The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมอาชีพ(บูรณาการ)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ahmadoo2518, 2022-03-23 11:40:14

รายงานผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมอาชีพ(บูรณาการ)

รายงานผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมอาชีพ(บูรณาการ)

รายงานผลโครงการส่งเสรมิ อาชีพนักเรียน ปกี ารศึกษา 2564
ประกอบการพจิ ารณาคดั เลือกเป็นครูดีไมม่ อี บายมขุ ปที ๑่ี ๑
ปีการศึกษา๒๕๖๔ (รุ่น๑๑)

e-book

บันทึกขอ้ ความ

สว่ นราชการ โรงเรยี นนคิ มพัฒนวิทย์ ตำบลตลิง่ ชัน อำเภอบนั นังสตา จังหวดั ยะลา

ที่ วันที่ 23 มนี าคม 2565

เรื่อง รายงานผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมอาชีพนกั เรียน ประจำปกี ารศึกษา 2564

----------------------------------------------------------------------

เรยี น ผู้อำนวยการโรงเรยี นนคิ มพฒั นวทิ ย์

๑. เร่ืองเดิม
ตามท่ีกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีความประสงค์ดำเนินโครงการส่งเสริมอาชีพแก่

นักเรียน ประจำปีการศึกษา 2564 แต่ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบบของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ( โค
วดิ -19) จงึ ไม่สามารถดำเนินการแบบ On Site ได้ ซ่ึงต้องคำนึงถงึ ความปลอดภัยของครูและนักเรียนเป็นสำคัญ
จึงมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนนิ งานกิจกรรมโครงการส่งเสริมอาชีพนักเรียนในลักษณะการเรียนการสอน
แบบ On Line ควบคู่ On Hand โดยบูรณาการกับสาระการเรียนรู้วิชา เศรษฐศาสตร์ (ส 32102) หน่วยการ
เรียนรู้เรอ่ื ง “เศรษฐกิจพอเพียงกบั การผลิดสินคา้ และบริการ” ในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 และร่วมกัน
อีก 4 กลุ่มสาระ ได้แก่ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย และสุขศึกษา ในลักษณะบูรณาการ
“แบบสหวิทยาการ”

๒. ขอ้ เทจ็ จรงิ
บดั น้ี โครงการส่งเสริมอาชีพนักเรียนไดด้ ำเนินเสร็จสิ้นเป็นทเ่ี รียบร้อยแล้ว โดยได้รับความร่วมมือจาก

ครูกลมุ่ สาระดังตอ่ ไป
1. ครูสอฝียะ๊ มะหะมิง กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
2. ครมู ายดี า้ ดาราหะ กลมุ่ สาระภาษาไทย
3. ครูวาธินี ชปู าน กลมุ่ สาระคณิตศาสตร์
4. ครูกิตติชาติ ขุนแก้ว กลุม่ สาระสขุ ศกึ ษาฯ

พรอ้ มกนั นี้ขา้ พเจ้าไดด้ ำเนินการสรุปและประมวลผลการดำเนนิ กจิ กรรมโครงการดังกล่าว ตามทป่ี รากฎ
อยู่ในรายงานผลกจิ กรรมโครงการ แนบท้ายบันทกึ ฉบับนี้

3. ข้อเสนอ
เพอื่ โปรดทราบ

(นายอาดีนนั ด์ สาแม)
ครูผู้ช่วย

ความเห็นผบู้ ังคบั บัญชา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื .........................................................
(นายภาสกร แก้ววชิ ิต)
ผู้อำนวยการโรงเรยี น

