The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปรีชา พรามณีโชติ, 2019-06-04 03:15:58

บทที่ 1 ความสำคัญของการจัดการสิ่งแวดล้อม

หน่วยที่ 1

หน่วยที่ 1

ความสาคญั ของการจดั การส่ิงแวดล้อม

เอกสารประกอบการสอน 2 วชิ าการจดั การส่งิ แวดล้อมในฟาร์มสัตวเ์ ลี้ยง

บทที่ 1
ความสาคญั ของการจดั การสิ่งแวดล้อม

สิ่งแวดลอ้ ม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อยรู่ อบตวั เรา ท้งั ท่ีมีชีวติ และไม่มีชีวติ ท้งั ที่เกิดข้ึนเอง
ตามธรรมชาติละท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน ท้งั ท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรม เช่น แสงแดด อากาศ สัตวป์ ่ า
อาคารบา้ นเรือน เป็ นตน้ (วินยั และอุทุมพร, 2546) สิ่งแวดลอ้ ม เป็ นทุกส่ิง ทุกอยา่ งที่อยู่บนพ้ืน
โลก เป็ นท้งั ของแข็ง ของเหลวและก๊าซ(ท้งั เป็ นพิษและไม่เป็ นพิษ) สารเคมี สภาวะทางฟิ สิกส์
(เสียง ความส่ันสะเทือน แสง ความร้อน) ตน้ ไม้ สัตว์ มนุษย์ ดิน หิน แร่ อากาศ วตั ถุธาตุ
ส่ิงก่อสร้าง บา้ นเรือน ถนน โรงเรียน เมือง ชุมชน วฒั นธรรม ศาสนา ประเพณี กฎ ระเบียบ
ขอ้ บงั คบั ฯลฯ สิ่งแวดลอ้ มอาจเป็ น ส่ิงท่ีใหค้ ุณและโทษต่อมนุษยห์ รือส่ิงมีชีวติ อ่ืน ๆ เป็ นสิ่งซ่ึง
สามารถสัมผสั ไดด้ ว้ ยอาการท้งั หา้ ได้ หรืออาจเป็นทรัพยากรหรือไม่ใช่ทรัพยากรกไ็ ด้

ดงั น้นั การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม จึงมีความสาคญั ที่จะตอ้ งจดั การใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การดว้ ย
ความรอบคอบและระมดั ระวงั เพ่ือลดผลกระทบท่ีอาจจะเกิดข้ึน ต่อความเป็ นอยู่ของส่ิงมีชีวิต
และการดารงอยู่ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จึงตอ้ งมีแผนใช้ประโยชน์ทรัพยากร
หลีกเล่ียงการเกิดของเสียและมลพษิ เพอ่ื ใหเ้ กิดการพฒั นาท่ียง่ั ยนื

1. ความหมายและความสาคัญของการจัดการส่ิงแวดล้อม

1.1 ความหมายของการจัดการสิ่งแวดล้อม
การจดั การสิ่งแวดลอ้ ม (Environmental management) มีผใู้ หค้ วามหมายไวด้ งั น้ี
การจดั การสิ่งแวดลอ้ ม หมายถึง กระบวนการใชส้ ่ิงแวดลอ้ มอยา่ งมีประสิทธิภาพและ

เป็นระบบ โดยการวางแผน ดาเนินงาน ติดตามประเมินผลและปรับปรุง แกไ้ ขพฒั นาใหด้ ีข้ึน ท้งั น้ี
ตอ้ งคานึงถึงการใชอ้ ยา่ งประหยดั ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด ใชใ้ หไ้ ดย้ ง่ั ยนื ยาวนานตลอดไป และ
เอ้ืออานวยประโยชน์ต่อมวลมนุษยแ์ ละธรรมชาติใหม้ ากท่ีสุด

การจดั การสิ่งแวดลอ้ ม หมายถึง กระบวนการแผก่ ระจายทรัพยากรท่ีสาคญั ท้งั ท่ีเกิด
โดยธรรมชาติ และมนุษยส์ ร้างข้ึนเพื่อสนองความพอใจในการนาไปใชอ้ ยา่ งเหมาะสม ท้งั น้ีตอ้ งเป็น
การดาเนินการอยา่ งมีระบบในการนาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ เพอ่ื สนองความตอ้ งการของมนุษย์
โดยไมม่ ีผลกระทบต่อระบบส่ิงแวดลอ้ ม เพือ่ จะมีทรัพยากรใชไ้ ดต้ ลอดไป

เอกสารประกอบการสอน 3 วิชาการจดั การสิ่งแวดลอ้ มในฟาร์มสตั ว์เล้ยี ง

การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม หมายถึง กระบวนการดาเนินงานอยา่ งมีระบบในการจดั การให้
ทรัพยากรธรรมชาติสามารถสนองความตอ้ งการของมนุษย์ ดว้ ยการสร้างกลไกควบคุมโดยไม่
ก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อระบบสิ่งแวดลอ้ ม เพอื่ การมีใชต้ ลอดไป (เกษม, 2553)

จากความหมายของการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม มีสาระสาคญั พอสรุปไดด้ งั น้ี
1. การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม เป็นการนาทรัพยากรธรรมชาติมาใชต้ อบสนองความตอ้ งการ
ของมนุษย์
2. การนาทรัพยากรธรรมชาติมาใชต้ อ้ งมีการวางแผนการใชท้ ี่ดี และเหมาะสม
3. การนาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ ตอ้ งมีผลกระทบต่อมนุษยท์ ้งั ทางตรงและทางออ้ ม
นอ้ ยท่ีสุด
4. การนาทรัพยากรธรรมชาติมาใชต้ อ้ งยดึ หลกั การอนุรักษเ์ สมอ

1.2 ความสาคญั ของการจัดการส่ิงแวดล้อม
การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ท้งั ส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาติ เช่น ดิน น้า สภาพภูมิอากาศ

ป่ าไม้ สตั วป์ ่ า และสิ่งแวดลอ้ มอ่ืน ๆ ทวั่ ไป เป็นส่ิงจาเป็นและมีความสาคญั ต่อความเป็นอยขู่ อง
มนษุย์ จึงตอ้ งช่วยกนั บารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มที่มีอยอู่ ยา่ งจากดั ใหค้ งอยู่
อยา่ งยงั่ ยนื การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม จึงมีความสาคญั ดงั น้ี

1.2.1 เพือ่ ลดอตั ราการสญูเสียของทรัพยากรธรรมชาติ เน่ืองจากทรัพยากรธรรมชาติ
เป็นสิ่งแวดลอ้ มท่ีปัจจยั ท่ีจาเป็นในการดารงชีวติ ของมนุษย์ อตั ราการเพิม่ ของทรัพยากรธรรมชาติ
เป็นไปตามขอ้ จากดั ทางธรรมชาติ ทาใหไ้ ม่เพียงพอกบั ความตอ้ งการของมนุษยซ์ ่ึงมีความตอ้ งการ
เพ่มิ ข้ึนสูงมาก

1.2.2 เพ่ือลดโอกาสที่จะเกิดวิกฤตส่ิงแวดล้อมท้งั ระดบั โลกและระดบั ทอ้ งถ่ิน ที่
อาจจะเกิดข้ึน เน่ืองจากประชากรโลกเพิ่มข้ึน ทาให้การบริโภคของมนุษยเ์ พิ่มมากข้ึนส่งผลให้
ทรัพยากรธรรมชาติร่อยหร่อลง เกิดภาวะโลกร้อนข้ึน เกิดภยั พิบตั ิท่ีเพิ่มความรุนแรงมากข้ึน พิษภยั
จากสารพิษเพิ่มมากข้ึน เกิดความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ดินเม่ือคุณภาพและป่ าไมถ้ ูก
ทาลายมากข้ึน เป็นตน้

1.2.3 ลดหรือหลีกเลี่ยงการเกิดของเสียและมลพิษ เนื่องจากการใชท้ รัพยากรที่มีมาก
ข้ึนตามสภาวะการเพิ่มข้ึนของประชากรโลก ย่อมก่อให้เกิดของเสียและมลพิษมากข้ึนด้วย
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ สังคมเมือง ที่มีปัญหาท้งั ขยะ ของเสียมากมาย การวางแผนจดั การส่ิงแวดลอ้ มท่ีดี
เช่น การวางผงั เมืองท่ีมีประสิทธิภาพ การจดั การขยะท่ีเป็ นระบบ การบาบดั น้าเสีย และการกาจดั
ของเสีย

เอกสารประกอบการสอน 4 วิชาการจดั การส่ิงแวดลอ้ มในฟาร์มสัตวเ์ ลีย้ ง

1.2.4 ทาให้มีการพฒั นาท่ียง่ั ยนื โดยไม่ใหเ้ กิดการเสื่อมโทรมต่อส่ิงแวดลอ้ ม และความ
มนั่ คงของมนุษยชาติ โดยมีหลกั การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ดงั น้ี คือ ไมท่ าลายส่ิงแวดลอ้ มในระยะยาว
เป็นหนา้ ท่ีของทุกส่วนในสังคมที่ตอ้ งมีส่วนร่วมในการจดั การ โดยไมใ่ ชเ้ กินกาลงั ความสามารถ
ทางการเงิน และสามารถสร้างพ้ืนฐานและศกั ยภาพท่ีมน่ั คงในทุกระดบั โดยเฉพาะระดบั รากหญา้

ดงั น้นั การพฒั นาเพ่ือใหเ้ พียงพอกบั ความตอ้ งการของคนรุ่นปัจจุบนั น้นั จะตอ้ งไม่
เบียดเบียนคนรุ่นต่อไป เป็นการพฒั นาท่ีมีความสมดุลระหวา่ งการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความ
เสมอภาคทางสงั คม และการอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม จึงตอ้ งมีการพฒั นาแบบบูรณาการ ใหเ้ กิดดุลยภาพ
ระหวา่ งมนุษยก์ บั ส่ิงแวดลอ้ ม

1.3 ความสาคญั ของการจัดการส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสัตว์เลยี้ ง
การเล้ียงสัตว์มีความสัมพนั ธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างใกล้ชิด และพ่ึงพาอาศยั กัน

