The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงาน ทัศนศิลป์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-09-17 22:09:32

โครงงาน ทัศนศิลป์

โครงงาน ทัศนศิลป์

โครงงาน ทศั นศลิ ป์

เร่อื ง กระถางตน้ ไมป้ นู ปลาสเตอร์ จากผา้ ขนหนู

จดั ทาโดย
นาย สวุ ศิ ิษฎ์ แกน่ ภเู ขยี ว เลขท่ี 7
นาย วรมงคล คตุ ไหม เลขท่ี20

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี5/1

เสนอ
นาย วนั ชยั พลู ยอด

โครงงานเลม่ นเี้ ป็นสว่ นหนึ่งของวิชา ทศั นศลิ ป์
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ

ภาคเรียนท่ี1 ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี น ฤทยั ทิพย์



ช่ือโครงาน:โครงงานทศั นศลิ ป์ ปะเภทประติมากรรมเร่ือง กระถางตน้ ไมป้ นู ปลาสเตอรจ์ ากผา้ ขนหนู

ช่ือผจู้ ดั ทา:นาย สวุ ิศษิ ฎ์ แก่นภเู ขยี ว เลขท่ี 7

นาย วรมงคล คตุ ไหม เลขท่ี 20

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/1

อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา: นายวนั ชยั พลู ยอด

ปีการศกึ ษา : 2564
บทคดั ยอ่

โครงงาน กระถางตน้ ไมจ้ ากผา้ ขนหนู เป็นโครงงานท่คี ิดคน้ เพ่ือใหน้ กั เรียนสามารถ วางแผน และ
ออกแบบกระถางท่ีทามาจากวสั ดเุ หลือใช้ เชน่ ผา้ ขนหนู หรือเสือ้ ผา้ ท่ไี ม่ไดใ้ ชแ้ ลว้ ท่สี ามารถนามาทาใหเ้ กิด
เป็นงานศิลปะรูปแบบใหม่ สามารถบอกขนั้ ตอนในการทางาน มคี วามเขา้ ใจอยา่ งลกึ ซงึ้ และเหน็ คณุ ค่า
ของงานท่สี รา้ งขนึ้ รูจ้ กั ทางานรว่ มกบั ผอู้ ่นื และความสามคั คีในหม่คู ณะ



กิตตกิ รรมประกาศ

การจดั ทาโครงงานประเภทประติมากรรม เรือ่ ง กระถางตน้ ไมป้ นู ปลาสเตอรจ์ ากผา้ ขนหนู ทงั้ นี้
ตอ้ งขอขอบคณุ คณุ ครู วนั ชยั พลู ยอด ท่ใี หโ้ อกาสในการจดั ทาโครงงานทศั นศิลป์ ครง้ั นี้

โครงงานทศั นศลิ ป์ ประเภทประติมากรรม เร่ืองกระถางตน้ ไมป้ นู ปลาสเตอรจ์ ากผา้ ขนหนู ฉบบั นี้
สาเรจ็ ได้ ดว้ ยความกรุณาของคณุ ครู วนั ชยั พลู ยอด ท่ีกรุณาใหค้ าปรกึ ษาและแกไ้ ขขอ้ บกพร่องต่างๆ
พรอ้ มทงั้ ใหข้ อ้ เสนอแนะท่เี ป็นประโยชนจ์ นกระท่งั โครงงานสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดีคณะผจู้ ดั ทา
ขอขอบพระคณุ เป็นอย่างสงู ไว้ ณ โอกาสนี้

และขอขอบคณุ เว็บไซต์ http://panwasa2004.blogspot.comและชอ่ งยทู บู
Amarin Newmedie ท่ใี หแ้ นวคดิ เก่ียวกบั การทากระถางตน้ ไมป้ นู ปลาสเตอรจ์ ากผา้ ขนหนู ซ่งึ เป็น
การนาของเหลือใช้ นามาประดิษฐ์ โดยใสไ่ อเดีย ลงไป ก็ในเกิดผลงานขึน้ มาใหม่



