ค ำน ำ รายงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี จัดท า ขึ้นเพื่อรวบรวมผลการด าเนินงานตามกิจกรรมต่างๆ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเผยแพร่ และเป็น สื่อประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้สนใจได้ทราบข้อมูล และติดต่อ ประสานงานได้อย่างถูกต้อง ตามนโยบายของกรมพัฒนาที่ดิน สถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสถานีพัฒนาที่ดินชลบุรีฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานทุกภาคส่วน รวมถึง นักวิชาการ เกษตรกร และประชาชนผู้ที่สนใจ สามารถน าไปปรับใช้เป็นข้อมูลทางวิชาการ และต่อยอดในการส่งเสริมงานด้านการพัฒนาที่ดินเพื่อการเกษตรอย่างยั่งยืนต่อไป สถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี ตุลาคม 2566
หน้า ประวัติสถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี 1 แผนผังสถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี 2 หน้าที่และความรับผิดชอบ 3 บุคลากรสถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี 4 พื้นที่รับผิดชอบของฝ่ายวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน 6 ข้อมูลทั่วไปจังหวัดชลบุรี 8 งาน/โครงการต่าง ๆ ของหน่วยพัฒนาที่ดินชลบุรี ปีงบประมาณ 2566 26 กิจกรรมหลักที่ 6 การยกระดับการพัฒนาหมอดินอาสาเพื่อมีส่วนร่วมและต่อยอดศูนย์ปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน 32 กิจกรรมหลักที่ 7 ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน 45 กิจกรรมหลักที่ 8 ปรับปรุงคุณภาพดินในพื้นที่ดินปัญหา 47 กิจกรรมหลักที่ 9 ฟื้นฟูและป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน 50 กิจกรรมหลักที่ 11 ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ 55 กิจกรรมหลักที่ 12 ส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร 57 กิจกรรมหลักที่ 13 ส่งเสริมเกษตรกรผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์ด้วยระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)(เพิ่มเติม) 64 กิจกรรมหลักที่ 14 พัฒนาคุณภาพดินในระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 66 กิจกรรมหลักที่ 16 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินพื้นที่โครงการ 1 ต าบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ 68 กิจกรรมหลักที่ 19 การบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับต าบล 69 กิจกรรมหลักที่ 23 การก่อสร้างแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน 75 กิจกรรมหลักที่ 26 ส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 77 กิจกรรมหลักที่ 30 พัฒนาเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) 82 โครงการเพิ่มผลิตภาพการเกษตร บนฐานทรัพยากรดิน 85 ภาคผนวก ก กิจกรรมภายในสถานี 88 ภาคผนวก ข กิจกรรมร่วมกับจังหวัดชลบุรี 114 สำรบัญ
ประวัติสถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี สถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี ตั้งอยู่เลขที่ 10/1 บ้านเนินกระบก หมู่ 4 ต าบลเหมือง อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ห่างจากตัวเมืองชลบุรีประมาณ 15 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 78-1–95 ไร่ โดยเริ่มบุกเบิกเมื่อปี พ.ศ.2506 ลักษณะภูมิประเทศของสถานีพัฒนาที่ดินชลบุรีตั้งอยู่ ติดเชิงเขา (เขาปูติดต่อกับเขาเขียว) มีความลาดชัน 8% เป็นกลุ่มชุดดินที่ 36 และ 39 เนื้อ ดินเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ าตาล สีเหลือง สีแดง เกิดจากการสลายตัวผุพังของหินเนื้อหยาบ มีการระบายน้ าดี ความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ า สถานีพัฒนาที่ดินชลบุรีเป็นหน่วยงานบริหารราชการส่วนภูมิภาคของ กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยให้บริการแนะน าเผยแพร่ความรู้ เรื่องการพัฒนาดิน บริการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า การปรับปรุงบ ารุงดิน ฝึกอบรม หมอดินอาสา การพัฒนาแหล่งน้ าในไร่นาขนาด 1,260 ลบ.ม. ส่งเสริมการใช้หญ้าแฝก ป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน สนับสนุนกล้าหญ้าแฝก เมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด(ปอเทือง) ปัจจัยการผลิต เช่น สารเร่งพด. ปุ๋ยหมัก น้ าหมักชีวภาพ และสารปรับปรุงดิน (ปูนมาร์ลและ โดโลไมท์) บริการเก็บตัวอย่างดินและน้ า เพื่อวิเคราะห์ มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบดูแลในแต่ละ อ าเภอของพื้นที่จังหวัดชลบุรี สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 1
TEAM For Soils (ทีมดี ดินดี) T-Teamwork : สร้างทีม E-Energetic : ท างานเชิงรุกอย่างมีพลัง A-Agile : คล่องแคล่ว M-Move Forward : มุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน เป็นองค์การอัจฉริยะทางดิน เพื่อขับเคลื่อนการใช้ที่ดินอย่างเหมาะสม 15 ล้านไร่ (ภายในปี 2570) แผนผังสถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี วิสัยทัศน์ ค่านิยม สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 2
• ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการพัฒนาที่ดินและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง • ศึกษา ส ารวจ วิเคราะห์ และจ าแนกดิน เพื่อก าหนดนโยบายและวางแผนการใช้ ที่ดิน การก าหนดบริเวณการใช้ที่ดิน การควบคุมการใช้ที่ดินบริเวณที่มีการใช้หรือ ท าให้เกิดการปนเปื้อนของสารเคมี หรือวัตถุอื่นใด การก าหนดเขตอนุรักษ์ดินและ น้ า รวมทั้งติดตามสถานการณ์สภาพการใช้ที่ดิน • ศึกษา วิจัย และพัฒนาการอนุรักษ์ดินและน้ า การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อ การเกษตรในไร่นา การปรับปรุงบ ารุงดิน การผลิตและใช้เทคโนโลยีชีวภาพทางดิน การปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดิน การจัดการที่ดินเพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่มและลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร • ให้บริการวิเคราะห์และตรวจสอบดิน น้ า พืช ปุ๋ย พร้อมให้ค าแนะน าเพื่อการ อนุรักษ์ดินและน้ า การปรับปรุงบ ารุงดิน และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่ดิน • ศึกษา วิเคราะห์ และผลิตแผนที่ภาพถ่าย จัดท าส ามะโนที่ดิน และพัฒนาระบบ แผนที่ฐาน เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการใช้ การพัฒนาการผลิต การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตรและอื่น ๆ • ถ่ายทอดผลการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และให้บริการด้านการพัฒนาที่ดิน รวมทั้ง สร้างเครือข่ายหมอดินอาสา และกลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง เพื่อรองรับการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาที่ดินและด้านอื่น ๆ • รวบรวมและจัดท าข้อมูลสารสนเทศของหน่วยงานในพื้นที่ ตลอดจนวิเคราะห์ สนับสนุน ผลิต และให้บริการข้อมูลสารสนเทศด้านการพัฒนาที่ดินแก่หน่วยงาน อื่นที่เกี่ยวข้อง • ผลิตพันธุ์พืชต่างๆ เพื่อน ามาใช้ในการอนุรักษ์ดินและน้ าและการปรับปรุงบ ารุงดิน • ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฎิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ ได้รับมอบหมาย หน้าที่และความรับผิดชอบ สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 3
บุคลากรสถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี ข้าราชการ นางสาววรารัตน์ ลีวรางกุล นักวิชาการเกษตรช านาญการพิเศษ นางสาวประภาศรี แก้วค า เจ้าพนักงานการเกษตรอาวุโส นางสาวพัชราภรณ์ วงษ์แสง นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ นางสาวสุภา ไกรผล นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ นางจุฬาลักษณ์ แก้วอ่อน ผู้อ านวยการสถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี นางสาวเนตรณพิศ นาคอ่วมค้า นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ นางสาวมนตรี ภูมิไสล นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ นางสมหวัง ผ่านอ้น เจ้าพนักงานธุรการช านาญงาน สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 4
บุคลากรสถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี ลูกจ้างประจ า พนักงานราชการ นายค าดี โพสอน พนักงานรักษาความ ปลอดภัย นายส าเริง ดวงดาว พนักงานขับเครื่องจักรกล ขนาดกลาง ช 2 นายใจเพชร ถนอมพันธ์ พนักงานขับเครื่องจักรกล ขนาดกลาง ช 2 นายอุดร กลิ่นกุหลาบ พนักงานขับเครื่องจักรกล ขนาดกลาง ช 2 นายอาคม กลั่นเฉื่อย นักวิชาการเกษตร นายณรงค์ วิริยประเสริฐ นักวิชาการเกษตร นางปนัจชญา ทองราช เจ้าหน้าที่ บริหารงานทั่วไป นางสาวนภาภรณ์ นิลทรัพย์ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ นโยบายและแผน นางสาวมรกต สุวรรณลักษณ์ เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ นางสาวกันต์ชิสา พรมเต็ม นักวิชาการเงินและบัญชี นางสาวนภาวรรณ ประดิษฐ์พงษ์ เจ้าหน้าที่แผนที่ภาพถ่าย สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 5
พื้นที่รับผิดชอบของฝ่ายวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน แผนที่พื้นที่รับผิดชอบของหน่วยวิชาการ จังหวัดชลบุรี หน่วยวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดินที่ 1 นางสาววรารัตน์ ลีวรางกุล และนายมนตรี ภูมิไสล พื้นที่รับผิดชอบ อ าเภอบ่อทอง อ าเภอเกาะจันทร์ อ าเภอหนองใหญ่ อ าเภอพนัสนิคม อ าเภอเมืองชลบุรี หน่วยวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดินที่ 2 นางสาวพัชราภรณ์ วงษ์แสง และนางสาวเนตรณพิศ นาคอ่วมค้า พื้นที่รับผิดชอบ อ าเภอบ้านบึง อ าเภอพานทอง อ าเภอศรีราชา หน่วยวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดินที่ 3 นางสาวสุภา ไกรผล พื้นที่รับผิดชอบ พื้นที่รับผิดชอบ อ าเภอบางละมุง อ าเภอสัตหีบ อ าเภอเกาะสีชัง สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 6
ข้อมูลทั่วไปจังหวัดชลบุรี จังหวัดชลบุรีตั้งอยู่ในภาคตะวันออกของประเทศไทย หรือริมฝั่งทะเลตะวันออก ของอ่าวไทยประมาณเส้นรุ้งที่ 12 องศา 30 ลิปดา ถึง 13 องศา 43 ลิปดาเหนือ และ เส้นแวงที่ 100 องศา 45 ลิปดา ถึง 101 องศา 45 ลิปดาตะวันออก ระยะทางจาก กรุงเทพมหานครตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 (ถนนสายบางนา-ตราด) รวม ระยะทางประมาณ 81 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีเส้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 หรือ Motorway (กรุงเทพฯ-ชลบุรี) ระยะทาง 79 กิโลเมตร ใช้ระยะเวลาในการเดินทาง ประมาณ 45 นาทีเท่านั้น จังหวัดชลบุรีมีพื้นที่ทั้งสิ้น 2,726,875 ไร่(4,363 ตารางกิโลเมตร) คิดเป็น ร้อยละ 0.85 ของพื้นที่ประเทศไทย (พื้นที่ของประเทศไทยประมาณ 320,696,875 ไร่ หรือ 513,115 ตารางกิโลเมตร) ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต้ ติดกับจังหวัดระยอง ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดระยอง ทิศตะวันตก ติดกับชายฝั่งทะเลตะวันออกของอ่าวไทย จังหวัดชลบุรีแบ่งเขตการปกครองออกแบ่งเป็น 11 อ าเภอ 92 ต าบล 687 หมู่บ้าน การปกครองส่วนท้องถิ่นประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล นคร 2 แห่ง ได้แก่ เทศบาลนครแหลมฉบัง และเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เทศบาลเมือง 10 แห่ง เทศบาลต าบล 35 แห่ง องค์การบริหารส่วนต าบล 50 แห่ง และมีรูปแบบการปกครองพิเศษ 1 แห่ง คือ เมืองพัทยา แยกจากการปกครองของ อ าเภอบางละมุง เนื่องจากเป็นเมืองท่องเที่ยวระดับนานาชาติซึ่งมีการเจริญเติบโตอย่าง รวดเร็ว อ าเภอทั้ง 11 ของจังหวัดชลบุรีได้แก่ อ าเภอเมืองชลบุรี อ าเภอพนัสนิคม อ าเภอเกาะสีชัง อ าเภอบ่อทอง อ าเภอพานทอง อ าเภอบ้านบึง อ าเภอบางละมุง อ าเภอ หนองใหญ่ อ าเภอศรีราชา อ าเภอเกาะจันทร์ อ าเภอสัตหีบ ที่ตั้งและอาณาเขตจังหวัดชลบุรี เขตการปกครองจังหวัดชลบุรี สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 7
มีการผสมผสานกันมากถึง 5 แบบ ทั้งที่ราบลูกคลื่นและเนินเขา ที่ราบชายฝั่ง ทะเล ที่ราบลุ่มแม่น้ าบางปะกง พื้นที่สูงชันและภูเขา รวมถึงเกาะน้อยใหญ่อีก มากมาย ที่ราบลูกคลื่นและเนินเขาของชลบุรี พบได้ทางด้านตะวันออกของจังหวัดใน เขตอ าเภอบ้านบึง พนัสนิคม หนองใหญ่ ศรีราชา บางละมุง สัตหีบและบ่อทอง พื้นที่นี้ มีลักษณะสูงๆ ต่ าๆ คล้ายลูกระนาด ปัจจุบันพื้นที่นี้ส่วนใหญ่ถูกใช้ไปในการปลูก มันส าปะหลัง ส าหรับที่ราบชายฝั่งทะเล นั้นพบตั้งแต่ปากแม่น้ าบางปะกงถึงอ าเภอ สัตหีบเป็นที่ราบแคบๆ ชายฝั่งทะเล มีภูเขาลูกเล็กๆ สลับเป็นบางตอน ถัดมาคือพื้นที่ ราบลุ่มแม่น้ า บางปะกง มีล าน้ าคลองหลวง ยาว 130 กิโลเมตร ต้นน้ าอยู่ที่อ าเภอ บ่อทองและอ าเภอบ้านบึงผ่านพนัสนิคมไปบรรจบเป็นคลองพานทอง ไหลลงสู่แม่น้ า บางปะกง โดยดินตะกอนอันอุดมสมบูรณ์จากการพัดพาของแม่น้ าบางปะกงนี้เองได้ ก่อให้เกิดที่ราบลุ่มเหมาะสมต่อการเกษตรกรรม ส่วนพื้นที่สูงชันและภูเขานั้นอยู่ ตอนกลางและด้านตะวันออกของจังหวัด ตั้งแต่อ าเภอเมืองฯ บ้านบึง ศรีราชา หนองใหญ่และบ่อทอง ที่อ าเภอศรีราชานั้นเป็นต้นน้ าของอ่างเก็บน้ าบางพระแหล่งน้ า อุปโภคบริโภคหลักแห่งหนึ่งของชลบุรี จังหวัดชลบุรีมีชายฝั่งทะเลยาวถึง 160 กิโลเมตร เว้าแหว่งคดโค้งสวยงาม เกิดเป็นหน้าผาหิน หาดทรายทอดยาว ป่าชายเลน ป่าชายหาด ฯลฯ ซึ่งอ่าวหลายแห่ง สามารถพัฒนาไปเป็นท่าจอดเรือก าบังคลื่นลมได้เป็นอย่างดีอาทิท่าจอดเรือรบที่ อ าเภอสัตหีบ เป็นต้น ส าหรับเกาะส าคัญๆ มีอยู่ไม่น้อยกว่า 46 เกาะ เช่น เกาะสีชัง เกาะ ค้างคาวเกาะริ้น เกาะไผ่ เกาะลอย เกาะล้าน เกาะครก เกาะสาก เกาะขาม เกาะแสมสาร และเกาะครามที่อยู่ในเขตทหารเรือของอ าเภอสัตหีบเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ และอนุบาล เต่าทะเลที่หายากและใกล้สูญพันธุ์ของไทย เป็นต้น โดยเกาะเหล่านี้ท าหน้าที่เป็น ปราการธรรมชาติช่วยป้องกันพาณิชย์ขนาดใหญ่ อาทิท่าเรือแหลมฉบัง เป็นต้น ภูมิประเทศอันหลากหลายดังกล่าว หล่อหลอมให้ชลบุรีสามารถพัฒนากิจกรรมต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นด้านการเกษตร อุตสาหกรรม การพาณิชย์การท่องเที่ยว และการคมนาคมที่สะดวกสบาย ลักษณะภูมิประเทศ สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 8