ตลอดเวลา สิ่งแวดลอ้ มช่วยอานวยประโยชน์ต่อการสัตวเ์ ล้ียงอยา่ งมหาศาล ไดแ้ ก่
1.3.1 เป็นปัจจยั ที่จาเป็นแก่การดารงชีวติ ไดแ้ ก่ เป็นแหล่งอาหาร ท่ีอยอู่ าศยั
1.3.2 เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็นในการเล้ียงสตั ว์ ไดแ้ ก่ ดิน น้า แร่ธาตุ ฯลฯ
1.3.3 ใหค้ วามร่มรื่นแก่สัตวท์ ี่เล้ียง เช่น ตน้ ไมภ้ ายในฟาร์มเล้ียงสัตว์ ช่วยเป็ นร่มเงา

และช่วยทาใหอ้ ากาศเยน็ สบายไมร่ ้อน ซ่ึงจะมีผลทาใหส้ ัตวไ์ มเ่ ครียด สุขภาพจิตของสตั วจ์ ะดี ทาให้
กินอาหารไดด้ ีและการเจริญกจ็ ะดีตามไปดว้ ย

1.3.4 ทาหน้าที่รองรับของเหลือ เศษที่เกิดจากการเล้ียงสัตว์ เช่น ขยะมูลฝอยต่างๆ
มูลสัตว์ น้าเสีย อากาศเสีย

2. หลกั การจัดการสิ่งแวดล้อม
ตามปรัชญาการจดั การส่ิงแวดลอ้ มท่ีสอนใหเ้ กิดความคิดวา่ “ส่ิงแวดลอ้ มทุกชนิด/

ประเภท สามารถนามาใชไ้ ด้ ภายใตก้ ารช่วยเหลือของธรรมชาติ และ/หรือเทคโนโลยใี นการให้
สิ่งแวดลอ้ มท้งั ระหวา่ งการใชแ้ ละหลงั การใชแ้ ลว้ ใหฟ้ ้ื นคืนสภาพไดเ้ หมือนเดิมหรือใกลเ้ คียงเดิม”
จึงไดก้ าหนดหลกั การจดั การสิ่งแวดลอ้ ม ดงั น้ี (เกษม, 2553)

2.1 การกาหนดชนิด/ประเภทและขอบเขตของสิ่งแวดล้อมเพ่ือการใช้ประโยชน์ โดย
อาศยั พ้ืนฐานท่ีเป็ นจุดเด่นท่ีเป็ นสมบตั ิเฉพาะตวั ของส่ิงแวดลอ้ ม ไปใชใ้ นการกาหนดวา่ ภายใน
ขอบเขตน้นั ๆ ส่ิงแวดลอ้ มแต่ละชนิด ควรจะมีขนาด/ปริมาณ/จานวนเท่าใด หรือมีการกระจายตวั
หรือมีความหนาแน่นของแต่ละชนิด/ประเภท แตกต่างไปจากค่ามาตรฐานในธรมชาติมากน้อย
เพียงใด ทาให้รู้ว่าสิ่งแวดลอ้ มน้นั สมบูรณ์หรือเส่ือมโทรมอย่างไร เพ่ือจะได้นาไปสู่การสร้าง
ศกั ยภาพใหเ้ อ้ือประโยชน์ต่อไป

เอกสารประกอบการสอน 5 วชิ าการจดั การสงิ่ แวดล้อมในฟาร์มสตั ว์เลี้ยง

2.2 การกาหนดกิจกรรมเพื่อการคงสภาพและ/หรือสร้างศักยภาพความยั่งยืนของ

สิ่งแวดล้อม หลงั จากท่ีมีการประเมินสถานภาพทางส่ิงแวดลอ้ มตามหลกั การขอ้ ท่ี 1 แลว้ ทาให้
ทราบวา่ อะไรเป็ นปัญหาและเหตุของปัญหา จึงเกิดการวางแผนการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม โดยการ
กาหนดกิจกรรมการจดั การท้งั เพ่ือการคงสภาพของส่ิงแวดลอ้ มที่สมบูรณ์หรือสมดุลแลว้ ให้คงอยู่
อย่างยง่ั ยืน และถ้าหากส่ิงแวดลอ้ มน้ัน ๆ เส่ือมโทรม หรือมีการปนเป้ื อนของเสียและมลพิษ
จาเป็ นตอ้ งฟ้ื นฟู รักษา/ซ่อมแซม พฒั นา การสงวน และการแบ่งเขตการใชป้ ระโยชน์ และกรณี
ที่ส่ิงแวดล้อมมีการปนเป้ื อนของเสียและมลพิษ จะตอ้ งกาจดั หรือบาบดั สิ่งปนเป้ื อน ให้ได้ค่า
มาตรฐานหรือดีกวา่ จึงจะสามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ดงั น้นั กิจกรรมที่จะถูกกาหนดข้ึนมาน้นั
ตอ้ งข้ึนอยกู่ บั สถานภาพของสิ่งแวดลอ้ มเป็นสาคญั ผวู้ างแผนจดั การ ตอ้ งเลือกกิจกรรมท่ีเหมาะสม
ท่ีสุด เพอ่ื จะไดส้ ิ่งแวดลอ้ มท่ียงั่ ยนื ตอ่ ไป