สารบญั

เรอื่ ง หนา้
บทคดั ย่อ------------------------------------------------------------------------ ก
กิตตกิ รรมประกาศ--------------------------------------------------------------- ข
สารบญั ------------------------------------------------------------------------- ค
บทท่1ี บทนา-------------------------------------------------------------------- 1
ท่มี าและความสาคญั ------------------------------------------------------------ 1
วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน---------------------------------------------------------- 1
ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั ------------------------------------------------------------------ 1
บทท่2ี เอกสารท่เี ก่ียวขอ้ ง---------------------------------------------------------- 2-8
บทท่3ี วิธีดาเนนิ งาน-------------------------------------------------------------- 9-11
วสั ดอุ ปุ กรณ-์ -------------------------------------------------------------------- 9
ขนั้ ตอนการทา------------------------------------------------------------------- 10-11
บทท่4ี ผลการศกึ ษา-------------------------------------------------------------- 12
บทท่5ี สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ---------------------------------------------------- 13
สรุปผล----------------------------------------------------------------------- 13

ขอ้ เสนอแนะ------------------------------------------------------------------ 13
เอกสารอา้ งอิง------------------------------------------------------------------ 14
ภาคผนวก--------------------------------------------------------------------- 15-16

1

บทท1ี่
บทนา

ท่มี าและความสาคญั

ผา้ ขนหนู เป็นเคร่อื งใชส้ ่วนตวั ท่มี ีใชก้ นั ทกุ คนและทกุ ครวั เรือน ดว้ ยลกั ษณะการใชง้ านคอื ทาให้
รา่ งกายแหง้ หลงั ชาระลา้ งรา่ งกาย ผา้ ขนหนทู ่ีดจี งึ มคี ณุ สมบตั ใิ นการซมึ ซบั นา้ เป็นอย่างดีทงั้ นีใ้ นปัจจุบนั มี
วสั ดทุ ่หี ลากหลายท่ใี ชส้ าหรบั การผลิตผา้ ขนหนู จึงทาใหผ้ า้ ขนหนมู คี ณุ สมบตั แิ ตกต่างกนั ออกไปตามแต่
วสั ดุ

วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน

1.เพ่ือเสรมิ สรา้ งการศกึ ษาคน้ ควา้ หรือการทางานวิจยั เลก็ ๆ ของนกั เรยี น

2.เพ่อื ใหน้ กั เรียนมคี วามคิดสรา้ งสรรคท์ ่จี ะเสนอและผลิตผลงานดว้ ยความรูข้ องตนเอง

3.เพ่อื ใหผ้ ศู้ ึกษามเี จตนคตแิ ละเหน็ คณุ ค่าในการเรียนรูแ้ ละภมู ิใจในงานดว้ ยความรูข้ องตนเอง

4.เพ่อื ใหผ้ ศู้ ึกษาเห็นแนวทางการประยุกตใ์ ชค้ วามรูใ้ นชวี ิตประจาวนั

5.เพ่อื ใหผ้ ศู้ ึกษาเกดิ ความสามคั คใี นการทางานรว่ มกนั

ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ บั

1.ไดช้ ิน้ งานท่ีความคดิ สรา้ งสรรค์

2.สามารถนาสิง่ ประดิษฐม์ าใชไ้ ดจ้ รงิ

3.มคี วามสามคั คีกนั ในหม่คู ณะ

4.ทาใหเ้ ห็นคณุ ค่าของชนิ้ งาน

5.สง่ เสรมิ การคน้ ควา้ การทางาน

2

บทท2่ี
เอกสารทเ่ี ก่ยี วข้อง

ความหมายของกระถาง

กระถาง ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2525 หมายถึง “ภาชนะท่ีมีปากกวา้ ง
รูปแบบต่างๆใชส้ าหรบั ปลกู ตน้ ไม้