สว่ นท่ี 1

ความสำคัญ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้
น้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ในสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ในหลวง
รัชกาลที่ ๑๐ ในการสร้างพื้นฐาน ให้แก่นักเรียนด้านการมี
งานทำมีอาชีพ ประกอบกับแผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.
๒๕๖๐–๒๕๗๙ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ การพฒั นาศกั ยภาพคนทุก
ช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีวัตถุประสงค์
หนึ่ง คือ เพื่อให้คนทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพที่เหมาะสมกบั แต่ละช่วงวยั โดยนักเรียน
ได้รับการพัฒนาอย่างมีคุณภาพทั้งความรู้ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต ทักษะการทำงานที่สอดคล้องกับความ
ตอ้ งการของตลาดงาน รวมทง้ั มีคณุ ธรรมจริยธรรม มีจติ สาธารณะ และสามารถปรับตัวอยรู่ ่วมกับผู้อื่นในสังคม
ได้ เนื่องจากปัจจุบันนี้กระแสโลกาภิวัตน์ได้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรง ท้ัง
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคมตลอดจนด้านอื่นๆ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นไปอย่างแพร่หลาย
ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตโลกของการทำงานและการ
ประกอบอาชีพของนานาประเทศ รวมถึงประเทศไทยเป็น
อย่างมาก ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชนตระหนักเห็น
ความสำคัญ ของการเตรียมความพร้อมพัฒนาประเทศใน
ทุกด้านโดยกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
“Thailand ๔.๐” ขึ้น ซึ่งปัจจัยที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ
ตามยุทธศาสตร์ดังกล่าว คือ ทรัพยากรมนุษย์ ดังนั้น จึง
ตอ้ งมกี ารเตรยี มความรู้ทักษะและคุณลกั ษณะพนื้ ฐานท่ีถูกต้องและรู้เทา่ ทันการเปล่ียนแปลง เพอื่ ให้นักเรียนใน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้สัมผัสและเรียนรู้อาชีพ จากสถานประกอบการ/แหล่ง
เรียนรู้ตามสภาพจริง ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนสามารถวางแผนและตัดสินใจเลือกเส้นทางการศึกษาการประกอบ
อาชีพในอนาคตได้สอดคล้องกับความต้องการความสนใจ
ความถนัด ของนักเรยี น ส่งเสรมิ การพัฒนาคุณลักษณะของ
นักเรียนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน
สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงจัดทำแนว
ทางการเสรมิ ทักษะและสรา้ งเสรมิ ประสบการณ์ อาชีพของ
นักเรียนขึ้น เพื่อเตรียมคนให้มีทักษะและศักยภาพให้
สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน ให้สามารถก้าวสู่
โลกแห่งการศึกษาต่อและมีงานทำอย่างมีคุณภาพ การจัด

เสริมทักษะอาชีพระดับมธั ยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษาข้ัน
พนื้ ฐานสามารถดำเนินการได้โดยรว่ มมือกับองค์กรหน่วยงาน
สถานประกอบการ สังคม ชุมชน หรือสถาบันทางการศึกษา
ด้านอาชีพร่วมกันพิจารณานำอาชีพมาจัดเป็นรายวิชา
เพมิ่ เตมิ ซ่ึงจะทำให้นักเรียนได้เรียนรู้อาชีพอย่างหลากหลาย
รวมถึงการให้นักเรียนได้สร้างเสริมประสบการณ์อาชีพและ
การถอดประสบการณ์อาชีพ ได้ค้นพบความสนใจ และความ
ถนัดของตนเองเห็นเส้นทางชีวิตเพื่อวางแผนศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทั้งสายสามัญ และสาย
อาชีพ หรือเรียนควบคู่ทั้งสายสามัญและสายอาชีพ (ระบบทวิศึกษา) และเชื่อมโยงการศึกษาต่อใน
ระดับอุดมศึกษาอย่างมีเป้าหมาย หรือกรณีที่ไม่ประสงค์จะศึกษาต่อก็สามารถพัฒนาทักษะอาชีพที่ตกผลึกใน
ตวั นกั เรียน ไปประยกุ ต์ใช้ในการประกอบสัมมาอาชีพเล้ียงตนเองได้ตอ่ ไปในอนาคต
โรงเรียนนิคมพัฒนวิทย์เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว ประกอบกับเป็นเจตนารมณ์ร่วมกันกับ
คณะกรรมการสถานศึกษาในการส่งเสริมอาชพี ให้แก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนคน้ พบตัวเองตามความถนัดและ
ศักยภาพของตนเอง จึงได้กำหนดให้มีโครงการส่งเสริมอาชีพในรูปแบบต่างๆ ในลักษณะความร่วมมือกับ
หน่วยงานภายนอก เช่น สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดยะลา ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือบุคลากรภายในโรงเรียนที่มี
ความรู้ความสามารถ เพื่อเพิ่มทักษะให้แก่นักเรียน แต่ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบบของโรคติดเชื้ อไวรัส
โคโรน่า 2019 ( โควิด-19) โรงเรียนไม่สามารถจัดการเรียนการสอนแบบ On Site ได้ ผู้บริหารโรงเรียนจึง
มอบให้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ดำเนินโครงการดังกลา่ วในลักษณะการเรียนการสอนแบบ
On Line ควบคู่ On Hand โดยบูรณาการกับสาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เศรษฐกิจ
พอเพียงกับการผลิดสินค้าและบริการ และบูรณาการอีก 4 กลุ่มสาระ ได้แก่ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ ภาษาไทย และสุขศึกษา แบบ “สหวิทยาการ” เพื่อลดภาระงานของนักเรยี นดว้ ย

วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้นักเรียนได้สำรวจ รู้จัก และค้นพบตัวเอง จนสามารถวางแผนตัดสินใจเลือกเส้นทาง

การศึกษาและการประกอบอาชีพในอนาคตได้สอดคล้องกบั ความตอ้ งการ ความสนใจ ความถนัด
๒. เพื่อเป็นแนวทางให้นักเรียนได้รับการเสริมทักษะอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการทำงานที่สอดคล้องกับ

ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
๓. เพอื่ เป็นแนวทางใหน้ ักเรียนไดส้ ร้างเสรมิ ประสบการณ์อาชีพให้สอดคล้องกับความสนใจของตนเอง

ทเี่ กยี่ วข้องกับโลกของการทำงาน จากการสมั ผสั งานในสภาพจริงในสถานประกอบการ/แหล่งเรยี นรู้
๔. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครอง สถานประกอบการ แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาทั้ง

ภาครัฐและเอกชนในการจดั การศกึ ษาเพือ่ เสรมิ ทักษะและสร้างเสริมประสบการณ์อาชีพสำหรับนักเรยี น

กรอบแนวคดิ ในการเสรมิ ทักษะอาชีพ
การเสริมทักษะอาชีพของนักเรียน มุ่งเน้น

การให้องค์ความรู้ การฝึกทักษะ เพื่อสร้างความ
เชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวนักเรียนเพื่อใช้
ในการดำรงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงใน
ปัจจุบันโดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน
และทักษะจำเป็นสำหรับอาชีพเข้าด้วยกัน เพื่อ
ค ว า ม ส ำ เ ร ็ จ ข อ ง น ั ก เ ร ี ย น ต ั ้ ง แ ต ่ ร ะ ด ั บ ป ฐ ม วั ย
ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ทั้งด้านการทำงาน
และการดำเนินชวี ติ ประกอบดว้ ยองค์ประกอบสำคญั ในด้านต่างๆ ดังตอ่ ไปนี้



ส่วนท่ี 2

ข้ันตอนการดำเนินงาน

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบบของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ( โควิด-19) โรงเรียนไม่สามารถ
จัดการเรียนการสอนแบบ On Site ได้ การดำเนินโครงการส่งเสริมอาชีพแก่นักเรียนจึงมีความจำเป็นต้อง
ปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินงานเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของครูและ
นักเรียนเป็นสำคัญจากการแพร่ระบาดของโรค ผู้บริหารโรงเรียนจึงได้มอบให้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ดำเนินโครงการส่งเสริมอาชีพในลักษณะการเรียนการสอนแบบ On Line ควบคู่ On Hand
โดยบรู ณาการกับสาระการเรียนรู้วิชา เศรษฐศาสตร์ (ส 32102) หนว่ ยการเรยี นรเู้ ร่อื ง “เศรษฐกจิ พอเพียงกับ
การผลดิ สินคา้ และบริการ” และรว่ มกันอีก 4 กลุ่มสาระ ได้แก่ กลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย
และสุขศกึ ษา ในลักษณะบรู ณาการ “แบบสหวิทยาการ”

