แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๒
สาระวชิ า เศรษฐศาสตร์
ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
หน่วยท่ี 5 เรอื่ ง ระบบเศรษฐกิจ การพึง่ พา การแข่งขนั ทางเศรษฐกิจในทวปี เอเชยี
ครผู ้สู อน
นายอาดนี นั ด์ สาแม
โรงเรียนนิคมพัฒนวิทย์ ตำบลตลง่ิ ชัน อำเภอบันนังสตำ จังหวัดยะลำ
สังกัดสำนักงำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศกึ ษำมัธยมศกึ ษำยะลำ
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 5
เร่ือง ระบบเศรษฐกิจ การพ่งึ พา การแขง่ ขันทางเศรษฐกิจในทวปี เอเชีย
รายวิชา เศรษฐศาสตร์ รหสั วิชา ส 22102 เวลา 4 คาบ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 2
บูรณาการ
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาเซียน STEM PLC
สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น มาตรฐานสากล ขา้ มกลุ่มสาระ
1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั
ส 3.2 ม.2/1 อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ
ม.2/2 ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันทางเศรษฐกิจในภูมิภาค
เอเชีย
ม.2/3 วิเคราะหก์ ารกระจายของทรัพยากรในโลกทส่ี ่งผลต่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศ
ม.2/4 วิเคราะห์การแข่งขันทางการค้าในประเทศและต่างประเทศที่ส่งผลต่อคุณภาพสินค้า
ปริมาณ การผลติ และราคาสนิ คา้
2 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันไปตามระบบเศรษฐกิจ ประเทศใน
ภูมิภาคเอเชียล้วนมีการพึ่งพาอาศัยกัน และแข่งขันกันทางเศรษฐกิจ มีการกระจายทรัพยากร ซึ่งส่งผลดีต่อ
ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ คุณภาพสนิ คา้ การผลิต และราคาสนิ ค้า
3 สาระการเรียนรู้
1) ระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ
2) หลกั การและผลกระทบการพึ่งพาอาศัยกันและการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจในภมู ิภาคเอเชีย
3) การกระจายของทรัพยากรในโลกทสี่ ่งผลตอ่ ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น
นำ้ มัน ป่าไม้ ทองคำ ถ่านหนิ แร่ เป็นตน้
4) การแข่งขันทางการค้าในประเทศและต่างประเทศ
4 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น
4.1 ความสามารถในการส่ือสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู
2) ทักษะการวิเคราะห์
3) ทักษะการเปรียบเทียบ
4) ทกั ษะการให้เหตุผล
5) ทักษะการสร้างความรู้
4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
5 คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี ินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
6 ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
ใบงาน / ใบความรู้
7 การวัดและการประเมินผล
7.1 การประเมินก่อนเรยี น
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอ่ื ง ระบบเศรษฐกจิ การพงึ่ พา การแขง่ ขัน
ทางเศรษฐกจิ ในทวปี เอเชีย
7.2 การประเมนิ ระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
1) ตรวจใบงานที่ 5.1 เรอ่ื ง ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ ม
2) ตรวจใบงานที่ 5.2 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนยิ ม
3) ตรวจใบงานที่ 5.3 เรอ่ื ง ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
4) ตรวจใบงานที่ 5.4 เรอื่ ง การพง่ึ พาและการแข่งขันทางเศรษฐกจิ ในทวปี เอเชีย
*** การเลอื กใชใ้ บงานข้นึ อยู่กบั สถานการณ์การเรียนการสอนและความเหมาะ
7) สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
8) สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่
9) สงั เกตคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
7.3 การประเมนิ หลังเรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 5 เร่ือง ระบบเศรษฐกิจ การพงึ่ พา การแขง่ ขัน
ทางเศรษฐกจิ ในทวปี เอเชีย
7.4 การประเมินช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ตรวจใบงาน/ใบความรู้
8 กิจกรรมการเรียนรู้
นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อน-หลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5
เรอ่ื งที่ 1
ระบบเศรษฐกจิ เวลา 2 ชวั่ โมง
.........................................................................................................................