ประเภทและชนดิ ของกระถาง

ภาชนะใด ๆ ก็ตามที่เรานามาใชเ้ พ่อื ใส่ดินหรือเครื่องปลูกเพื่อใชป้ ลูกพนั ธุไ์ มล้ งไปในน้นั แลว้ กอ็ าจจะรวม
เรียกในท่ีน้ีท้งั หมดวา่ กระถางกไ็ ด้ ซ่ึงอาจจะเป็นภาชนะขนาดเลก็ ท่ียกยา้ ยเคลื่อนที่ไดส้ ะดวกหรือเป็น
ภาชนะใหญ่โต ท่ีติดอยกู่ บั ที่ยกเคลื่อนยา้ ยไปไหนไมไ่ ด้ ดงั เช่นกระบะซีเมนต์ หรือกระบะคอนกรีตที่
ออกแบบก่อสร้างติดอยกู่ บั อาคารสถานท่ี โดยเฉพาะส่ิงเหล่าน้ีจะถือวา่ เป็นกระถางท้งั สิ้นเพราะมีหลกั สาคญั
อยดู่ ว้ ยกนั คือ

1.เพื่อใช้เลยี้ งต้นไม้อ่อน ๆ หรือตน้ กลา้ หรือตน้ ไมท้ ่ียงั ไม่แขง็ แรงพอ เป็นการปลกู ลงในกระถางเพยี งชว่ั
ระยะหน่ึงที่จะรอการเจริญเติบโตจนแขง็ แรงดีแลว้ จึงนาลงปลกู ในพ้ืนที่ดินตอ่ ไป กระถางประเภทน้ีเป็น
กระถางธรรมดา ท่ีอาจใชว้ สั ดุเหลือใชอ้ ่ืน ๆ หรือวสั ดุที่หาง่ายราคาถูกมาดดั แปลงใชก้ ็ไดเ้ ช่น กระบอกไมไ้ ผ่
เจาะรูที่กน้ เหนือขอ้ หรือกระบอกไมไ้ ผผ่ า่ คร่ึงตามยาวแลว้ ประกบกนั เขา้ ไปใหม่ ใหเ้ ป็นรูปกระบอกใชเ้ ชือก
หรือลวดรัดใหอ้ ยู่ กระถางไมไ้ ผ่ หรือกระบอกแบบน้ีเวลาจะนาพนั ธุไ์ มอ้ อกปลกู กแ็ กะกระบอก ออก ทาให้
สะดวกในการเอาพนั ธุ์ไมอ้ อกปลกู โดยไม่กระทบกระเทือนระบบรากในกระบอกน้นั นอกจากน้ีอาจใช่ปี บ
กระป๋ อง ลงั ไมก้ ็ได้ ท่ีนิยมใชก้ นั มากเพราะหาง่ายจานวนมาก กค็ อื หมอ้ หุงขา้ วดินเผาที่เผาแลว้ ร่ัวร้าวมาใช้
ปลกู กิ่งตอน เวลาจะปลูกก็ทุบหมอ้ ทิง้ โดยไม่ตอ้ งเสียดายหมอ้ ดินน้นั ในทอ้ งที่บางแห่งใชไ้ มไ้ ผส่ านเป็น
กระถางปลูกกิ่งตอนเช่น กิ่งตอนลาไยในภาคเหนือ เรียกกระถางแบบน้ีวา่ “ก๋วย” เวลาปลูกกป็ ลกู ลงไปท้งั
กระถางหรือก่วย กจ็ ะผพุ งั กลายเป็นดินไปในไม่ชา้ ในปัจจุบนั น้ีเป็นยคุ ของถงุ พลาสติกกใ็ ชถ้ งุ พลาสติกเจาะ
รูเป็นกระถางปลกู หรือเพาะเมลด็ พนั ธุ์ไมก้ ็ได้ เวลาปลกู หรือเปล่ียนกระถางกต็ อ้ งฉีกถงุ พลาสติกน้นั ออก
เสียก่อน หากใชก้ ระถางดินเหนียวเผาแลว้ กจ็ ะดีกวา่ กระถางอยา่ งอื่นเพราะใช่ไดห้ ลายคร้ังทนทานดีกวา่ แต่
กระถางที่ใชป้ ลูกพนั ธุ์ไมเ้ ลก็ น้ีมีความจาเป็นท่ีจะตอ้ งถ่ายกระถาง จากขนาดเลก็ ใหโ้ ตข้นึ เรื่อย ๆ ขอ้ สาคญั ใน
การเลือกกระถางแบบน้ีจึงพิจารณาเลือกกระถางท่ีมีรูปร่างปากกวา้ ง