แผนที่จังหวัดชลบุรี สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 9
สภาพภูมิอากาศ มีรายละเอียดดังนี้ 1. สภาวะอากาศทั่วไป ลักษณะอากาศของจังหวัดชลบุรี ขึ้นอยู่กับอิทธิพลของ ลมมรสุมที่พัดประจ าฤดูกาล 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ที่พัดปกคลุม ในช่วงฤดูหนาวตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งจะน าความเย็น มาสู่จังหวัดและคลื่นลมปานกลางกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมในช่วงฤดูฝน ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ท าให้มีฝนตกชุกและคลื่นลมแรง 2. ฤดูกาล พิจารณาตามลักษณะลมฟ้าอากาศของประเทศไทย แบ่งออกได้เป็น 3 ฤดู ดังนี้ ฤดูร้อน - เริ่มตั้งแต่ฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสิ้นสุดลง คือประมาณกลางเดือน กุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดูนี้จะมีลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุม โดยมีก าลังค่อนข้างแรงและสม่ าเสมอ อย่างไรก็ตามในฤดูร้อนจังหวัดชลบุรี จะมีอากาศ ไม่ร้อนมากนัก เนื่องจากมีลมทะเลช่วยบรรเทาความร้อน แต่จะมีคลื่นลมค่อนข้างแรง ในช่วงบ่ายและเย็น ฤดูฝน - เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่มรสุมตะวันตก เฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย ซึ่งจะน าความชื้นจากทะเลอันดามันพัดผ่านอ่าวไทย เข้าสู่ภาคตะวันออก ในระยะเริ่มต้นของมรสุมจะปรากฏมีฝนฟ้าคะนอง ในเดือน มิถุนายนฝนจะลดลงและเป็นช่วงฝนทิ้งช่วง เดือนที่มีฝนตกชุกคือเดือนสิงหาคม กันยายนและตุลาคม โดยปริมาณฝนจะลดลงอย่างชัดเจนอีกครั้งประมาณเดือน พฤศจิกายน แสดงให้เห็นว่าฤดูฝนได้สิ้นสุดลง ฤดูหนาว - เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งฤดูมรสุมตะวันออกเฉียง ใต้พัดปกคลุมประเทศไทยและบริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนที่มีคุณสมบัติ เย็นและแห้งแผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยในช่วงนี้ แต่เนื่องจากจังหวัดชลบุรีอยู่ใน ละติจูดที่ค่อนข้างต่ า ไกลจากศูนย์กลางของบริเวณความกดอากาศสูง ท าให้อากาศ หนาวเย็นที่แผ่ลงมาได้คลายความเย็นลงไปประกอบกับจังหวัดชลบุรีมีชายฝั่งทะเลท า ให้อากาศ ไม่หนาวเย็นมากนัก 3. อุณหภูมิ เนื่องจากจังหวัดชลบุรีเป็นจังหวัดที่อยู่ติดชายฝั่งทะเล และอยู่ใน ภาคตะวันออกของประเทศ อุณหภูมิของจังหวัดชลบุรีตลอดทั้งปีไม่เปลี่ยนแปลงมาก นัก อุณภูมิโดยเฉลี่ยทั้งปี 28.9 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 33.5 องศา เซลเซียส โดยมีอากาศร้อนที่สุดในเดือนเมษายน ส่วนในฤดูหนาวมีอากาศเย็นสบาย อุณหภูมิต่ าสุดเฉลี่ย 25.4 องศาเซลเซียส ในเดือนธันวาคม (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2566) ลักษณะภูมิอากาศ สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 10
4. ปริมาณน้ าฝน บริเวณจังหวัดชลบุรีมีปริมาณน้ าฝนรวมทั้งปี 1,302.3 มิลลิเมตร มี ฝนตกประมาณ 121 วัน เดือนที่มีฝนตกมากที่สุด ในเดือนกันยายนมีปริมาณฝน 270.7 มิลลิเมตร และมีฝนตกประมาณ 20 วัน (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2566) 5. สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร 5.1 จากข้อมูลสถิติภูมิอากาศในคาบ 30 ปี (ปี พ.ศ.2536-2565) ณ สถานี ตรวจอากาศจังหวัดชลบุรี ได้น ามาวิเคราะห์สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร ซึ่งเป็นการวิเคราะห์หา ช่วงฤดูกาลเพาะปลูกพืช ตลอดจนช่วงระยะเวลาที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ า ข้อมูลที่น ามาวิเคราะห์ คือ ปริมาณน้ าฝน และศักยภาพการคายระเหยน้ าอ้างอิง (ETo) ซึ่งค านวณด้วยโปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 โดยใช้สมการ Penman-Monteith สามารถสรุปสมดุล ของน้ าเพื่อการเกษตรในเขตอาศัยน้ าฝนได้ดังนี้ ช่วงที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช - เป็นช่วงที่ค่าปริมาณน้ าฝนมากกว่าค่า 0.5 การระเหยจากผิว ดินและการคายน้ าของพืช เป็นช่วงที่ดินมีความชุ่มชื้นพอเหมาะต่อการเพาะปลูกพืช เป็นช่วงที่ดินมี ความชุ่มชื้นพอเหมาะต่อการเพาะปลูกพืช ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือน พฤศจิกายน ช่วงที่มีน้ ามากเกินพอ - เป็นช่วงที่ค่าปริมาณน้ าฝนมากกว่าค่าการระเหยจากผิวดินและการ คายน้ าของพืช ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งแต่ต้นเดือนเมษายนถึงต้นเดือนพฤศจิกายน ช่วงขาดน้ า - เป็นช่วงฤดูแล้งที่ค่าปริมาณน้ าฝนน้อยกว่าค่า 0.5 การระเหยจากผิวดินและ การคายน้ าของพืช ซึ่งพืชอาจเสียหายจากการขาดแคลนน้ าได้ ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งแต่กลางเดือน พฤศจิกายนถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ (ตารางที่ 1 และรูปที่ 1) สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 11
เดือน อุณหภูมิ (°ซ) ความชื้น สัมพัทธ์ ปริมาณ น้้าฝน จ้านวน วันที่ฝนตก ศักยภาพ การคายระเหยน้้า ปริมาณ ฝนใช้การ/1 ต ่ำสุด สูงสุด เฉลี ย (%) (มม.) (วัน) (มม.) (มม.) ม.ค. 23.0 32.6 27.3 67.0 19.6 2.3 71.0 19.0 ก.พ. 24.5 33.2 28.3 70.0 16.1 2.5 67.2 15.7 มี.ค. 25.9 34.1 29.4 72.0 62.9 5.7 78.7 56.6 เม.ย. 26.8 35.0 30.3 72.0 87.1 8.0 79.8 75.0 พ.ค. 26.9 34.6 30.2 74.0 155.8 13.7 81.5 117.0 มิ.ย. 26.8 34.0 30.0 74.0 141.0 14.5 78.0 109.2 ก.ค. 26.6 33.4 29.5 75.0 146.8 15.5 80.0 112.3 ส.ค. 26.3 33.3 29.3 76.0 161.2 16.4 79.4 119.6 ก.ย. 25.6 32.8 28.6 79.0 270.7 19.7 71.4 152.1 ต.ค. 25.1 33.0 28.4 78.0 191.7 16.1 69.8 132.9 พ.ย. 24.3 33.3 28.3 70.0 41.5 5.2 71.1 38.7 ธ.ค. 22.8 32.6 27.2 64.0 7.9 1.4 75.6 7.8 เฉลี่ย 25.4 33.5 28.9 72.6 - - - - รวม - - - - 1,302.3 121.0 903.5 955.9 ตำรำงที่ 1 สถิติภูมิอากาศ ณ สถานีตรวจอากาศจังหวัดชลบุรี (ปี พ.ศ.2536-2565) หมำยเหตุ : /1 จากการค านวณโดยโปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 ที่มำ : กรมอุตุนิยมวิทยา (2566) ภำพที่ 1 กราฟสมดุลของน าเพื่อการเกษตร ปี พ.ศ. 2536-2565 0 50 100 150 200 250 300 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. มม. เดือน ปริมาณน าฝน การระเหยและคายน า 0.5 การระเหยและคายน า ช่วงเพาะปลูกพืช ช่วงขาดน า ช่วงน ามากพอ ช่วงขาดน า สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 12