กลมุ่ เปา้ หมาย ประกอบดว้ ย
1.1 สำหรบั นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5
จำนวน 7 คน
1.2 ครกู ลุม่ สาระสงั คมศกึ ษาฯ วทิ ยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย และสุขศึกษาฯ
จำนวน 5 คน
รวมกลุ่มเป้าหมายทั้งสิน้ จำนวน 12 คน

ข้นั ตอนการดำเนินงาน ตามรายละเอยี ดดังนี้

ข้นั ที่ 1 สงั เกตตระหนกั
1. ครนู ำนักเรยี นพูดคยุ ทบทวนถึงความเป็นมาของหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง ความจำเปน็ และการนำไป

ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เพอื่ สร้างความตระหนักให้แก่นักเรียน
2. ให้นักเรยี นเลา่ ถงึ สินค้าและบริการในท้องถ่นิ ทน่ี ักเรียนมีภมู ลิ ำเนา หรือในท้องถิน่ ท่สี ถานศกึ ษา

ตั้งอยู่ ซึ่งนักเรียนสามารถบอกได้อย่างหลากหลาย
3. ครอู ธิบายเชือ่ มโยงใหน้ กั เรียนเข้าใจว่า การผลติ สินค้าและบริการในทอ้ งถน่ิ นน้ั มรี ูปแบบต่างๆ ท่ี

หลากหลาย ซึ่งเปน็ อตั ลักษณ์ของแตล่ ะท้องถิ่น
4. ครเู ชืย่ มโยงหลักเศรษฐกจิ พอเพียงกบั รปู แบบการค้าและรูปแบบตลาดในโลกปจั จุบัน(E-

commerce)

ข้นั ท่ี 2 วางแผนปฏบิ ัติ
ครูใหน้ กั เรียนจบั คู่กันเพ่ือดำเนินกจิ กรรม OGOP

(One Group One Product) โดยศกึ ษา วเิ คราะห์
รูปแบบผลติ ภัณฑ์ ภายใต้หลกั เกณฑท์ ี่กำหนดดังน้ี

1) ผลิตภณั ฑท์ ี่มปี ระโยชน์ ใชไ้ ดจ้ รงิ
2) ประดษิ ฐจ์ ากวสั ดุเหลือใช้ หรือวสั ดทุ หี่ าไดใ้ น
ชุมชน
3) ใช้รปู แบบ ขั้นตอนที่นักเรียนสามารถ
ดำเนินการดว้ ยตนเอง

4) นำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน็
องค์ประกอบในการดำเนนิ งาน

5) สามารถตอ่ ยอดเป็นสนิ คา้ หรืออาชีพเสรมิ แกน่ ักเรยี น

ขัน้ ท่ี 3 ลงมอื ปฏิบัติ
1) นำเสนอเค้าโครงผลิตภณั ฑ์ วสั ดุท่ใี ช้ ขั้นตอน กระบวนการ ในรปู แบบโครงงาน
2) ลงมอื ปฏิบตั ติ ามเค้าโครงทกี่ ำหนด
*** ครกู ลมุ่ สาระ สังคมศึกษาฯ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย และสุขศึกษา เป็นครูที่
ปรกึ ษา

ขั้นท่ี 4 การนำเสนอ
- แตล่ ะกลุม่ นำเสนอผลงานผลิตภณั ฑ์

ตามรายการที่กำหนด ตามลำดับ

ขน้ั ที่ 5 สรุป

1) นกั เรยี นกลมุ่ ท่ีนั่งฟงั รวมกนั
สนับสนุนแนวคดิ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ
เพ่ือความสมบูรณ์ของชิ้นงาน

2) ครทู ปี่ รกึ ษาท้ัง 5 กลุ่มสาระ (สังคมศึกษาฯ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย และสุข
ศึกษา) เสนอแนะเพมิ่ เตมิ เพ่ือความสมบูรณ์ของชน้ิ งาน

งบประมาณทีไ่ ดร้ ับการจัดสรร
ไมม่ ี เนื่องจากเป็นการบรู ณาการกบั กระบวนการเรยี นการสอนตามปกติ