3

กวกน้ เพอื่ สะดวกในการถ่ายเทพนั ธุ์ไมอ้ อกจากกระถางโดยไม่ช้าตอ่ พนั ธุไ์ มแ้ ละกระถางไมแ่ ตกเสียหายอีก
ดว้ ย ในทอ้ งท่ีชนบทบางแห่งอาจใชใ้ บไมท้ ่ีมีใบใหญห่ นาเป็นกระถางเพาะเมลด็ หรือในภาคกลางบางรายก็
อาจใชก้ ระทงใบตองแหง้ เป็นกระถางเพาะเมลด็ พนั ธุไ์ มเ้ ลก็ ๆ ก่อนลงปลูกในดินเช่นพริก มะเขือ ฟักแฟง
แตงตา่ ง ๆ

ความหมายของปูนปลาสเตอร์

ปูนปลาสเตอร์ (องั กฤษ: Plaster หรือ Plaster of Paris) คือปูนท่ีใชท้ าประโยชน์หลาย
อยา่ งเช่น วสั ดุก่อสร้าง และไดม้ ีการคน้ พบมากวา่ 9,000 ปี แลว้ โดยไดม้ ีการคน้ พบที่คาบสมุทรอนาโต
เลียและซีเรีย แตท่ ่ีเรารู้จกั กนั ดีกค็ อื การนามาเป็นวสั ดุก่อสร้างในการทาพีระมิดของชาวอียปิ ต์ เม่ือประมาณ
5,000 ปี โดยมีการบนั ทึกถึงข้นั ตอนการผลิต (นา gypsum มาเผาแลว้ บดให้เป็นผง และนาไปผสมกบั
น้าเม่ือตอ้ งการใชง้ าน) ใชเ้ ป็นวสั ดุเชื่อมต่อระหวา่ งกอ้ นหินแตล่ ะกอ้ นในการสร้างพรี ะมิด และไดถ้ ูกใชง้ าน
มาเรื่อย ๆ ตามหนา้ ประวตั ิศาสตร์อนั ยาวนานของวงการก่อสร้าง จนกระทง่ั ในช่วงศตวรรษท่ี 20 ปูน
ปลาสเตอร์เร่ิมที่จะนามาใชอ้ ยา่ งกวา้ งขวางนอกอุตสาหกรรมก่อสร้าง อาทิเช่น การนามาใชใ้ น (สุขภณั ฑ,์
เครื่องใชบ้ นโตะ๊ อาหาร, เคร่ืองประดบั ), ในวงการทนั ตกรรม, การหล่อโลหะ, เคร่ืองประดบั , เครื่องมือ
การแพทย,์ เคร่ืองสาอางและอีกหลาย ๆ คุณสมบตั ิหลกั ที่ทาใหน้ ิยมใชง้ านก็คอื ความสามารถท่ีจะแขง็ ตวั ได้
รูปตามแม่พิมพท์ ี่ใช้ โดยที่มีการเปล่ียนแปลงขนาดเพียงเลก็ นอ้ ยเทา่ น้นั

ปูนปลาสเตอร์ หรือท่ีเรียกทางเคมีวา่ Calcium sulfate hemihydrates ไดม้ าจากการนาแร่ยบิ ซมั่
(Gypsum) ซ่ึงมีอยทู่ ว่ั ไปในธรรมชาติมาใหค้ วามร้อน (ประมาณ 150 °C) เพอ่ื ใหเ้ กิดการ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีดงั สมการ