ขั้นที่ 1 ทบทวนความรู้เดิม
ครใู ห้นกั เรยี นช่วยกนั ยกตวั อย่างประเทศท่มี ีกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เป็นระบบทนุ นิยม พร้อมทั้งบอก
ลักษณะเดน่ ของระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ มทน่ี กั เรยี นมีความรู้เดิมอยู่
ข้ันที่ 2 แสวงหาความรใู้ หม่
1. ครอู ธบิ ายให้นกั เรยี นเข้าใจว่า การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของประเทศต่างๆ มคี วามแตกตา่ งกันไป
ตามระบบเศรษฐกิจ
2. ครแู บ่งนกั เรียนเปน็ กลุม่ กลุ่มละ 3 คน แล้วร่วมกนั ศึกษาความร้เู รื่อง ระบบเศรษฐกจิ
ขน้ั ท่ี 3 ศึกษาทำความเข้าใจข้อมูล/ความรูใ้ หม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหมก่ ับความรู้เดิม
สมาชกิ กลุม่ นำความร้ทู ี่ได้จากการศกึ ษามาเปน็ พน้ื ฐานในการทำ ใบงานท่ี 5.1-5.3
ข้ันท่ี 4 แลกเปล่ียนความรคู้ วามเข้าใจกบั กลุ่ม
ครใู ห้สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ รับผิดชอบใบงานร่วมกัน และรว่ มกันอธบิ ายประเด็นสำคัญตามหัวขอ้ ในใบงานท่ตี น
รบั ผิดชอบตามลำดบั สมาชกิ คนอน่ื ผลัดกันซักถามจนมคี วามเข้าใจตรงกัน
ขน้ั ท่ี 5 สรุปและจดั ระเบียบความรู้
สมาชกิ แต่ละกลุ่มร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรปุ ผลงานในใบงานท่ี 5.1-5.3
ข้นั ที่ 6 ปฏบิ ตั แิ ละ/หรือแสดงผลงาน
ตัวแทนแตล่ ะกลมุ่ นำเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรยี น จากน้ันครูและนักเรยี นชว่ ยกันสรุปสาระสำคัญและความ
แตกต่างระหวา่ งระบบเศรษฐกิจแต่ละประเภท
ข้ันที่ 7 ประยุกต์ใชค้ วามรู้
ครใู ห้นักเรยี นแต่ละคนสืบค้นข้อมลู ความรูเ้ ก่ียวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศที่ตนสนใจ แลว้ จดั ทำ
เปน็ แผน่ พับ พร้อมวเิ คราะหข์ ้อดีและขอ้ เสยี ของลกั ษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจดังกล่าว
เรอื่ งท่ี 2
การพ่ึงพาและการแขง่ ขันทางเศรษฐกิจในทวปี เอเชยี เวลา 2 ชัว่ โมง
.........................................................................................................................
ข้ันที่ 1 สรา้ งคณุ คา่ และประสบการณ์ของส่ิงทีเ่ รียน
ครูนำข่าวเกย่ี วกับการติดต่อค้าขายของประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชียมาเล่าให้นักเรยี นฟัง แล้วใหน้ ักเรียน
ตอบคำถามเก่ยี วกบั ข้อมูลของกิจกรรมในข่าว
ขน้ั ท่ี 2 วิเคราะห์ประสบการณ์
ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันอภิปรายเชื่อมโยงความคิด และทบทวนประเด็นสำคญั และผลดีของกิจกรรมในข่าว
ขั้นที่ 3 ปรับประสบการณเ์ ปน็ ความคิดรวบยอด
ครใู ห้นกั เรียนช่วยกนั วเิ คราะหข์ ้อมลู ในขา่ ว แลว้ รว่ มกนั สรุปประเดน็ สำคัญ
ข้ันที่ 4 พัฒนาความคิดรวบยอด