5.2 จากข้อมูลสถิติภูมิอากาศในคาบ 30 ปี (ปี พ.ศ.2536-2565) ณ สถานี ตรวจอากาศจังหวัดฉะเชิงเทรา ได้น ามาวิเคราะห์สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร ซึ่งเป็นการ วิเคราะห์หาช่วงฤดูกาลเพาะปลูกพืช ตลอดจนช่วงระยะเวลาที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ า ข้อมูลที่น ามา วิเคราะห์ คือ ปริมาณน้ าฝน และศักยภาพการคายระเหยน้ าอ้างอิง (ETo) ซึ่งค านวณด้วย โปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 โดยใช้สมการ Penman-Monteith สามารถสรุป สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตรในเขตอาศัยน้ าฝนได้ดังนี้ ช่วงที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช - เป็นช่วงที่ค่าปริมาณน้ าฝนมากกว่าค่า 0.5 การระเหย จากผิวดินและการคายน้ าของพืช เป็นช่วงที่ดินมีความชุ่มชื้นพอเหมาะต่อการเพาะปลูกพืช เป็นช่วง ที่ดินมีความชุ่มชื้นพอเหมาะต่อการเพาะปลูกพืช ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งแต่ต้นเดือนมีนาคมถึงต้นเดือน พฤศจิกายน ช่วงที่มีน้ ามากเกินพอ - เป็นช่วงที่ค่าปริมาณน้ าฝนมากกว่าค่าการระเหยจากผิวดินและ การคายน้ าของพืช ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งแต่กลางเดือนเมษายนถึงปลายเดือนตุลาคม ช่วงขาดน้ า - เป็นช่วงฤดูแล้งที่ค่าปริมาณน้ าฝนน้อยกว่าค่า 0.5 การระเหยจากผิวดินและ การคายน้ าของพืช ซึ่งพืชอาจเสียหายจากการขาดแคลนน้ าได้ ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งต้นเดือน พฤศจิกายนถึงต้นเดือนมีนาคม (ตารางที่ 2 และรูปที่ 2) สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 13
เดือน อุณหภูมิ (°ซ) ความชื้น สัมพัทธ์ ปริมาณ น้้าฝน จ้านวนวันที่ ฝนตก ศักยภาพการ คายระเหยน้้า ปริมาณฝน ใช้การ/1 ต ่ำสุด สูงสุด เฉลี ย (%) (มม.) (วัน) (มม.) (มม.) ม.ค. 19.7 32.9 25.4 69.0 21.8 2.2 107.9 21.0 ก.พ. 21.4 34.3 26.8 72.0 28.1 3.6 110.6 26.8 มี.ค. 23.2 35.3 27.9 76.0 88.6 7.7 130.8 76.0 เม.ย. 24.2 35.6 28.4 79.0 132.5 10.0 135.6 104.4 พ.ค. 25.0 34.6 28.4 82.0 166.7 15.5 128.0 122.2 มิ.ย. 24.9 33.8 28.2 82.0 144.4 16.1 115.8 111.0 ก.ค. 24.5 33.0 27.6 83.0 174.1 18.4 110.4 125.6 ส.ค. 24.5 32.9 27.6 83.0 168.1 18.4 112.5 122.9 ก.ย. 24.1 32.4 27.1 86.0 277.1 20.0 106.2 152.7 ต.ค. 23.6 32.4 26.9 85.0 174.2 14.5 109.7 125.6 พ.ย. 22.1 32.6 26.3 79.0 39.0 5.0 106.2 36.6 ธ.ค. 19.8 32.2 25.1 72.0 5.7 1.7 107.6 5.6 เฉลี่ย 23.1 33.5 27.1 79.0 - - - - รวม - - - - 1,420.3 133.1 1,381.3 1,030.4 0 50 100 150 200 250 300 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. มม. เดือน ปริมาณน าฝน การระเหยและคายน า 0.5 การระเหยและคายน า ช่วงเพาะปลูกพืช ช่วงขาดน า ช่วงขาดน า ช่วงน ามากพอ ตำรำงที่ 2 สถิติภูมิอากาศ ณ สถานีตรวจอากาศจังหวัดฉะเชิงเทรา/1 (ปี พ.ศ.2536-2565) หมำยเหตุ : /1 จากการค านวณโดยโปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 ที่มำ : กรมอุตุนิยมวิทยา (2566) รูปที่ 2 กราฟสมดุลของน าเพื่อการเกษตร ปี พ.ศ. 2536-2565 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 14
5.3 จากข้อมูลสถิติภูมิอากาศในคาบ 30 ปี (ปี พ.ศ.2536-2565) ณ สถานี ตรวจอากาศแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ได้น ามาวิเคราะห์สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร ซึ่งเป็นการ วิเคราะห์หาช่วงฤดูกาลเพาะปลูกพืช ตลอดจนช่วงระยะเวลาที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ า ข้อมูลที่น ามา วิเคราะห์ คือ ปริมาณน้ าฝน และศักยภาพการคายระเหยน้ าอ้างอิง (ETo) ซึ่งค านวณด้วย โปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 โดยใช้สมการ Penman-Monteith สามารถสรุป สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตรในเขตอาศัยน้ าฝนได้ดังนี้ ช่วงที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช - เป็นช่วงที่ค่าปริมาณน้ าฝนมากกว่าค่า 0.5 การระเหยจากผิว ดินและการคายน้ าของพืช เป็นช่วงที่ดินมีความชุ่มชื้นพอเหมาะต่อการเพาะปลูกพืช เป็นช่วงที่ดินมี ความชุ่มชื้นพอเหมาะต่อการเพาะปลูกพืช ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งแต่กลางเดือนมีนาคมถึงกลางเดือน พฤศจิกายน ช่วงที่มีน้ ามากเกินพอ - เป็นช่วงที่ค่าปริมาณน้ าฝนมากกว่าค่าการระเหยจากผิวดินและ การคายน้ าของพืช ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งแต่ต้นเดือนพฤษภาคมถึงต้นเดือนพฤศจิกายน ช่วงขาดน้ า - เป็นช่วงฤดูแล้งที่ค่าปริมาณน้ าฝนน้อยกว่าค่า 0.5 การระเหยจากผิวดินและ การคายน้ าของพืช ซึ่งพืชอาจเสียหายจากการขาดแคลนน้ าได้ ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งกลางเดือน พฤศจิกายนถึงกลางเดือนมีนาคม (ตารางที่ 3 และรูปที่ 3) สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 15
เดือน อุณหภูมิ (°ซ) ความชื้น สัมพัทธ์ ปริมาณ น้้าฝน จ้านวน วันที่ฝนตก ศักยภาพการ คายระเหยน้้า ปริมาณฝน ใช้การ/1 ต ่ำสุด สูงสุด เฉลี ย (%) (มม.) (วัน) (มม.) (มม.) ม.ค. 22.6 32.1 28.3 65.0 22.4 2.1 85.9 21.6 ก.พ. 23.5 32.5 28.8 69.0 15.9 2.6 82.9 15.5 มี.ค. 24.9 32.8 29.3 74.0 48.3 4.8 97.3 44.6 เม.ย. 25.8 33.6 30.1 73.0 66.4 6.4 95.1 59.3 พ.ค. 26.0 33.2 30.1 74.0 119.7 11.0 99.2 96.8 มิ.ย. 25.9 32.2 29.6 75.0 146.7 12.5 98.4 112.3 ก.ค. 25.8 31.6 29.1 76.0 109.0 12.2 98.3 90.0 ส.ค. 25.4 31.7 29.1 76.0 108.8 12.7 96.7 89.9 ก.ย. 24.6 31.5 28.7 79.0 234.6 17.1 82.8 146.5 ต.ค. 24.1 31.5 28.5 79.0 209.2 15.9 75.3 139.2 พ.ย. 23.8 32.0 28.8 70.0 40.6 5.2 78.6 38.0 ธ.ค. 22.5 31.8 28.3 63.0 11.7 1.6 87.1 11.5 เฉลี่ย 24.6 32.2 29.1 72.8 - - - - รวม - - - - 1,133.3 104.1 1,077.6 865.2 ตำรำงที่ 3 สถิติภูมิอากาศ ณ สถานีตรวจอากาศแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี (ปี พ.ศ.2536-2565) หมำยเหตุ : /1 จากการค านวณโดยโปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 ที่มำ : กรมอุตุนิยมวิทยา (2566) 0 50 100 150 200 250 300 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. มม. เดือน ปริมาณน าฝน การระเหยและคายน า 0.5 การระเหยและคายน า ช่วงขาดน า ช่วงขาดน า ช่วงเพาะปลูกพืช ช่วงน ามากพอ รูปที่ 3 กราฟสมดุลของน าเพื่อการเกษตร ปี พ.ศ. 2536-2565 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 16