ตัวช้วี ัดความสำเร็จ

ตัวช้ีวดั ความสำเรจ็ เคร่ืองมือวัด/ประเมินผล วิธีวดั การประเมิน

เชงิ ปริมาณ 1. แบบสงั เกตุพฤติกรรม 1. สังเกต
2. สมั ภาษณ์
รอ้ ยละ 100 ของนกั เรยี นสามารถประดษิ ฐ์ช้ินงาน 2. แบบประเมินชิน้ งาน 3. สอบถาม QR code
4. ชิน้ งาน
จากวสั ดใุ นทอ้ งถิ่นได้

เชงิ คณุ ภาพ

ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีตระหนกั ในคณุ ค่าของ
การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน
ชีวติ ประจำวัน

ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั
1. นักเรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์สามารถประดษิ ฐช์ ิน้ งานจากวัสดใุ นท้องถิ่นและสามรถต่อยอดเปน็
อาชีพไดใ้ นอนาคต
2. นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญาและความรอบคอบ

เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม
สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้อย่างดี บนพื้นฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สามารถพึง่ พาตนเองได้

ส่วนท่ี 3

ผลการดำเนินกจิ กรรมโครงการ

การดำเนนิ กจิ กรรมโครงการคร้ังนผ้ี ู้รบั ผิดชอบโครงการได้ออกแบบแบบสำรวจความคิดเห็นและความ
พงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการท่ีมีต่อการดำเนินงานกจิ กรรมโครงการ โดยใชโ้ ปรแกรมอเิ ล็กทรอนิกสส์ ำเร็จรูป
Google Form และกำหนด QR code ใหก้ ลุ่มตัวอย่างทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการ ประกอบดว้ ย ผูบ้ ริหาร ครู
บคุ ลากรและนักเรยี น สแกนและตอบแบบสำรวจดังกล่าว

จากการสแกนและตอบแบบสำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการครั้งน้ี
โปรแกรมสามารถประมวลคา่ ไดต้ ามรายละเอยี ดดงั น้ี

ตอนท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐานผู้เข้าร่วมโครงการ



ตอนท่ึ 2 เลือกระดับความพอใจทม่ี ตี ่อกจิ กรรม/โครงการ ผลรวม ค่าเบีย่ งเบน หมายเหตุ
119 85.00 ดเี ลศิ
ข้อ รายการความคดิ เหน็ 80.71 ดีเลิศ
113
1 ท่านคิดว่าการสง่ เสริมอาชีพในเวลาเรยี นมีความ 81.42 ดีเลิศ
จำเป็น 114
84.28 ดเี ลิศ
2 การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 จึงมีการบรู 118 87.85 ดีเลิศ
ณาการการสง่ เสริมอาชพี ผา่ นรายวชิ า 123 87.14 ดีเลศิ
เศรษฐศาสตร์มีความเหมาะสม 122 87.85 ดเี ลิศ
123 87.14 ดเี ลศิ
3 จากชิ้นงานประดิษฐ์ของนักเรียนสามารถนำไป 122
ตอ่ ยอดเปน็ อาชีพได้ 85.71 ดีเลศิ
120
4 การออกแบบช้นิ งานสามารถใช้ไดจ้ ริง 83.57 ดเี ลศิ
5 สอดคล้องกับหลักปรัญญาเศรฐกิจพอเพยี ง 117
6 อปุ กรณ์เป็นของเหลอื ใช/้ วัสดุในทอ้ งถิ่น 85.07 ดเี ลิศ
7 ฝกึ กระบวนการวางแผนและการทำงานเป็นทีม 119.1
8 เห็นคณุ คา่ และสรา้ งรายได้จากวสั ดุในท้องถนิ่

อย่างยง่ั ยืน
9 ทำให้ใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ ลดการม่วั สมุ่

และอบายมขุ
10 ทา่ นคดิ ว่ากจิ กรรมโครงการประสบความสำเร็จ

ระดบั ใด
เฉลีย่ รวม

การแปรความทางสถิติจากระดบั ความคิดเหน็

กำลังพัฒนา ร้อยละ 00.00 – 49.99
ปานกลาง ร้อยละ 50.00 – 59.99
ดี รอ้ ยละ 60.00 – 74.99
ดเี ลศิ ร้อยละ 75.00 – 89.99
ยอดเยี่ยม รอ้ ยละ 90.00 – 100