ครอู ธิบายความรู้ใหน้ กั เรยี นฟังเก่ยี วกบั การพง่ึ พาและการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ ในทวปี เอเชยี โดยให้
นกั เรยี นศกึ ษาความรู้เพิ่มเตมิ จากหนังสือเรียน และหนังสือค้นคว้าเพ่มิ เติม
ขั้นท่ี 5 ลงมือปฏบิ ัติจากกรอบความคดิ ทกี่ ำหนด
นักเรยี นแต่ละกลุ่มช่วยกนั ทำใบงานท่ี 5.4 เรื่อง การพ่งึ พาและการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ ในทวีปเอเชยี
ข้นั ที่ 6 สรา้ งชนิ้ งานเพือ่ สะท้อนความเปน็ ตนเอง
***ครูมอบหมายใหน้ กั เรียนแต่ละกล่มุ รว่ มกนั จัดทำป้ายนเิ ทศ หรือแผน่ พับ หรอื สมดุ เล่มเล็กอย่างใดอยา่ งหนึ่ง
เรอ่ื ง ระบบเศรษฐกจิ การพึง่ พา การแข่งขันทางเศรษฐกิจในทวีปเอเชีย โดยใหค้ รอบคลุมประเด็นตามท่ีกำหนด
ขั้นท่ี 7 วิเคราะหค์ ุณค่าและประยุกตใ์ ช้
นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ผลงานการจัดทำปา้ ยนิเทศ หรือแผ่นพับ หรือสมุดเล่มเล็ก
ขั้นที่ 8 แลกเปล่ียนประสบการณเ์ รียนรกู้ บั ผอู้ ื่น
นักเรียนแต่ละกล่มุ นำเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรียน และผลดั กันวพิ ากษ์ วิจารณผ์ ลงานอยา่ งสร้างสรรค์
9 ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
- หนงั สอื เรียน เศรษฐศาสตร์ ม.2
- ตัวอย่างขา่ ว
- ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนยิ ม
- ใบงานท่ี 5.2 เรื่อง ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยม
- ใบงานท่ี 5.3 เรอ่ื ง ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม
- ใบงานที่ 5.4 เรอ่ื ง การพ่งึ พาและการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจในทวีปเอเชยี
*** การเลอื กใช้ใบงานขึน้ อยู่กบั สถานการณก์ ารเรียนการสอนและความเหมาะ
ลงช่ือ.......................................................
(นายอาดนี ันด์ สาแม)
ครูผู้สอน
ความเห็น/ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื .......................................................
(นางรตั นา กล่นิ มณ)ี
หวั หน้าฝ่ายบริหารวิชาการ
ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
ลงชือ่ .......................................................
(นายภาสกร แก้ววชิ ติ )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
รายการประเมิน ดมี าก (4) คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดบั คะแนน ปรบั ปรุง (1)
ดี (3) พอใช้ (2)
1. การอธิบายระบบ อธบิ ายระบบเศรษฐกจิ อธบิ ายระบบเศรษฐกจิ อธบิ ายระบบเศรษฐกจิ อธบิ ายระบบเศรษฐกจิ
เศรษฐกิจแบบ แบบตา่ งๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง แบบต่างๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง แบบต่างๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง แบบต่างๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง
ต่างๆ ละเอยี ด ชดั เจน เป็นสว่ นใหญ่ เป็นบางส่วน เพยี งสว่ นน้อย