5.4 จากข้อมูลสถิติภูมิอากาศในคาบ 30 ปี (ปี พ.ศ.2536-2565) ณ สถานี ตรวจอากาศพัทยา จังหวัดชลบุรี ได้น ามาวิเคราะห์สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร ซึ่งเป็น การวิเคราะห์หาช่วงฤดูกาลเพาะปลูกพืช ตลอดจนช่วงระยะเวลาที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ า ข้อมูล ที่น ามาวิเคราะห์ คือ ปริมาณน้ าฝน และศักยภาพการคายระเหยน้ าอ้างอิง (ETo) ซึ่งค านวณด้วย โปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 โดยใช้สมการ Penman-Monteith สามารถสรุป สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตรในเขตอาศัยน้ าฝนได้ดังนี้ ช่วงที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช - เป็นช่วงที่ค่าปริมาณน้ าฝนมากกว่าค่า 0.5 การระเหยจากผิว ดินและการคายน้ าของพืช เป็นช่วงที่ดินมีความชุ่มชื้นพอเหมาะต่อการเพาะปลูกพืช เป็นช่วงที่ดิน มีความชุ่มชื้นพอเหมาะต่อการเพาะปลูกพืช ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งแต่กลางเดือนเมษายนถึงกลางเดือน พฤศจิกายน ช่วงที่มีน้ ามากเกินพอ - เป็นช่วงที่ค่าปริมาณน้ าฝนมากกว่าค่าการระเหยจากผิวดินและ การคายน้ าของพืช ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนพฤษภาคมถึงต้นเดือนพฤศจิกายน ช่วงขาดน้ า - เป็นช่วงฤดูแล้งที่ค่าปริมาณน้ าฝนน้อยกว่าค่า 0.5 การระเหยจากผิวดินและ การคายน้ าของพืช ซึ่งพืชอาจเสียหายจากการขาดแคลนน้ าได้ ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งกลางเดือน พฤศจิกายนถึงกลางเดือนเมษายน (ตารางที่ 4 และรูปที่ 4) สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 17
เดือน อุณหภูมิ (°ซ) ความชื้น สัมพัทธ์ ปริมาณ น้้าฝน จ้านวน วันที่ฝนตก ศักยภาพการคาย ระเหยน้้า ปริมาณฝน ใช้การ/1 ต ่ำสุด สูงสุด เฉลี ย (%) (มม.) (วัน) (มม.) (มม.) ม.ค. 23.5 30.5 26.5 73.0 18.2 2.6 121.2 17.7 ก.พ. 24.5 31.1 27.3 76.0 25.4 2.7 116.5 24.4 มี.ค. 25.6 31.9 28.3 78.0 50.6 5.3 135.2 46.5 เม.ย. 26.4 32.9 29.3 78.0 67.7 6.7 143.4 60.4 พ.ค. 26.6 32.7 29.4 78.0 120.6 10.9 130.8 97.3 มิ.ย. 26.4 32.0 29.0 77.0 137.6 12.3 120.9 107.3 ก.ค. 26.3 31.6 28.6 78.0 99.2 12.6 123.1 83.5 ส.ค. 26.2 31.5 28.5 78.0 101.3 12.9 118.4 84.9 ก.ย. 25.4 31.0 27.9 82.0 218.5 16.1 104.7 142.1 ต.ค. 24.8 30.9 27.3 83.0 225.5 16.6 108.5 144.1 พ.ย. 24.5 30.8 27.2 76.0 59.5 6.2 114.6 53.8 ธ.ค. 23.4 30.1 26.4 70.0 11.5 1.9 125.2 11.3 เฉลี่ย 25.3 31.4 28.0 77.3 - - - - รวม - - - - 1,135.6 106.8 1,462.5 873.3 ตำรำงที่ 4 สถิติภูมิอากาศ ณ สถานีตรวจอากาศพัทยา จังหวัดชลบุรี (ปี พ.ศ.2536-2565) หมำยเหตุ : /1 จากการค านวณโดยโปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 ที่มำ : กรมอุตุนิยมวิทยา (2566) 0 50 100 150 200 250 300 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. มม. เดือน ปริมาณน าฝน การระเหยและคายน า 0.5 การระเหยและคายน า ช่วงเพาะปช่วงขาดน ช่วงน ามากพอ ช่วงขาดน รูปที่ 4 กราฟสมดุลของน าเพื่อการเกษตร ปี พ.ศ. 2536-2565 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 18
5.5 จากข้อมูลสถิติภูมิอากาศในคาบ 30 ปี (ปี พ.ศ.2536-2565) ณ สถานี ตรวจอากาศสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ได้น ามาวิเคราะห์สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร ซึ่งเป็น การวิเคราะห์หาช่วงฤดูกาลเพาะปลูกพืช ตลอดจนช่วงระยะเวลาที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ า ข้อมูล ที่น ามาวิเคราะห์ คือ ปริมาณน้ าฝน และศักยภาพการคายระเหยน้ าอ้างอิง (ETo) ซึ่งค านวณด้วย โปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 โดยใช้สมการ Penman-Monteith สามารถสรุป สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตรในเขตอาศัยน้ าฝนได้ดังนี้ ช่วงที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช - เป็นช่วงที่ค่าปริมาณน้ าฝนมากกว่าค่า 0.5 การระเหยจากผิว ดินและการคายน้ าของพืช เป็นช่วงที่ดินมีความชุ่มชื้นพอเหมาะต่อการเพาะปลูกพืช เป็นช่วงที่ดินมี ความชุ่มชื้นพอเหมาะต่อการเพาะปลูกพืช ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งแต่ต้นเดือนมีนาคมถึงปลายเดือน พฤศจิกายน ช่วงที่มีน้ ามากเกินพอ - เป็นช่วงที่ค่าปริมาณน้ าฝนมากกว่าค่าการระเหยจากผิวดินและ การคายน้ าของพืช ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งแต่ต้นเดือนเมษายนถึงต้นเดือนพฤศจิกายน ช่วงขาดน้ า - เป็นช่วงฤดูแล้งที่ค่าปริมาณน้ าฝนน้อยกว่าค่า 0.5 การระเหยจากผิวดินและ การคายน้ าของพืช ซึ่งพืชอาจเสียหายจากการขาดแคลนน้ าได้ ซึ่งช่วงนี้เริ่มตั้งปลายเดือน พฤศจิกายนถึงต้นเดือนมีนาคม (ตารางที่ 5 และรูปที่ 5) สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 19
ตำรำงที่ 5 สถิติภูมิอากาศ ณ สถานีตรวจอากาศพัทยา จังหวัดชลบุรี (ปี พ.ศ.2536-2565) เดือน อุณหภูมิ (°ซ) ความชื้น สัมพัทธ์ ปริมาณ น้้าฝน จ้านวน วันที่ฝนตก ศักยภาพการ คายระเหยน้้า ปริมาณฝน ใช้การ/1 ต ่ำสุด สูงสุด เฉลี ย (%) (มม.) (วัน) (มม.) (มม.) ม.ค. 21.3 32.6 26.3 75.0 36.6 4.4 80.9 34.5 ก.พ. 23.0 32.7 27.4 76.0 30.1 3.6 78.1 28.7 มี.ค. 24.9 33.2 28.7 78.0 67.9 6.1 92.1 60.5 เม.ย. 26.0 34.2 29.8 77.0 105.2 8.0 94.2 87.5 พ.ค. 26.1 34.0 29.8 78.0 172.5 13.4 95.2 124.9 มิ.ย. 26.0 33.6 29.5 78.0 156.4 14.0 92.7 117.3 ก.ค. 25.8 33.1 29.2 78.0 122.0 13.8 95.8 98.2 ส.ค. 25.8 33.2 29.0 78.0 109.0 14.5 95.2 90.0 ก.ย. 25.0 32.7 28.3 82.0 274.3 17.9 80.4 152.4 ต.ค. 24.0 32.8 27.6 83.0 282.4 19.1 76.0 153.2 พ.ย. 22.9 33.3 27.3 77.0 68.0 6.8 79.8 60.6 ธ.ค. 21.2 33.0 26.3 71.0 11.4 2.4 90.2 11.2 เฉลี่ย 24.3 33.2 28.3 77.6 - - - - รวม - - - - 1,435.8 124.0 1,050.5 1,019.0 หมำยเหตุ : /1 จากการค านวณโดยโปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 ที่มำ : กรมอุตุนิยมวิทยา (2566) 0 50 100 150 200 250 300 350 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. มม. เดือน ปริมาณน าฝน การระเหยและคายน า 0.5 การระเหยและคายน า ช่วงเพาะปลูกพืชช่วงขาดน ช่วงน ามากพอ ช่วงขาดน รูปที่ 5 กราฟสมดุลของน าเพื่อการเกษตร ปี พ.ศ. 2536-2565 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 20
แผนที่เส้นชั้นน้ าฝน จังหวัดชลบุรี สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 21