2.3 การควบคุมในการกาจัด/บาบดั ของเสียและมลพษิ จากกจิ กรรมการใช้ทรัพยากร
หลกั การน้ี มุ่งเนน้ กิจกรรมท่ีควบคุมของเสีย/และหรือมลพษิ สิ่งแวดลอ้ มท่ีมีประสิทธิภาพ โดยมี
วธิ ีการดาเนินการดงั น้ี

2.3.1 สร้างเทคโนโลยีควบคุมของเสียและ/หรือมลพิษสิ่งแวดลอ้ ม ท่ีมีลกั ษณะทาง
ชีวภาพท่ีชดั เจน เช่น ระบบบาบดั น้าเสีย การวางฝังฟาร์ม

2.3.2 การสร้างกฎระเบียบ เป็ นการสร้างกฎหมายและระเบียบปฏิบตั ิหรือข้อห้าม
ตา่ ง ๆ ในการกระทาใดๆ ตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม พร้อมท้งั กาหนดบทลงโทษเอาไวด้ ว้ ย

2.3.3 ใหก้ ารศึกษาทางส่ิงแวดลอ้ มดว้ ยระบบส่ิงแวดลอ้ มศึกษา ซ่ึงเป็ นกระบวนการ
นาองคค์ วามรู้ทางส่ิงแวดลอ้ มถ่ายทอดดว้ ยเทคโนโลยีการถ่ายทอดสู่ประชากรเป้าหมาย วิธีการน้ี
เป็นวธิ ีการท่ีใหป้ ระสิทธิภาพระยะยาว

2.3.4 การประชาสัมพันธ์ เป็ นการเสนอข่าวสารที่จะปฏิบัติในแต่ละระบบ
สิ่งแวดลอ้ มหรือระบบสิ่งแวดลอ้ มท่ีตอ้ งจดั การ ซ่ึงประชาชนจะไดต้ ระหนกั และปฏิบตั ตาม

2.4 หลกั การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม สามารถกระทาไดห้ ลายวธิ ี ดงั น้ี
2.4.1 การใชอ้ ยา่ งประหยดั คือ การใชเ้ ทา่ ท่ีมีความจาเป็น เพ่อื ใหม้ ีทรัพยากรไวใ้ ชไ้ ด้

นานและเกิดประโยชน์อยา่ งคุม้ คา่ มากท่ีสุด
2.4.2 การนากลบั มาใชซ้ ้าอีก ส่ิงของบางอยา่ งเม่ือมีการใชแ้ ลว้ คร้ังหน่ึงสามารถที่จะ

นามาใช้ซ้าไดอ้ ีก เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ เป็ นตน้ หรือสามารถที่จะนามาใช้ไดใ้ หม่โดยผ่าน
กระบวนการต่างๆ เช่น การนากระดาษที่ใชแ้ ลว้ ไปผา่ นกระบวนการต่างๆ เพ่ือทาเป็ นกระดาษแข็ง
เป็นตน้ ซ่ึงเป็นการลดปริมาณการใชท้ รัพยากรและการทาลายสิ่งแวดลอ้ มได้

เอกสารประกอบการสอน 6 วชิ าการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มในฟาร์มสัตว์เลยี้ ง

2.4.3 การบูรณะซ่อมแซม สิ่งของบางอยา่ งเม่ือใชเ้ ป็ นเวลานานอาจเกิดการชารุดได้
เพราะฉะน้นั ถา้ มีการบูรณะซ่อมแซม ทาใหส้ ามารถยดื อายกุ ารใชง้ านตอ่ ไปไดอ้ ีก

2.4.4 การบาบดั และการฟ้ื นฟู เป็นวธิ ีการที่จะช่วยลดความเสื่อมโทรมของทรัพยากร
ดว้ ยการบาบดั ก่อน เช่น การบาบดั น้าเสียจากบา้ นเรือนหรือโรงงานอุตสาหกรรม เป็ นตน้ ก่อนท่ีจะ
ปล่อยลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ ส่วนการฟ้ื นฟูเป็ นการร้ือฟ้ื นธรรมชาติใหก้ ลบั สู่สภาพเดิม เช่น การ
ปลูกป่ าชายเลน เพือ่ ฟ้ื นฟูความ สมดุลของป่ าชายเลนใหก้ ลบั มาอุดมสมบูรณ์ เป็นตน้

2.4.5 การใช้ส่ิงอื่นทดแทน เป็ นวิธีการที่จะช่วยให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
นอ้ ยลงและไม่ทาลายสิ่งแวดลอ้ ม เช่น การใชถ้ ุงผา้ แทนถุงพลาสติก การใชใ้ บตองแทนโฟม การใช้
พลงั งานแสงแดดแทนแร่เช้ือเพลิง การใชป้ ๋ ุยชีวภาพแทนป๋ ุยเคมี เป็นตน้