2. การอธิบายและ อธบิ ายและยกตวั อย่าง อธบิ ายและยกตวั อย่าง อธบิ ายและยกตวั อยา่ ง อธบิ ายและยกตวั อยา่ ง
ยกตวั อยา่ งการ
พึ่งพาอาศยั กนั การพง่ึ พาอาศยั กนั และ การพง่ึ พาอาศยั กนั และ การพง่ึ พาอาศยั กนั และ การพง่ึ พาอาศยั กนั และ
และการแขง่ ขนั
ทางเศรษฐกิจใน การแขง่ ขนั ทาง การแขง่ ขนั ทาง การแขง่ ขนั ทาง การแขง่ ขนั ทาง
ภมู ิภาคเอเชีย
เศรษฐกจิ ในภมู ภิ าค เศรษฐกจิ ในภมู ภิ าค เศรษฐกจิ ในภมู ภิ าค เศรษฐกจิ ในภมู ภิ าค
เอเชยี ไดถ้ ูกตอ้ ง เอเชยี ไดถ้ กู ตอ้ ง เอเชยี ไดถ้ ูกตอ้ ง เอเชยี ไดถ้ ูกตอ้ ง แตไ่ ม่
มเี หตผุ ลเหมาะสม มเี หตผุ ลเหมาะสม เป็นบางสว่ น มเี หตผุ ลเหมาะสม
3. การวิเคราะห์การ วเิ คราะหก์ ารกระจาย วเิ คราะหก์ ารกระจาย วเิ คราะหก์ ารกระจาย วเิ คราะหก์ ารกระจาย
ของทรพั ยากรในโลกท่ี ของทรพั ยากรในโลกท่ี ของทรพั ยากรในโลกท่ี
กระจายของ ของทรพั ยากรในโลกท่ี ส่งผลต่อความสมั พนั ธ์ สง่ ผลต่อความสมั พนั ธ์ ส่งผลตอ่ ความสมั พนั ธ์
ทางเศรษฐกจิ ระหว่าง ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ ง ทางเศรษฐกจิ ระหว่าง
ทรพั ยากรในโลก ส่งผลตอ่ ความสมั พนั ธ์ ประเทศไดถ้ กู ตอ้ ง ประเทศไดถ้ กู ตอ้ ง ประเทศไดถ้ ูกตอ้ ง
เป็นสว่ นใหญ่ เป็นบางส่วน เพยี งส่วนน้อย
ท่ีส่งผลต่อ ทางเศรษฐกจิ ระหว่าง
ความสมั พนั ธ์ ประเทศไดถ้ กู ตอ้ ง
ทางเศรษฐกิจ ครบถว้ นทุกประเดน็
ระหวา่ งประเทศ
4. การวิเคราะหก์ าร วเิ คราะหก์ ารแขง่ ขนั วเิ คราะหก์ ารแขง่ ขนั วเิ คราะหก์ ารแขง่ ขนั วเิ คราะหก์ ารแขง่ ขนั
แขง่ ขนั ทาง ทางการคา้ ในประเทศ ทางการคา้ ในประเทศ ทางการคา้ ในประเทศ ทางการคา้ ในประเทศ
การคา้ ใน และตา่ งประเทศทส่ี ่งผล และตา่ งประเทศทส่ี ่งผล และตา่ งประเทศทส่ี ่งผล และตา่ งประเทศทส่ี ง่ ผล
ประเทศและ ต่อคณุ ภาพสนิ คา้ ตอ่ คุณภาพสนิ คา้ ตอ่ คุณภาพสนิ คา้ ต่อคุณภาพสนิ คา้
ต่างประเทศ ปรมิ าณการผลติ และ ปรมิ าณการผลติ และ ปรมิ าณการผลติ และ ปรมิ าณการผลติ และ
ราคาสนิ คา้ ไดอ้ ยา่ งมี ราคาสนิ คา้ ไดอ้ ย่างมี ราคาสนิ คา้ ไดอ้ ย่างมี ราคาสนิ คา้ ไม่ถกู ตอ้ ง
เหตผุ ล ถูกตอ้ ง เหตผุ ล ถูกตอ้ ง เหตผุ ล ถูกตอ้ ง
เหมาะสม 3 ประเดน็ เหมาะสม 2 ประเดน็ เหมาะสม 1 ประเดน็
ช่วงคะแนน 11 - 12 เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ 6-8 ตำ่ กว่า 6
ระดับคณุ ภาพ ดมี าก พอใช้ ปรบั ปรุง
9 - 10
ดี
แบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5
คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลือกคาตอบท่ถี ูกต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดียว
1. ลกั ษณะสาคญั ของระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม คอื อะไร 5. ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยม มขี อ้ ดคี อื อยา่ งไร