ทรัพยำกรดินที่มีปัญหำ ประเภทดิน เนื้อที่ ไร่ % ดินทรำยจัด 432,229 25.42 ดินตื้น ดินลูกรัง 319,245 18.78 ดินเปรี้ยวจัด 105,673 6.22 รวม 857,147 50.42 สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบัน ซึ่งส ารวจโดยกลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน (2563) ประกอบด้วย ประเภทการใช้ที่ดินต่างๆ ดังนี้ 1. พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีเนื้อที่ 611,042 ไร่ หรือร้อยละ 22.42 ของพื้นที่ จังหวัด ประกอบด้วย ที่อยู่อาศัย/ชุมชน สถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ โรงงาน อุตสาหกรรม สุสาน ฯ 2. พื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 1,525,825 ไร่ หรือร้อยละ 55.95 ของพื้นที่จังหวัด ประกอบด้วย การใช้ประโยชน์ที่ดินด้านเกษตรกรรมต่างๆ ดังต่อไปนี้ 2.1) พื้นที่นา มีเนื้อที่ 126,360 ไร่ หรือร้อยละ 4.634 ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ นาข้าว 2.2) พืชไร่ มีเนื้อที่ 518,436 ไร่ หรือร้อยละ 19.01 ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ มันส าปะหลัง อ้อย สับปะรด 2.3) ไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 631,594 ไร่ หรือร้อยละ 23.16 ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ ไม้ยืนต้นร้าง ไม้ยืนต้นผสม ยางพารา ปาล์มน้ ามัน ยูคาลิปตัส สัก 2.4) ไม้ผล มีเนื้อที่ 116,057 ไร่ หรือร้อยละ 4.26 ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ ไม้ผลผสม มะพร้าว มะม่วง มะม่วงหิมพานต์ ขนุน 2.5) พืชสวน มีเนื้อที่ 4,136 ไร่หรือร้อยละ 0.15 ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ พืชผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ พืชสมุนไพร 2.6) สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์ มีเนื้อที่ 45,567 ไร่ หรือร้อยละ 1.68 ของพื้นที่ จังหวัด ได้แก่ โรงเรือนร้าง โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ปีก โรงเรือนเลี้ยงสุกร ทรัพยากรดิน จังหวัดชลบุรี สภาพการใช้ที่ดินจังหวัดชลบุรี สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 22
2.7) พื้นน้ า มีเนื้อที่ 69 ไร่ หรือร้อยละ - ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ บัว 2.8) สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า มีเนื้อที่ 83,256 ไร่ หรือร้อยละ 3.05 ของ พื้นที่จังหวัด ได้แก่ สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าร้าง สถานที่เพาะเลี้ยงปลา 2.9) เกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม มีเนื้อที่ 350 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่จังหวัด 3. พื้นที่ป่าไม้ มีเนื้อที่ 309,340 ไร่ หรือร้อยละ 11.34 ของพื้นที่จังหวัด 4. พื้นที่แหล่งน้ า มีเนื้อที่ 86,308 ไร่ หรือร้อยละ 3.13 ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ แม่น้ า ล าคลอง บ่อน้ าในไร่นา 5. พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 194,306 ไร่ หรือร้อยละ 7.13 ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ ทุ่งหญ้า พื้นที่ลุ่ม บ่อดิน พื้นที่ถม (ตารางสภาพการใช้ที่ดิน จังหวัดชลบุรี และภาพแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน) ตารางสภาพการใช้ที่ดิน จังหวัดชลบุรี สัญลักษณ์ ประเภทการใช้ที่ดิน เนื้อที่ ไร่ ร้อยละ U พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 611,042 22.42 A พื้นที่เกษตรกรรม 1,525,825 55.95 A1 พื้นที่นา 126,360 4.63 A2 พืชไร่ 518,436 19.01 A3 ไม้ยืนต้น 631,594 23.16 A4 ไม้ผล 116,057 4.26 A5 พืชสวน 4,136 0.15 A7 ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ 45,567 1.68 A8 พืชน้ า 69 - A9 สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 83,256 3.05 A0 เกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม 350 0.01 F พื้นที่ป่าไม้ 309,340 11.34 W พื้นที่น้ า 86,308 3.16 M พื้นที่เบ็ดเตล็ด 194,360 7.13 รวมทั้งหมด 2,726,875 100.00 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 23
แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินจังหวัดชลบุรี สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 24
แผนที่ทรัพยากรดินจังหวัดชลบุรี สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 25
งาน/โครงการต่างๆ ของหน่วยพัฒนาที่ดินชลบุรี ปีงบประมาณ 2566 กิจกรรม เป้าหมาย ผลการ ด าเนินงาน คิดเป็น เปอร์เซ็นต์ กิจกรรมที่ 6 การยกระดับการพัฒนาหมอดิน อาสาให้มีส่วนร่วมและต่อยอดศูนย์ปฏิบัติการ พัฒนาที่ดิน 6.1 อบรมหมอดินอาสา 6.1.1 อบรมหมอดินอาสา 1) หลักสูตรที่ 1 ฝึกการปฏิบัติและเรียนรู้งาน วันดินโลก ณ สถานีพัฒนาที่ดินตาก 2) หลักสูตรที่ 2 ฝึกการปฏิบัติและเรียนรู้ ณ ศูนย์ฝึกหมอดินอาสาทั่วประเทศ 3) หลักสูตรที่ 3 การพัฒนาด้านศักยภาพของ หมอดินอาสาด้านการเกษตรตามบริบทของ ท้องถิ่น 4) ส่งเสริมกิจกรรมวันหมอดินอาสา 6.1.2 ส่งเสริมข้อมูลทางวิชาการในส่วนของ สถานีพัฒนาที่ดิน 6.2 ศูนย์ฝึกปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน 6.2.1 ปรับปรุงศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดินใน สถานีพัฒนาที่ดิน 6.2.2 ต่อยอดศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการ พัฒนาที่ดินเป็นศูนย์ฝึกปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน 1) ต่อยอดศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนา ที่ดินเป็นศูนย์ฝึกปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน 2) ดูแลรักษาศูนย์ฝึกปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน ปี 2565 1 ครั้ง/ 3 ราย 2 ครั้ง/ 64 ราย 3 ครั้ง/ 450 ราย 1 ครั้ง/ 100 ราย 1 แห่ง 1 แห่ง 2 แห่ง 2 แห่ง 1 ครั้ง/ 3 ราย 2 ครั้ง/ 64 ราย 3 ครั้ง/ 450 ราย 1 ครั้ง / 100 ราย 1 แห่ง 1 แห่ง 2 แห่ง 2 แห่ง 100 100 100 100 100 100 100 100 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 26
กิจกรรม เป้าหมาย ผลการ ด าเนินงาน คิดเป็น เปอร์เซ็นต์ กิจกรรมที่ 7 ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยี ชีวภาพทางดิน 7.1.1ส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ 7.1.2 ผลิตน้ าหมักชีวภาพ 5,900 ราย 11,800 ขวด 5,900 ราย 11,800 ขวด 100 100 กิจกรรมหลักที่ 8 ปรับปรุงคุณภาพดินในพื้น ที่ดินปัญหา 8.1 การพัฒนาพื้นที่ดินเปรี้ยว 8.1.1 ส่งเสริมปูนเพื่อการเกษตร (ปูนมาร์ล) 8.1.2 ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตพืชในพื้นที่ดินเปรี้ยว 8.2 ปรับปรุงพื้นที่ดินกรด 8.2.1 ส่งเสริมปูนเพื่อการเกษตร (โดโลไมท์) 8.2.2 ส่งเสริมการปรับปรุงพื้นที่ดินกรด 50 ตัน 50 ไร่ 250 ตัน 500 ไร่ 50 ตัน 50 ไร่ 250 ตัน 500 ไร่ 100 100 100 100 กิจกรรมที่ 9 ฟื้นฟูและป้องกันการชะล้าง พังทลายของดิน 9.1 รณรงค์และส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝก 9.1.1 ผลิตหญ้าแฝกเพื่อปลูก 9.1.2 ผลิตหญ้าแฝกเพื่อส่งเสริม 9.1.3 ผลิตหญ้าแฝกเพื่อปลูก (เพิ่มเติม) 9.1.4 ผลิตหญ้าแฝกเพื่อส่งเสริม (เพิ่มเติม) 9.2 การพัฒนาที่ดินเพื่อป้องกันและบรรเทาภัย พิบัติทางการเกษตร 9.2.1 การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าใน พื้นที่เสี่ยงภัยทางการเกษตร 1,420,000 กล้า 1,001,000 กล้า 800,000 กล้า 1,500,000 กล้า 60 ไร่ 1,420,000 กล้า 1,001,000 กล้า 800,000 กล้า 1,500,000 กล้า 60 ไร่ 100 100 100 100 100 กิจกรรมหลักที่ 11 ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ 11.1 ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ (ต่อยอด) 11.2 ธนาคารปุ๋ยหมัก พด. 11.3 ธนาคารน้ าหมักชีวภาพ 1 แห่ง 4 ตัน 4,200 ลิตร 1 แห่ง 4 ตัน 4,200 ลิตร 100 100 100 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 27