2.4.6 การเฝ้าระวงั ดูแลและป้องกนั เป็ นวิธีการที่จะไม่ให้ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ มถูกทาลาย เช่น การเฝ้าระวงั การทิง้ ขยะ สิ่งปฏิกลู ลงแมน่ ้า คูคลอง การจดั ทาแนวป้องกนั
ไฟป่ า เป็นตน้

3. กระบวนการจัดการส่ิงแวดล้อม
การจดั การส่ิงแวดลอ้ มตอ้ งอาศยั ความร่วมมือกบั หลายฝ่ าย เพอ่ื การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื
3.1 การวางแผนการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกนั การใช้

ประโยชน์ จากทรัพยากรท่ีไม่เหมาะสม ทรัพยากรท่ีถูกใช/้ ทาลายจนส่งผลกระทบต่อดลุยภาพของ
สิ่งแวดลอ้ ม ทรัพยากรท้งั ที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติและท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน อนั ประกอบดว้ ยสาม
กลุ่ม คือ ทรัพยากรที่ใชแ้ ลว้ ไมห่ มดสิ้น ทรัพยากรท่ีใชแ้ ลว้ หมดไป และทรัพยากรท่ีใชแ้ ลว้ ทดแทน
ได้ (เกษม, 2553)

3.2 การป้องกันมลสาร (Pollutants) การใช้ชีวิตของมนุษยย์ ุคปัจจุบนั ไดส้ ร้างมลสาร
ออกสู่ส่ิงแวดลอ้ มตลอดเวลา ท้งั ในลกั ษณะที่เป็ นของแขง็ ของเหลว ก๊าซ คล่ืนชนิดต่าง ๆ จาก
กระบวนการผลิต การกระจาย การบริโภค สิ่งเหล่าน้ีปนเป้ื อนต่อสิ่งแวดลอ้ ม จะทาให้มีการ
เปล่ียนแปลงคุณสมบตั ิไปจากธรรมชาติจนเกิดเสียดุลยภาพได้ และอาจส่งผลกระทบทางลบต่อ
มนุษยแ์ ละสตั วโ์ ดยตรง

3.3 การวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม เป็ นกระบวนการหน่ึงของการพยายามลด
ผลกระทบที่เกิดข้ึนจากโครงการพฒั นาในรูปแบบต่าง ๆ ท้งั ภาครัฐและเอกชน โดยการใชค้ วามรู้
ทางวทิ ยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ มาคาดคะเนผลท่ีจะเกิดข้ึนของโครงการน้นั ๆ ต่อส่ิงแวดลอ้ ม แลว้ หา
มาตรการป้องกนั และแกไ้ ข แต่ถา้ หากผลกระทบที่เกิดข้ึนไม่มีมาตรการท่ีดีพอในการป้องกนั ดุลย
ภาพสิ่งแวดลอ้ ม โครงการน้นั ก็ตอ้ งระงบั ไป

เอกสารประกอบการสอน 7 วชิ าการจัดการสิ่งแวดล้อมในฟาร์มสตั ว์เลยี้ ง

ผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม หมายถึง สิ่งตา่ งๆ ท่ีเกิดข้ึนใหม่หรือ การจบั กลุ่มใหมข่ อง
สิ่งแวดลอ้ มท้งั ท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึนหรือ เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ มีผลทาใหส้ ิ่งแวดลอ้ มเดิมไดร้ ับความ
กระทบกระเทือน จนทาใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ฟิ สิกส์หรือ ชีวภาพ ซ่ึงการเปล่ียนแปลงน้ีมี
ผลร้ายตอ่ คุณภาพชีวติ และสภาพแวดลอ้ ม

3.4 การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม วิธีการน้ีเป็ นวิธีการท่ีไม่พึงปรารถนามากนัก เพราะไ ด้
เกิดผลเสียทางส่ิงแวดล้อมข้ึนแล้ว เช่น น้าเสีย อากาศเสีย ดินเสีย เป็ นตน้ แล้วจึงเข้าไป
ดาเนินการแกไ้ ข นน่ั แปลวา่ ในช่วงท่ีสี่งแวดลอ้ มเสียดุลยภาพ ไดส้ ร้างผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต
ของมนษุย์ แลว้ นนั่ เอง แต่ก็เป็ นสิ่งท่ีจาเป็ นในภาวะของโลกอุตสาหกรรมท่ีเร่งพฒั นา จนสร้าง
ปัญหาสิ่งแวดลอ้ มข้ึนมากมาย

4. ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาส่ิงแวดล้อม หมายถึง ปัญหาความเสื่อมโทรมในเชิงคุณภาพและปริมาณของ

สิ่งแวดลอ้ ม ท้งั ท่ีเป็ นส่ิงแวดล้อมทางชีวภาพ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และส่ิงแวดลอ้ มทาง
เศรษฐกิจและสังคม โดย มีสาเหตุมาจากการกระทาของมนุษย์ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ จากการพฒั นา
ดว้ ยเทคโนโลยแี ละวทิ ยาการสมยั ใหม่

4.1 สาเหตุของปัญหาส่ิงแวดล้อม
การกระทาใด ๆ ก็ตามท่ีมีผลกระทบทาให้ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าจะเป็ น