สรปุ ประมวลผล
1. จากตารางจะพบว่า ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมโครงการมีความคิดเห็นเฉล่ียอยูใ่ นระดับดเี ลิศทกุ ขอ้ คำถาม
2. ขอ้ 5 และ ข้อ 7 ผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมโครงการมคี วามคิดเหน็ เฉลี่ยอยใู่ นระดับสงู สุด
3. ข้อ 2 ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมโครงการมคี วามคิดเหน็ เฉลีย่ อยใู่ นระดับตำ่ สดุ
4. ข้อคดิ เห็นภาพรวมท่มี ีตอ่ ความสำเร็จของกจิ กรรมโครงการ อยใู่ นระดบั ร้อยละ 85.07 (ดเี ลศิ )
ดงั นั้น จงึ สรปุ ได้วา่ การดำเนนิ กจิ กรรมโครงการในครงั้ นีบ้ รรลตุ ามเปา้ ประสงค์ทกุ ประการ

ส่วนท่ี 4
ปัญหาอปุ สรรค แนวทางแกไ้ ข

ในปีการศึกษา 2564 ประเทศไทยทั่วทุกภาค ทุกจังหวัดได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อทางเดินหายใจไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) ร่วมถึงพื้นที่ตั้งของโรงเรียนก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน
ด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ได้มีมาตรการต่างๆ เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค ได้แก่ ให้เจ้าหน้าที่หน่วยงานการทำงานที่บ้าน( WFH)
เพื่อลดการเดินทาง เร่งการฉีดวัคซีนให้ประชาชน และสำหรับสถานศึกษาต่างๆ นั้น กระทรวงศึกษาธิการได้
กำหนดการจัดการเรียนการสอนออกเป็น 5 รูปแบบตามความเหมาะของพ้นื ท่ตี ั้งของโรงเรยี น ไดแ้ ก่ On Site/
On Hand/ On Air/ On Demand และ On Line

โรงเรียนนิคมพัฒนวิทย์ ตระหนักถึงมาตรการดังกล่าวจึงได้มีการประชุมหารือบุคลากรของโรงเรียน
คณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อแนวทางที่เหมาะสมสำหรับการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน โดย มติ
กำหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ On Hand ทุกวันพุธ และ On Demand / On Line ตามความ

พรอ้ มของครแู ละนักเรยี น โดยเร่มิ ดำเนินการภาคเรยี นท่ี 1
ตั้งแตว่ ันท่ี 17 พฤษภาคม 2564 ถงึ 30 กันยายน 2564
และภาคเรียนที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 ถึง
วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565 โรงเรียนได้รับอนุญาตให้เปิด
การเรียนการสอนแบบ On Site ได้ตามหนังสือสำนักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดยะลา ที่ ศธ 02101/ว4 ลงวันที่ 20
มกราคม 2565

ปญั หา/อปุ สรรค
1. ความเอาใจใส่ของนักเรียนที่มีต่อเนื้อหาสาระการเรียนการสอนมีค่อนข้างน้อย เนื่องจาก

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อทางเดินหายใจไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) ค่อนข้างยาวนาน
ประกอบกบั ห้วงเวลาท่มี ีการเรยี นการสอนตามคาบเรยี นที่กำหนดขาดพ่อแมผ่ ปู้ กครองควบคมุ ดูแล ระยะหลังๆ
จำนวนนกั เรียนทเี่ ข้าเรยี น Online จึงคอ่ ยๆ ลดน้อยลงเร่อื ยๆ

2. ความพร้อมของเครื่องมือสื่อสาร (โทรศัพท์มือถือ) ของนักเรียนค่อนข้างแตกต่างกัน นักเรียนบาง
คนไมม่ ีเคร่อื งมือส่ือสาร (โทรศัพทม์ ือถือ) หรือบางคนมีแต่ไมส่ ามารถเข้าถึงการเรยี นการสอนได้ เชน่ ไม่รองรับ
App ใหมๆ่ เปน็ ตน้