กิจกรรม เป้าหมาย ผลการ ด าเนินงาน คิดเป็น เปอร์เซ็นต์ กิจกรรมหลักที่ 12 ส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ลด การใช้สารเคมีทางการเกษตร 12.1 โครงการส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ลดการ ใช้สารเคมีทางการเกษตร 12.1.1 พัฒนาเกษตรกรของกลุ่มเดิมเข้มแข็ง ส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมี (ครัวไทยสู่ครัวโลก) 12.2 สนับสนุนปัจจัยการผลิตอินทรีย์ชีวภาพลด การใช้สารเคมีทางการเกษตร 12.2.1 สนับสนุนการใช้พืชปุ๋ยสดปรับปรุง บ ารุงดิน 1) ผลิต จัดหาเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด 2) ส่งเสริมการปลูกพืชปุ๋ยสดปรับปรุงบ ารุงดิน 12.3 ส่งเสริมการผลิตปุ๋ยหมัก พด. 12.4 ไถกลบตอซังเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุและแร่ ธาตุในดิน 12.5 ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน 12.5.1 สนับสนุนเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียนใหม่ 12.5.2 ต่อยอดโรงเรียนเดิม (ปี 50 - 65) 12.6 หมู่บ้านปลอดขยะอินทรีย์ต้นแบบ (Zero Waste) 4,178 ไร่/ 430 ราย/ 43 กลุ่ม 6 ตัน 1,200 ไร่ 10 ตัน 300 ไร่ 1 โรงเรียน 8 โรงเรียน 1 แห่ง 4,178 ไร่/ 430 ราย/ 43 กลุ่ม 6 ตัน 1,200 ไร่ 10 ตัน 300 ไร่ 1 โรงเรียน 8 โรงเรียน 1 แห่ง 100 100 100 100 100 100 100 100 กิจกรรมหลักที่ 13 ส่งเสริมเกษตรกรผู้ผลิต เกษตรอินทรีย์ด้วยระบบการรับรองแบบมีส่วน ร่วม (PGS) (เพิ่มเติม) 13.1 การส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรเข้าสู่การรับรอง มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (เพิ่มเติม) 13.2.1 กลุ่มต่อยอดขั้นที่ 2 (เพิ่มเติม) 1) กลุ่มต่อยอดขั้นที่ 2 ปีแรก (เพิ่มเติม) 13.5 ไร่/ 10 ราย/ 2 กลุ่ม 13.5 ไร่/ 10 ราย/ 2 กลุ่ม 100 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 28
กิจกรรม เป้าหมาย ผลการ ด าเนินงาน คิดเป็น เปอร์เซ็นต์ กิจกรรมหลักที่ 14 พัฒนาคุณภาพดินในระบบส่งเสริม การเกษตรแบบแปลงใหญ่ 14.1 จัดหาปูนเพื่อการเกษตร ปรับปรุงพื้นที่ดินกรด (โดโลไมท์) 14.2 ส่งเสริมการปรับปรุงพื้นที่ดินกรด (โดโลไมท์) 14.3 ผลิตปุ๋ยหมัก พด. 14.4 ผลิตน้ าหมักชีวภาพ 14.5 บริการวิเคราะห์ดินและให้ค าแนะน าการจัดการ ดิน - น้ า - พืช 14.6 ถ่ายทอดองค์ความรู้การพัฒนาที่ดิน 21 ตัน 42 ไร่ 21 ตัน 6,000 ลิตร 18 ตัวอย่าง 5 ครั้ง 21 ตัน 42 ไร่ 21 ตัน 6,000 ลิตร 18 ตัวอย่าง 5 ครั้ง 100 100 100 100 100 100 กิจกรรมหลักที่ 16 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ ที่ดินพื้นที่โครงการ 1 ต าบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ 16.1 สาธิตการปรับปรุงบ ารุงดิน 12 ราย 12 ราย 100 กิจกรรมหลักที่ 19 การบริหารจัดการทรัพยากรดิน ระดับต าบล 19.1 ปรับปรุง และขับเคลื่อนแผนการใช้ที่ดินระดับ ต าบล เพื่อรองรับเกษตร 4.0 19.1.1 วิเคราะห์ชุมชนแบมีส่วนร่วม (PRA) 19.1.2 จัดท า รูปเล่มโค รงก า รบ ริห า รจัดก า ร ทรัพยากรดินระดับต าบล 15 ต าบล 15 เล่ม 15 ต าบล 15 เล่ม 100 100 กิจกรรมหลักที่ 23 การก่อสร้างแหล่งน้ าในไร่นานอก เขตชลประทาน 14.1 ค่าก่อสร้างแหล่งน้ าในไร่นา ขนาด 1,260 ลบ.ม. 14.2 ค่าส ารวจ ค่าควบคุม และติดตามการก่อสร้างแหล่ง น้ าขนาด 1,260 ลบ.ม. 14.3 จ านวนพื้นที่ทางการเกษตรได้รับประโยชน์จาก การก่อสร้างแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน 20 บ่อ 20 บ่อ 100 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 29
กิจกรรม เป้าหมาย ผลการ ด าเนินงาน คิดเป็น เปอร์เซ็นต์ กิจกรรมหลักที่ 26 ส่งเสริมการด าเนินงานอัน เนื่องมาจากพระราชด า 26.1 สนับสนุนโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชด าริฯ 26.1.1 โครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 1) โครงการอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกันการชะ ล้างพังทะลายของดินในพื้นที่วัดญาณสังวราราม จ.ชลบุรี - สาธิตการท าการใช้น้ าหมักชีวภาพ - สาธิตการท าปุ๋ยหมัก พด. 26.2 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมากจาก พระราชด าริฯ 26.2.1 การเรียนรู้ทรัพยากร (บ ารุงแปลงปลูก) 1) กิจกรรมปกปักทรัพยากร 26.2.2 สนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร (สนับสนุน งาน อพ.สธ.) 1) สนับสนุนกิจกรรมด้านการพัฒนาที่ดินให้กับ สมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน - โรงเรียนใหม่ - โรงเรียนต่อยอด 300 ไร่ 50 ไร่ 1 แห่ง 2 แห่ง 2 แห่ง 300 ไร่ 50 ไร่ 1 แห่ง 2 แห่ง 2 แห่ง 100 100 100 100 100 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 30
กิจกรรม เป้าหมาย ผลการ ด าเนินงาน คิดเป็น เปอร์เซ็นต์ กิจกรรมหลักที่ 30 พัฒนาเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ในศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า เกษตร(ศพก.) 30.1 ฐานเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีการจัดการดิน 30.1.1 พัฒนาศักยภาพ ศพก. 1) พัฒน า ฐ านเ รี ยน รู้ ด้ าน ก า รพัฒน าที่ดิน 2) ปรับปรุงฐานข้อมูลความรู้ด้านการพัฒนาที่ดิน 30.1.2 สนับสนุนการให้บริการด้านการพัฒนาที่ดิน ใน ศพก. 1) สนับสนุนการจัดงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยี (Field Day) 2) บริการตรวจวิเคราะห์ดิน 3) สนับสนุนเอกสารวิชาการด้านการพัฒนาที่ดิน 30.1.3 พัฒนาศักยภ าพเกษตรกรผู้น า และ เกษตรกรที่มาเยี่ยมชมศูนย์ 1) เข้าร่วมเป็นวิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้ด้าน การพัฒนาที่ดิน 2) ถ่ายทอดองค์ความรู้และวิธีใช้ระบบสารสนเทศ เชิงพื้นที่ เพื่อวางแผนการใช้ที่ดินเกษตรกรรายแปลง (LDD On Farm Land Use Planning) 3) แนะน า AI Chatbot กรมพัฒนาที่ดิน “คุยกับ น้องดินดี” ซึ่งเป็นเครื่องมือส าหรับอ านวยความสะดวก ให้แก่เจ้าหน้าที่ใช้ปฏิบัติงานในพื้นที่ 11 ศูนย์ 11 ศูนย์ 4 ครั้ง 50 ราย 2 เรื่อง 205 ราย 11 ครั้ง 11 ครั้ง 11 ศูนย์ 11 ศูนย์ 4 ครั้ง 50 ราย 2 เรื่อง 205 ราย 11 ครั้ง 11 ครั้ง 100 100 100 100 100 100 100 100 โครงการเพิ่มผลิตภาพการเกษตร บนฐานทรัพยากรดิน 1. การปรับปรุงฐานข้อมูลทรัพยากรดิน ในเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก 2. การจัดท าแปลงสาธิต 200 ตัวอย่าง 23 แปลง 200 ตัวอย่าง 23 แปลง 100 100 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 31