ทางบวกหรือทางลบ ยอ่ มก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอ้ มได้ จากอดีตจนถึงปัจจุบนั
มีปัจจยั หลายประการที่ส่งผลทาใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลง ดงั น้ี

4.1.1 การเพิ่มประชากร ทาใหค้ วามตอ้ งการใช้ทรัพยากรมากข้ึน ในขณะเดียวกนั ก็
ยงั ก่อให้เกิดของเสียและมลพิษมากข้ึนดว้ ย เกิดการใช้ท่ีดินทาการเกษตรมากข้ึน โดยเฉพาะเขต
ร้อน ประชากรจะบุกเบิกป่ าใหม่ ๆ เพ่ือใชพ้ ้ืนที่ทาไร่เลื่อนลอยทาให้ดิน ป่ าไม้ สภาวะแวดลอ้ ม
เสียหายปี ละจานวนมาก

4.1.2 การเกษตรสมยั ใหม่ การเกษตรในปัจจุบนั มุ่งเพือ่ การคา้ มากข้ึน มีการใชป้ ๋ ุยและ
ยาฆ่าแมลงจานวนมาก สารเหล่าน้ีจะตกคา้ งในดิน และอาจถูกชะลา้ งลงสู่แหล่งน้า ทาให้มีผลต่อ
ชีวติ สตั วใ์ นดินและในน้า

4.1.3 การขยายตวั ของเมือง การเพิ่มประชากรทาให้ความตอ้ งการที่อยูอ่ าศยั เพิ่มข้ึน
เมืองขยายตวั อย่างรวดเร็ว ทาให้พ้ืนที่การเกษตรถูกใช้ไปเพ่ือสร้างตึก ศูนยก์ ารคา้ ถนน ระบบ
นิเวศเปล่ียนไป การถ่ายเทของเสียจากเมือง ก่อใหเ้ กิดมลพษิ ของน้าและอากาศ

เอกสารประกอบการสอน 8 วิชาการจดั การส่งิ แวดล้อมในฟาร์มสัตว์เลีย้ ง

4.1.4 การอุตสาหกรรม การพฒั นาอุตสาหกรรมทาให้ทรัพยากรถูกใช้เป็ นวตั ถุดิบ
มากยิ่งข้ึน กระบวนการผลิตทาให้มีของเสีย เช่น น้าเสีย ไอเสีย ซ่ึงส่งผลกระทบต่อการ
เปลี่ยนแปลงระบบนิเวศในบริเวณที่โรงงานอุตสาหกรรมต้งั อยแู่ ละบริเวณใกลเ้ คียง

4.2 แนวทางการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม
การศึกษาปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เกษม (2553) เสนอความคิดรวบยอดทาง

วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื ศึกษาสิ่งแวดลอ้ ม ไวด้ งั น้ี
4.1 ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ศึกษาชนิด ปริมาณ สดั ส่วนและการกระจายของ

ส่ิงแวดลอ้ ม ท้งั หลายที่เป็ นองค์ประกอบในระบบส่ิงแวดล้อม เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของ
สิ่งแวดลอ้ ม

4.2 ศึกษาบทบาทและหนา้ ที่ของสิ่งแวดลอ้ มแต่ละชนิดในระบบสิ่งแวดลอ้ ม ทาให้
ทราบขอ้ เทจ็ จริงของส่ิงแวดลอ้ มน้นั เกี่ยวกบั การทางาน บทบาทและหนา้ ท่ี ท้งั ต่อตนเอง ต่อสิ่ง
ขา้ งเคียง หรือสิ่งต่าง ๆ ในระบบ ในลกั ษณะของการแสดงออกถึงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกนั และกนั

4.3 ศึกษากระบวนการเกิดมลสารหรือสารพิษในระบบส่ิงแวดลอ้ มน้นั ๆ ซ่ึงอาจจะ
เกิดจากการขบั ถ่ายของส่ิงแวดลอ้ มอนั ใดอนั หน่ึง หรืออาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระบบ เน่ือง
การใชเ้ ทคโนโลยี หรือการใชท้ รัพยากร

4.4 ศึกษาบทบาทของมนุษยต์ ่อกระบวนการใชท้ รัพยากร ซ่ึงอาจก่อให้เกิดมลภาวะ
และการเปล่ียนแปลง ท้งั ชนิด ปริมาณและสดั ส่วนของสิ่งแวดลอ้ มในระบบน้นั ๆ หรือการสร้างสิ่ง
ใหม่ ๆ ท่ีอาจก่อใหเ้ กิดปัญหาส่ิงแวดลอ้ มข้ึนได้

4.5 ศึ ก ษ า บ ท บ า ท ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ น า ม า ใ ช้ เ พ่ื อ ก า ร เ ป ลี่ ย น รู ป ข อ ง
ทรัพยากรธรรมชาติ ในการผลิตปัจจยั สี่ เทคโนโลยีท่ีนามาใช้ ตอ้ งไม่ก่อให้เกิดปัญหาทาง
สิ่งแวดลอ้ ม หรือเกิดปัญหานอ้ ยที่สุด