ก. ใหเ้ สรภี าพแก่เอกชนในการดาเนนิ กจิ กรรมดา้ น ก. รฐั บาลควบคุมการผลติ ใหเ้ ป็นไปตามเป้าหมาย
เศรษฐกจิ ประชาชนไดร้ บั การดแู ลเกย่ี วกบั สวสั ดกิ ารจากรฐั
ข. เอกชนเป็นเจา้ ของทรพั ยส์ นิ และปัจจยั การผลติ เท่าเทยี มกนั
บางประเภท ข. การดาเนินการทางดา้ นการผลติ มกี ารแขง่ ขนั อยา่ ง
ค. รฐั เป็นเจา้ ของปัจจยั การผลติ หรอื ทรพั ยากรต่างๆ ของ อสิ ระ สนิ คา้ มมี ากมายหลายประเภท
สงั คม ค. ประชาชนมเี สรภี าพในการประกอบอาชพี ทาใหม้ ี
ง. รฐั และเอกชนรว่ มกนั ดาเนินการผลติ เพอ่ื ประโยชน์ของ อาชพี หลากหลาย
สว่ นรวม ง. เกดิ การจงู ใจในการแขง่ ขนั กนั ผลติ สนิ คา้ ทกุ
ประเภท
2. ขอ้ ดขี องระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม คอื อะไร
ก. เอกชนสามารถแขง่ ขนั กนั ผลติ สนิ คา้ ไดอ้ ย่างเสรี 6. ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยม มขี อ้ เสยี อยา่ งไร
ข. ประชาชนไดร้ บั การดแู ลดา้ นสวสั ดกิ ารจากรฐั ก. ใชท้ รพั ยากรธรรมชาตเิ ปลอื ง เพราะตอ้ งนามาใชใ้ น
อยา่ งทวั่ ถงึ การแขง่ ขนั การผลติ
ค. รฐั บาลสามารถควบคมุ ดแู ลการผลติ ทกุ ประเภทใหม้ ี ข. ประชาชนไมม่ เี สรภี าพในการทาธุรกจิ ตามความรู้
คุณภาพ ความสามารถของตน
ง. ผทู้ ม่ี คี วามสามารถสงู สามารถผลติ สนิ คา้ ไดม้ าก ค. เกดิ การแขง่ ขนั การโฆษณาสนิ คา้ ทาใหต้ อ้ งเสยี
ขายสนิ คา้ ไดม้ าก มกี าไรมาก เกดิ แรงจงู ใจในการ ค่าใชจ้ ่าย และสญู เสยี ทรพั ยากรในการโฆษณา
ทางาน ง. รฐั บาลเป็นผวู้ างแผนดาเนินการผลติ และการ
บรหิ ารจดั การทรพั ยากรรว่ มกบั เอกชน
3. ขอ้ เสยี ของระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ ม คอื อะไร
ก. หากมผี ผู้ ลติ สนิ คา้ น้อยราย ผผู้ ลติ มโี อกาสรวมตวั กนั 7. ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม มลี กั ษณะสาคญั อยา่ งไร
ผกู ขาดการผลติ เพราะรฐั ไมไ่ ดเ้ ขา้ ไปควบคุม ก. การแขง่ ขนั การผลติ เป็นไปอย่างเสรี รฐั จะไมเ่ ขา้ ไป
ข. การวางแผนการผลติ โดยรฐั และเอกชนรว่ มกนั อาจเกดิ แทรกแซง
ขอ้ ขดั แยง้ กนั ได้ ข. กจิ การดา้ นการผลติ เป็นของเอกชนเฉพาะสว่ นท่ี
ค. ประชาชนไมม่ เี สรภี าพในการผลติ จงึ ขาดแรงจงู ใจใน เกย่ี วกบั ดา้ นอุตสาหกรรม
การทางาน ค. รฐั และเอกชนร่วมกนั วางแผนการผลติ สนิ คา้ และ
ง. การดาเนินงานไม่คลอ่ งตวั เพราะสว่ นมากเป็นธุรกจิ บรกิ ารทุกประเภท เพ่อื ใหส้ นิ คา้ และบรกิ ารมี
ขนาดใหญ่ คณุ ภาพ
ง. เอกชนทาการผลติ แตร่ ฐั เขา้ ไปแทรกแซง หรอื มี
4. ผผู้ ลติ ภายในประเทศไทยมลี กั ษณะเป็นธรุ กจิ ประเภทใด สว่ นรว่ มในกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ดว้ ย เพอ่ื ใหเ้ กดิ
เป็นส่วนใหญ่ ความเป็นธรรมทางเศรษฐกจิ
ก. ธุรกจิ ขนาดเลก็
ข. ธรุ กจิ ขนาดกลาง 8. ประเทศใด ใชร้ ะบบเศรษฐกจิ แบบผสม
ค. ธุรกจิ ขนาดใหญ่ ก. ไทย สงิ คโปร์ ญ่ปี ่นุ