กิจกรรมหลักที่ 6 การยกระดับการพัฒนาหมอดินอาสาเพื่อมีส่วนร่วมและต่อยอดศูนย์ปฏิบัติการ พัฒนาที่ดิน 6.1 หมอดินอาสา - ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (การด าเนินงาน ภารกิจพื้นฐานเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์) 6.1.1 อบรมหมอดินอาสา 1) หลักสูตรที่ 1 ฝึกการปฏิบัติและเรียนรู้งานวันดินโลก ณ สถานีพัฒนาที่ดินตาก 2) หลักสูตรที่ 2 ฝึกการปฏิบัติและเรียนรู้ ณ ศูนย์ฝึกหมอดินอาสาทั่วประเทศ 3) หลักสูตรที่ 3 การพัฒนาด้านศักยภาพของหมอดินอาสาด้านการเกษตรตามบริบท ของท้องถิ่น 4) ส่งเสริมกิจกรรมวันหมอดินอาสา 6.1.2 ส่งเสริมข้อมูลทางวิชาการในส่วนของสถานีพัฒนาที่ดิน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพหมอดินอาสาให้เป็นตัวแทนของกรมพัฒนาที่ดินประจ าหมู่บ้าน ต าบล อ าเภอ และจังหวัด 2. เพื่อสร้างเครือข่ายหมอดินอาสา พร้อมทั้งปรับปรุงประสิทธิภาพ และยกระดับการ ท างานของหมอดินอาสาให้สามารถช่วยงานของกรมและภาครัฐได้มากขึ้น 3. เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ เทคนิคการเป็นวิทยากรให้กับหมอดิน ไปสู่การเป็นวิทยากร อย่างแท้จริง และสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมายการด าเนินงาน 1. พัฒนาศักยภาพหมอดินอาสา 2. หมอดินอาสามีทักษะความรู้เพิ่ม และสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการด าเนินงาน 1. อบรมหมอดินหลักสูตรที่ 1 (1 ครั้ง/3 ราย) 2. อบรมหมอดินหลักสูตรที่ 2 (2 ครั้ง/64 ราย) 3. อบรมหมอดินหลักสูตรที่ 3 (3 ครั้ง/450 ราย) 4. ส่งเสริมกิจกรรมวันหมอดินอาสา (1 ครั้ง/100 ราย) 5. ส่งเสริมข้อมูลทางวิชาการของสถานีพัฒนาที่ดิน 1 แห่ง งาน/โครงการต่างๆ ของหน่วยพัฒนาที่ดินชลบุรี ปีงบประมาณ 2566 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 32
กิจกรรม อบรมหมอดินหลักสูตรที่ 1 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 33
กิจกรรม อบรมหมอดินหลักสูตรที่ 2 (ครั้งที่ 1) สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 34
กิจกรรม อบรมหมอดินหลักสูตรที่ 2 (ครั้งที่ 2) สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 35
กิจกรรม อบรมหมอดินหลักสูตรที่ 3 (ครั้งที่ 1) สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 36
กิจกรรม อบรมหมอดินหลักสูตรที่ 3 (ครั้งที่ 2/1) สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 37
กิจกรรม อบรมหมอดินหลักสูตรที่ 3 (ครั้งที่ 2/2) สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 38
กิจกรรม อบรมหมอดินหลักสูตรที่ 3 (ครั้งที่ 3) สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 39
กิจกรรม วันหมอดินอาสา สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 40
6.2 ศูนย์ฝึกปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน (เดิมศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน) 6.2.1 ปรับปรุงศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดินในสถานีพัฒนาที่ดิน 6.2.2 ต่อยอดศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินเป็นศูนย์ฝึกปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน 1) ต่อยอดศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินเป็นศูนย์ฝึกปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน 2) ดูแลรักษาศูนย์ฝึกปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน ปี 2565 วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อพัฒนาศักยภาพศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินให้เป็นศูนย์ฝึกปฏิบัติ ด้านการพัฒนาที่ดิน สามารถถ่ายทอดให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ให้สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีและ นวัตกรรมด้านการพัฒนาที่ดินได้โดยง่าย ๒. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดินของชุมชนโดยมีหมอดินอาสา เป็นผู้ ถ่ายทอดองค์ความรู้ เป้าหมายการด าเนินงาน 1. สามารถจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน เพื่อเป็นศูนย์ถ่ายทอด เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจได้เข้ามาศึกษา ดูงาน ด้านการพัฒนาที่ดิน 2. เกษตรกรและผู้ที่เข้ามาดูงาน สามารถน าเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการพัฒนา ที่ดินใช้ในพื้นที่ตนเองได้อย่างถูกต้อง ผลการด าเนินงาน 1. ปรับปรุงศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดินในสถานีพัฒนาที่ดินชลบุรี 2. ต่อยอดศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินเป็นศูนย์ฝึกปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน จ านวน 2 ศูนย์ สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 41
ปรับปรุงศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน ในสถานีพัฒนาที่ดิน สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 42
ต่อยอดศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน เป็นศูนย์ฝึกปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 43
ดูแลรักษาศูนย์ฝึกปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน ปี 2565 สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 44
กิจกรรมหลักที่ 7 ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน 7.1 ส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร 7.1.1 ส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ 7.1.2 ผลิตน้ าหมักชีวภาพ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการผลิตและการใช้สารอินทรีย์อย่างมี ประสิทธิภาพในการลดการใช้ปุ๋ยเคมี 2. เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ในการพัฒนาการเกษตร แบบยั่งยืน 3. เพื่อพัฒนาเป็นกลุ่มเกษตรอินทรีย์ในอนาคต เป้าหมายการด าเนินงาน 1. ส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ รณรงค์การลดใชสารเคมีทางการเกษตร 2. ผลิตน้ าหมักชีวภาพ เพื่อใช้ส าหรับการเกษตร ผลการด าเนินงาน 1. ส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ จ านวน 5,900 ราย 2. ผลิตน้ าหมักชีวภาพ 11,800 ขวด สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 45
ส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 46
กิจกรรมหลักที่ 8 ปรับปรุงคุณภาพดินในพื้นที่ดินปัญหา 8.1 การพัฒนาพื้นที่ดินเปรี้ยว 8.1.1) ส่งเสริมปูนเพื่อการเกษตร (ปูนมาร์ล) 8.1.2) ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตพืชในพื้นที่ดินเปรี้ยว 8.2 ปรับปรุงพื้นที่ดินกรด 8.2.1) ส่งเสริมปูนเพื่อการเกษตร (โดโลไมท์) 8.2.2) ส่งเสริมการปรับปรุงพื้นที่ดินกรด วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการปรับสภาพดินให้มีความถูกต้องตามหลักวิชาการ 2. เพื่อส่งเสริมมาตรการปรับสภาพดิน ให้เกษตรกรสามารถน าไปปฏิบัติได้อย่างแพร่หลาย 3. เพื่อให้เกษตรกรมีพื้นที่ท าการเกษตร ที่มีความอุดมสมบูรณ์และเกิดการใช้ประโยชน์ อย่างยั่งยืน เป้าหมายการด าเนินงาน 1. พัฒนาองค์ความรู้ด้านการปรับสภาพดิน 2. ส่งเสริมมาตรการปรับสภาพดินให้เกษตรกรมีพื้นที่ท าการเกษตรที่มีความอุดมสมบูรณ์ ผลการด าเนินงาน 1. ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตพืชในพื้นที่ดินเปรี้ยว จ านวน 50 ไร่ 2. ส่งเสริมการปรับปรุงพื้นที่ดินกรด จ านวน 500 ไร่ สถำนีพัฒนำที่ดินชลบุรี 47