4.6 ศึกษาการป้องกนั และกาจดั ของเสียจากกระบวนการในระบบส่ิงแวดลอ้ มให้หมด
ไปหรือมีนอ้ ยมากจนไม่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของมนุษยแ์ ละสัตว์ หรือการหาวิธีกาจดั ของเสียท่ี
สามารถนาของเสียมาใชป้ ระโยชน์

4.7 ศึกษาปัญหาและการแกป้ ัญหาการไดม้ าของพลงั งานที่เป็ นปัจจยั สาคญั ในการ
ดารงชีวิตของมนุษย์ รวมท้งั การใช้พลงั งานทดแทน ท่ีเกี่ยวกบั การนาของเสียมาแปรรูปเป็ น
พลงั งานทดแทนการใชพ้ ลงั งงานจากฟอสซิล

เอกสารประกอบการสอน 9 วชิ าการจดั การส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสตั ว์เลย้ี ง

5. ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงแวดล้อมกบั สัตว์เลยี้ งภายในฟาร์ม

ส่ิงแวดลอ้ ม ไม่วา่ จะเป็ นสิ่งแวดลอ้ มตามธรรมชาติ หรือ สิ่งแวดลอ้ มที่มนุษยส์ ร้างข้ึน
ลว้ นมีอิทธิพลอยา่ งลึกซ้ึงต่อความเป็นอยู่ การอยรู่ อด และมีความสมั พนั ธ์กบั สัตวเ์ ล้ียงภายในฟาร์ม
การเปล่ียนแปลงทางภูมิศาสตร์ของโลก ไม่วา่ จะเป็ นการเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยา สภาพลมฟ้า
อากาศ ลกั ษณะภูมิประเทศ ย่อมส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต เพราะสิ่งแวดลอ้ มเหล่าน้ีทาให้มีการ
เปลี่ยนแปลงในองคป์ ระกอบ การกระจายผลผลิต กล่าวโดยสรุปสิ่งแวดลอ้ มมีอิทธิพลต่อสัตวเ์ ล้ียง
ภายในฟาร์มดงั น้ี

5.1 อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมต่อการกระจายตวั ของสัตวเ์ ล้ียง ลกั ษณะสิ่งแวดลอ้ มทาง
กายภาพ มีความสัมพนั ธ์เก่ียวขอ้ งกบั จานวน ความหนาแน่น และการกระจายตวั ของสัตวเ์ ล้ียง เช่น
การเล้ียงไก่แบบโรงเรือนเปิ ด กบั โรงเรือนปิ ด ความหนาแน่นในการเล้ียงกแ็ ตกตา่ งกนั ดว้ ย กล่าวคือ
ในการเล้ียงแบบโรงเรือนปิ ดที่สามารถควบคุมอุณหภูมิภายในได้ จะมีจานวนไก่ท่ีเล้ียงหนาแน่น
กวา่ การเล้ียงแบบโรงเรือนเปิ ด ซ่ึงใชพ้ ้นื ที่ในการเล้ียงเท่ากนั

5.2 อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมต่อความเป็ นอยู่ของสัตวเ์ ล้ียงภายในฟาร์ม ส่ิงแวดล้อม
ทางกายภาพ ไดแ้ ก่ ลกั ษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ มีความสาคญั และมีอิทธิพลตอ่ สภาพความเป็นอยู่
กิจกรรมต่างของสัตว์ เช่น เม่ือสภาพอากาศร้อน สัตวจ์ ะไม่ค่อยกินอาหาร จะกินแต่น้า เพ่ือช่วย
ระบายความร้อนในร่างกาย

6. ผลของการใช้เทคโนโลยใี นการพฒั นาฟาร์มเลยี้ งสัตว์

เทคโนโลยี คือ วิทยาการที่เก่ียวกบั ศิลปะในการนาเอาวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ให้
เกิดประโยชน์ในทางปฏิบตั ิ โดยเทคโนโลยที ี่นามาใชใ้ นวงการการเล้ียงสัตวข์ องประเทศไทย เป็ น
เทคโนโลยีท่ีช่วยในขบวนการผลิตสัตว์ เช่น เทคโนโลยีในฟาร์มระบบปิ ด ท่ีช่วยในการควบคุม
อุณหภูมิภายในโรงเรือนใหส้ ัตวอ์ ยูไ่ ดส้ บาย ระบบการให้น้าใหอ้ าหารสัตวเ์ ล้ียง ระบบการกาจดั
ของเสียในฟาร์ม เคร่ืองมืออุปกรณ์ในการผสมเทียม ระบบการจดั การด้านเอกสารและธุรการ
ภายในฟาร์ม ฯลฯ เทคโนโลยีต่างๆ นามาใชใ้ นฟาร์มเล้ียงสัตวช์ ่วยพฒั นาการทางานให้เป็ นระบบ
และรวดเร็วมากยงิ่ ข้ึน

6.1 ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยตี ่อส่ิงแวดล้อมในฟาร์มเลยี้ งสัตว์
ผลเสียที่เกิดจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ควบคู่มาด้วย คือ ปัญหา

มลพิษ เช่น น้าเน่าเสีย อากาศเป็ นพิษ ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล เป็ นตน้ ยง่ิ มีการใชเ้ ทคโนโลยีจาพวก
เคร่ืองจกั รกลตา่ งๆ มากเท่าใด ปัญหาต่างๆ กย็ งิ่ เพมิ่ ข้ึนเท่าน้นั

