย์ ่งิ เกิดอาการเครียดมากข้ึน มีการขบั
หลง่ั Cortisol ลดลง แต่ Catecholamine กลบั ถูกขบั หลงั่ ออกมาเพมิ่ ข้ึน มีผลทาใหเ้ พมิ่ อตั ราการเตน้
ของหวั ใจ เพิ่มการเผาผลาญอาหาร ทาใหอ้ ุณหภูมิภายในร่างกายสูงข้ึน และทาให้โคนมใหผ้ ลผลิต
น้านมลดลง

รูปที่ 2.6 แสดงอิทธิพลของสภาพอากาศที่ไมเ่ หมาะสมตอ่ การใหผ้ ลผลิตน้านมผา่ นทาง
ระบบประสาทและฮอร์โมน

สรุป

สิ่งแวดลอ้ มท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การเล้ียงสตั ว์ ไดแ้ ก่ สิ่งแวดลอ้ มตามธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
ท่ีมนุษยจ์ ดั หามาใหซ้ ่ึงสามารถควบคุมได้ สัตวไ์ ดร้ ับอิทธิพลของส่ิงแวดลอ้ ม และส่งผลกระทบต่อ
สมรรถนะการผลิตของสัตว์ท้งั โดยทางตรงและทางออ้ ม โดยเกิดจากการตอบสนองของร่างกาย
สัตวต์ ่อสภาพแวดลอ้ มที่เปลี่ยนแปลงผา่ นระบบประสาทและฮอร์โมน ซ่ึงสัตวอ์ าจปรับตวั ไดอ้ ยา่ ง

เอกสารประกอบการสอน 34 วชิ าการจัดการสงิ่ แวดล้อมในฟาร์มสตั วเ์ ล้ยี ง

ชว่ั คราว หรือปรับตวั อยา่ งถาวร อยา่ งไรก็ตาม การจดั หาอุปกรณ์และการจดั การที่เหมาะสม ช่วยลด
ผลกระทบท่ีเกิดจากอิทธิพลดงั กล่าว ทาใหส้ ตั วเ์ ล้ียงมีสุขภาพและสมรรถนะดีข้ึน

เอกสารอ้างองิ และแหล่งความรู้

จกั รกริศน์ เน่ืองจำนงค.์ 2559. สุขศาสตร์ปศุสัตว์. สำนกั พิมพแ์ ห่งจุฬำลงกรณ์มหำวทิ ยำลยั :
กรุงเทพฯ. 281 หนำ้ .

มหำวทิ ยำลยั สุโขทยั ธรรมำธิรำช. 2545. เอกสารการสอนชุดวชิ า การผลติ สัตว์ หน่วยท่ี 1 – 7.
นนทบุรี : มหำวทิ ยำลยั สุโขทยั ธรรมำธิรำช.

ธำตรี จีรำพนั ธุ์. 2548. หลกั การผลติ สัตว์. นครสวรรค์ : คณะเทคโนโลยกี ำรเกษตรและเทคโนโลยี
อุตสำหกรรม มหำวทิ ยำลยั รำชภฏั นครสวรรค.์

สุวทิ ย์ เฑียรทอง. 2536. หลักการเลยี้ งสัตว์ (ฉบับปรับปรุง). โอ.เอส.พริ้นติง้ เฮำ้ ส์ : กรุงเทพ –
มหำนคร, หนำ้ 9- 15.

สุรพล ชลดารงกลุ . 2537. สุขศาสตร์สัตว์เศรษฐกจิ . ภาควชิ าสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์. 250 หนา้ .

Curtis, Stanley E. 1983. Environmental Management in Animal Agriculture. The Iowa
State University Press, Ames, Iowa. 409 p.

Phillips, C. and Piggins, D. 1992. Farm Animals andTheEnvironment. C.A.B. International,
Wellingford, UK.

Yosef, Mohamed K. 1984. Stress Physiology in Livestock. (Volume 1 ,2, 3) CRC Press,
Florida, USA.


Click to View FlipBook Version