ง. ธรุ กจิ ขนาดใหญพ่ เิ ศษ ข. จนี อนิ เดยี เวยี ดนาม
ค. พมา่ ลาว ฟิลปิ ปินส์
ง. กมั พชู า พม่า ไทย
9. ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม มขี อ้ เสยี อยา่ งไร 13. การทป่ี ระเทศตา่ งๆ ในเอเชยี พยายามสง่ สนิ คา้ ออกไป
ก. เอกชนมเี สรภี าพในการประกอบอาชพี ทาใหม้ กี าร แขง่ ขนั ในตลาดโลกนนั้ มจี ุดมุง่ หมายสาคญั อยา่ งไร
ผกู ขาดการผลติ และบรกิ าร ก. เพ่อื เป็นการประชาสมั พนั ธป์ ระเทศในเอเชยี
ข. รฐั บาลไมส่ ามารถเขา้ ไปแทรกแซงกจิ การดา้ นการ ข. เพ่อื ใหส้ นิ คา้ ของเอเชยี เป็นทร่ี จู้ กั กนั อยา่ ง
ผลติ ของเอกชนไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี แพร่หลาย
ค. ทรพั ยากรธรรมชาตถิ กู นามาใชใ้ นการผลติ เป็น ค. เพ่อื ใหผ้ บู้ รโิ ภคนยิ มหรอื เลอื กซ้อื สนิ คา้ ส่งออกของ
จานวนมาก เน่อื งจากเอกชนมเี สรภี าพในการผลติ ตน
ง. การวางแผนจากส่วนกลาง เพ่อื ประสานประโยชน์ ง. เพ่อื ใหเ้ ป็นทเ่ี ช่อื ถอื ของนกั ลงทนุ และนักลงทุนจะ
ของรฐั กบั เอกชนใหเ้ กดิ ผลดตี ่อส่วนรวมอยา่ งแทจ้ รงิ ทา ไดน้ าเงนิ ไปลงทนุ ในภมู ภิ าคเอเชยี
ไดย้ าก
14. ปัจจยั สาคญั ทม่ี ผี ลตอ่ เศรษฐกจิ โลก ไดแ้ กอ่ ะไร
10. ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม มขี อ้ ดอี ย่างไร ก. ทด่ี นิ แรงงาน
ก. การบรหิ ารงานโดยรฐั และเอกชนรว่ มกนั ทาให้ ข. ทนุ ผปู้ ระกอบการ
สนิ คา้ และบรกิ ารมคี ุณภาพ ค. ทรพั ยากรธรรมชาติ ผปู้ ระกอบการ
ข. เอกชนมบี ทบาททางเศรษฐกจิ มกี ารแขง่ ขนั กนั ผลติ ง. ทรพั ยากรธรรมชาติ แรงงาน และทุน
สนิ คา้ มคี ุณภาพ
ค. การดาเนินการผลติ โดยรฐั ส่งผลดตี อ่ คณุ ภาพของ 15. เม่อื ประเทศไทยมคี วามเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ สงู
สนิ คา้ และบรกิ าร ผลทต่ี ามมาคอื ขอ้ ใด
ง. เอกชนมแี รงจงู ใจในการผลติ และบรกิ าร ทาใหม้ กี าร ก. ประชาชนมรี ายไดด้ ี สามารถเกบ็ เงนิ ไดม้ าก
แขง่ ขนั กนั สงู ไม่ตอ้ งการซอ้ื สนิ คา้ นาเขา้ จากตา่ งประเทศ
ข. ประชาชนมกี าลงั ซ้อื น้อยลง เพราะราคาสนิ คา้ แพง
11. หลกั การพง่ึ พาทางเศรษฐกจิ ทส่ี าคญั ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง มกี ารเกบ็ ออมมากขน้ึ
ก. การพง่ึ พาทางการผลติ กระบวนการผลติ ค. ประชาชนมกี าลงั ซ้อื และตอ้ งการสนิ คา้ นาเขา้ จาก
ปัจจยั การผลติ ประเทศอน่ื มากขน้ึ
ข. การพง่ึ พาทางการคา้ การลงทนุ การพง่ึ พาอาศยั ง. คา่ ครองชพี ของประชาชนสงู ขน้ึ ความตอ้ งการซ้อื
เทคโนโลยี สนิ คา้ น้อยลง
ค. การพง่ึ พาทางดา้ นปัจจยั การผลติ
ทรพั ยากรธรรมชาติ และการบรกิ าร 16. ตลาดทม่ี กี ารแขง่ ขนั ระดบั สงู มาก มผี ผู้ ลติ และผซู้ อ้ื
ง. การพง่ึ พาทางดา้ นสนิ คา้ การพง่ึ พาทางดา้ นบรกิ าร จานวนมาก จดั เป็นตลาดประเภทใด
และดา้ นเทคโนโลยี ก. ตลาดผกู ขาด
ข. ตลาดกง่ึ แขง่ ขนั