เอกสารประกอบการสอน 10 วชิ าการจัดการส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสตั วเ์ ล้ยี ง

6.2 สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อมในฟาร์มเลยี้ งสัตว์อนั เนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยี

6.2.1 การเลือกใชเ้ ทคโนโลยีในงานฟาร์มท่ีไม่เหมาะสม และการใชส้ ารเคมีต่างๆ
มากเกินความจาเป็ น ทาให้เสียสมดุลของสภาวะแวดลอ้ ม รวมท้งั ก่อให้เกิดสารพิษต่างๆ ทาให้
สภาวะแวดลอ้ มในฟาร์มและบริเวณรอบนอกเป็ นพิษ ส่งผลกระทบต่อสัตวใ์ นฟาร์มและบุคคลที่
อาศยั อยภู่ ายในฟาร์มรวมท้งั ชุมชนรอบขา้ ง

6.2.2 พฤติกรรมของมนุษย์ ไดแ้ ก่ การขาดความรู้ทางดา้ นการจดั การสิ่งแวดลอ้ มที่
เหมาะสม ประชาชนส่วนใหญ่ยงั ขาดจิตสานึกต่อการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม รวมท้งั ผูป้ ระกอบการบาง
คนที่ขาดความรับผิดชอบไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย หรือปฏิบตั ิตามกฎหมายแต่ไม่ต่อเน่ืองหรือ
หลีกเลี่ยงการปฏิบีติบางข้นั ตอนที่ตอ้ งใชง้ บประมาณในการลงทุนสูง และอาจเกิดจากการขาด
แคลนเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐท่ีเกี่ยวขอ้ งในการติดตามตรวจสอบ ทาใหไ้ ม่สามารถตรวจสอบการจดั การ
ฟาร์มไดอ้ ยา่ งทว่ั ถึง ส่งผลให้ไม่สามารถบงั คบั ใช้กฎหมายไดอ้ ยา่ งทนั ท่วงที จึงทาให้เกิดปัญหา
ดา้ นส่ิงแวดลอ้ มและส่งผลกระทบต่อชุมชนใกลเ้ คียงได้

6.2.3 การเล้ียงสัตวท์ ี่ใชเ้ ทคโนโลยีสมยั ใหม่ ทาให้สามารถเล้ียงสัตวใ์ นปริมาณท่ี
หนาแน่นมากข้ึน และผูป้ ระกอบการทาฟาร์มเล้ียงสัตวเ์ หมือนเป็ นโรงงานผลิตเน้ือ นม ไข่ ที่
ตอ้ งการกาไรสูงและผลผลิตมากดว้ ย จึงตอ้ งเล้ียงอยา่ งต่อเนื่อง มีระยะเวลาในการพกั โรงเรือนส้ัน
เพ่ือให้ไดผ้ ลผลิตเพียงพอกบั ความตอ้ งการบริโภคในเชิงธุรกิจ ก่อให้เกิดปัญหามลภาวะทาง
อากาศ ฝ่ นุ ละออง เกิดสิ่งขบั ถ่าย ท่ีก่อใหเ้ กิดกล่ินเหมน็ เกิดปัญหาเร่ืองน้าเสีย เป็นตน้ (จกั รกริศน์,
2559)

สรุป

การจดั การสิ่งแวดลอ้ มที่ถูกตอ้ งตามหลกั การ เป็ นกระบวนการจดั การท่ีมีกลไกควบคุม
อย่างเป็ นระบบ ภายใตห้ ลกั การอนุรักษ์ ใชท้ รัพยากรอยา่ งประหยดั รู้คุณค่าและเกิดประโยชน์
สูงสุด มีข้นั ตอนการดาเนินงานที่ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ ไม่เกิดผลกระทบต่อระบบสิ่งแวดล้อม
เพือ่ ใหม้ นุษย์ และสัตวส์ ามารถใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรและอยรู่ ่วมกบั สิ่งแวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยนื

เอกสารประกอบการสอน 11 วิชาการจดั การสิ่งแวดลอ้ มในฟาร์มสัตว์เลย้ี ง

เอกสารอ้างองิ และแหล่งความรู้

เกษม จนั ทร์แกว้ . 2553. วทิ ยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. พิมพค์ ร้ังที่ 8. สานกั พิมพม์ หาวทิ ยาลยั
เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 357 หนา้ .

จกั รกริศน์ เน่ืองจำนงค.์ 2559. สุขศำสตร์ปศุสัตว.์ พมิ พค์ ร้ังที่ 2. สานกั พิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั , กรุงเทพฯ. 279 หนา้ .

วนิ ยั วรี ะวฒั นำนนท์ และอุทุมพร ไพลิน. 2546. การจัดการส่ิงแวดล้อมเบือ้ งต้น (2000-0004).
หมวดวชิ ำชีพพ้นื ฐำน ปวช. กรมอำชีวศึกษำ, ประสำนมิตร กรุงเทพฯ. 176 หนำ้ .


Click to View FlipBook Version