3. การเข้าถึงเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่มีคุณภาพทำได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู่
ห่างไกลจากตัวเมือง การเข้าถึงเครืออินเตอร์เน็ตจึงค่อนข้างเป็นอุปสรรคหรือบางครั้งเกิดการขัดข้อง ต้องใช้
เครือข่ายสัญญาณมือถือเป็นหลัก ซ่ึงมีค่าใช้จ่ายและราคาค่อนข้างแพง ไม่เหมาะกับรายได้ของครอบครัว ทำ
ใหน้ ักเรยี นบางคนเสยี โอกาสในการเรียนการสอน

4. การใช้เครื่องมือสื่อสาร (โทรศัพท์มือถือ) ของ
นกั เรยี นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือทางเดิน
หายใจไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) โดยปราศจากพ่อแม่
ผู้ปกครองควบคุมดูแล ทำให้นักเรียนบางส่วนนอกจากจะไม่
เอาใจใส่ด้านการเรียนการสอนแล้ว ยังส่งผลกระทบทำให้ติด
เกมส์ ติดสื่อสังคมออนไลน์ (Facebook/Tiktok) เที่ยวเตร่
ทิง้ การเรยี นโดยสน้ิ เชิง
ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข

1. สรา้ งเครือข่ายพ่อแม่ผู้ปกครองให้มีส่วนร่วมรบั รู้ ดแู ลนักเรยี นในกระบวนการจดั การเรียนการสอน
เชน่ การตดิ ตามงานตามภารกจิ ทคี่ รูมอบหมาย ควบคมุ ดแู ลการเรียนการสอนโดยเฉพาะการเรยี นแบบ Online
ตามกำหนดตารางสอนหรือการนัดหมายของครู

2. สนับสนุนฟรี Wifi สำหรับนักเรียนหรือผู้ให้บริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย ผ่าน
Username หรือหมายเลขประจำตวั ประชาชนของนักเรียนหรอื วิธีการอืน่ ๆ แทนการใหค้ วามชว่ ยเหลอื เป็นเงิน
สด เนื่องจากนกั เรียนส่วนใหญน่ ำเงินดงั กลา่ วไปใชเ้ พือ่ วตั ถุประสงค์อื่นที่ไมใ่ ช่การเรียน

3. มีมาตรการกำหนดความช่วยเหลือด้านการเรียนการสอนที่ชัดเจน ครอบคลุมและเป็นมาตรฐาน
เดียวกัน เช่น การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง เป็นรูปธรรมจากส่วนกลางเพื่อให้ครอบคลุมคุณภาพผู้เรียน
ท่วั ประเทศ ดงั ตวั อยา่ ง การกำหนดตวั ชี้วัดท่ตี ้องรู้กบั ตัวชวี้ ัดท่ีควรรู้ รปู แบบการวดั ผลประเมินผลท่ีสอดคล้อง
กับสถานการณ์ การกำหนดกรอบภาระงานที่นักเรียนต้องรับผิดชอบในลักษณะบูรณาการเพื่อลดความเครียด
ของผเู้ รยี น ซงึ่ อาจนำไปสู่ปัญหาการไมผ่ า่ น ติด “ร” หรือตอ้ งซ้ำช้ัน เปน็ ต้น

4. พัฒนาวิชาชีพด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย นำสื่อ เครื่องมือเทคโนโลยีมาเชื่อมโยงใน
กระบวนการเรียนการสอน ไม่เน้นเนื้อหามากจนไปให้นักเรียนได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติที่ไม่จำกัดกรอบ ตาม
ศกั ยภาพและบรบิ ทของชุมชน เพ่ือลดความเบอื่ หนา่ ยจากการสอนแบบเดมิ ๆ ซ้ำๆ

5. สร้างความตระหนัก ความสำคัญในการ
ปรับตัวให้เข้ากับกระบวนการเรียนรู้แนวใหม่ แบบ
New Normal ซึ่งจะแพร่หลายและมีความจำเป็น
ในสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดในอนาคต หากไม่
สามารถปรับตัวเข้ากับการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆ
จะทำให้นักเรียนเสียโอกาสหลายอย่าง รวมถึง
ผลสัมฤทธิ์ที่จะเกดิ ขึน้ กบั ตวั นักเรียนด้วย


Click to View FlipBook Version