12. การทก่ี ล่มุ ผผู้ ลติ น้ามนั สามารถกาหนดราคาน้ามนั ใน ค. ตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์
ตลาดโลกไดน้ นั้ แสดงใหเ้ หน็ ความสาคญั ของสงิ่ ใด ง. ตลาดกง่ึ แขง่ ขนั กง่ึ ผกู ขาด
ก. ทรพั ยากรธรรมชาติ
ข. ผปู้ ระกอบการ 17. ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยมมลี กั ษณะสาคญั อยา่ งไร
ค. แรงงาน ก. มกี ารแขง่ ขนั การผลติ ในธุรกจิ ขนาดใหญบ่ างอยา่ ง
ง. ทด่ี นิ ทาใหเ้ กดิ การผนั แปรทางเศรษฐกจิ อย่างมาก
ข. เอกชนเป็นเจา้ ของทรพั ยส์ นิ และเป็นเจา้ ของปัจจยั
การผลติ ในบางส่วนทก่ี ฎหมายกาหนด
ค. รฐั เป็นเจา้ ของปัจจยั การผลติ ในสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั
ประชาชนสว่ นใหญ่
ง. รฐั เป็นเจา้ ของกรรมสทิ ธใิ์ นทรพั ยส์ นิ เป็นเจา้ ของ
ปัจจยั การผลติ
18. การแขง่ ขนั ทางการคา้ ยงั ตา่ งประเทศ มผี ลสาคญั 19. การรวมกลุ่มของอาเซยี น ส่งผลดตี อ่ ขอ้ ใดมากทส่ี ุด
อยา่ งไร ก. สรา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งประเทศ
ก. ผผู้ ลติ สนิ คา้ ไดก้ าไรมากวา่ ขายในประเทศ ข. สรา้ งความเขม้ แขง็ ทางดา้ นเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าค
ข. ราคาสนิ คา้ ถกู มากวา่ ปกติ เพราะตอ้ งมกี ารแขง่ ขนั ค. มกี ารคดิ ต่อคา้ ขายระหว่างประเทศในกล่มุ อาเซยี น
กนั ง. สรา้ งความมนั ่ คงทางการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คม
ค. อตั ราคา่ จา้ งขนั้ ต่าของแรงงานไดร้ บั การปรบั ปรุงให้
สงู ขน้ึ 20. การจดั อนั ดบั ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางการคา้
ง. ผผู้ ลติ สนิ คา้ ตอ้ งปรบั ปรงุ คณุ ภาพสนิ คา้ เพอ่ื ใหไ้ ด้ ของประเทศไทย ของสถาบนั เพอ่ื การพฒั นาการจดั การ
มาตรฐานสากล (IMD) ประเทศไทย มปี ระสทิ ธภิ าพในการแขง่ ขนั ในระดบั ใด
ก. ต่า ข. ปานกลาง
ค. สงู ง. ค่อนขา้ งสงู
บนั ทกึ หลงั การสอน
ใ 5 เรือ่ ง ระบบเศรษฐกจิ การพง่ึ พา การแข่งขันทางเศรษฐกจิ ในทวีปเอเชีย
แผนการสอนที่
ใ
วันที่
เดอื น พ.ศ. ใ
ผลการจัดการเรยี นรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………..…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………..…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………..…………
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………..…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………..…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………..…………
ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………..…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………..…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………..…………
ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงช่ือ.............................................ผู้อำนวยการโรงเรียน
(นายอาดีนนั ด์ สาแม) (นายภาสกร แก้ววชิ ดิ )