พลงั งาน + CaSO4·2 H2O → CaSO4 . 1/2 H2O + 1.5 H2O

และเมื่อนาไปผสมน้าเพ่ือใชง้ านก็จะเกิดปฏิกิริยายอ้ นกลบั ดงั น้ี

CaSO4·1/2 H2O + 1.5 H2O → CaSO4· 2 H2O + พลงั งาน

โดยจะปลดปลอ่ ยพลงั งานออกมาในรูปของพลงั งานความร้อน

ในกระบวนการผลิตปูนปลาสเตอร์ จะไดป้ นู ปลาสเตอร์ออกมา 2 ชนิดคือ Beta (β) plaster และ Alpha
(α) plaster ซ่ึงจะใหค้ ุณสมบตั ิที่แตกตา่ งกนั ไปท้งั ในเร่ืองของความแขง็ แรง และการดูดซึม/คายน้าของตวั
ปนู ปลาสเตอร์เอง ในการผลิตเพ่ือออกมาจาหน่าย ทางผผู้ ลิตเองจะมีการผสมระหว่างปูนท้งั สองชนิดน้ีใน
อตั ราส่วนตา่ ง ๆ กนั รวมถึงอาจมีสารเคมีบางอยา่ งผสมรวมไปดว้ ยเพอ่ื ใหไ้ ดป้ ูนปลาสเตอร์ที่มีคณุ สมบตั ิ
ตรงตามความตอ้ งการใชง้ านแต่ละชนิด อาทิเช่น ปนู ปลาสเตอร์สาหรับการทา Case mould จะตอ้ ง

4

มีการแขง็ แรง ทนต่อการขยายตวั ไดด้ ี และไมต่ อ้ งการคุณสมบตั ิในการดูด/คายน้า ปนู ปลาสเตอร์สาหรับทา
แมพ่ ิมพง์ านหล่อน้าดิน ตอ้ งการคุณสมบตั ิที่ดีของการดูด/คายน้า แตไ่ ม่ตอ้ งการเร่ืองความแขง็ แรงมากนกั
และ ปูนปลาสเตอร์สาหรับทาแมพ่ ิมพง์ าน Ram press ตอ้ งการความทนทางต่อแรงอดั สูง เป็นตน้

แร่ยปิ ซัม

แรย่ ิปซมั แรย่ ิปซมั มสี ตู รทางเคมี คือ CaSO4 .2H2O ซ่งึ สามารถแยกองคป์ ระกอบออกไซด์ ออกได้ เป็น
CaO 32.6 % SO4 46.5 % และ H2O 20.9 % ลกั ษณะท่วั ไปของแรม่ กั มสี ีขาว หรือไมม่ สี ี หรือมโี ทนสี
ออ่ นอ่นื ๆ ไดห้ ลายสี ตามชนิดและปรมิ าณของมลทินท่ีปะปนอยู่ ลกั ษณะ เดน่ ของแรย่ ิปซมั คือมีความแข็ง
2 โมหส์ เกล สามารถใชเ้ ล็บมอื ขีดเป็นรอยได้ แรย่ ิปซมั ใน ธรรมชาตมิ ลี กั ษณะทางกายภาพท่ีแตกต่างกนั
ตามลกั ษณะการเกิด แต่แรท่ ่ีพบและมปี รมิ าณมาก พอท่ีจะน ามาใชป้ ระโยชนใ์ นอตุ สาหกรรมไดแ้ ก่ ชนิดท่ี
เรยี กว่า อะลาบาสเตอร์ (Alabaster) ซ่งึ เป็นแรย่ ิปซมั ท่ีประกอบดว้ ยเกล็ดแรข่ นาดเลก็ คลา้ ยเกลด็ นา้ ตาล
ทรายสขี าว หรือเทาอ่อนจานวนมากผสานตวั แนน่ เป็นเนอื้ เดียว อาจมมี ลทนิ พวกคารบ์ อเนตหรอื เม็ด
ตะกอนขนาดละเอยี ดปะปน อยู่บา้ ง นอกจากนยี้ งั มีชนิดท่เี กิดในโพรงหินเป็นผลกึ ขนาดใหญ่ใสไม่มีสแี ละ
แตกเป็นแผน่ ไดง้ ่าย เรียกวา่ เซลาไนต(Selenite) ชนิดท่เี ป็นเสน้ ใยวาวคลา้ ยเสน้ ไหม เรยี กว่า ซาตินปาร
(Satin Spar) แต่เซลาไนตและซาตนิ ปารม์ กั พบปรมิ าณนอ้ ย ตวั อย่างแร่ยปิ ซมั ซง่ึ ผเู้ ขยี นไดม้ ีโอกาส พา
นกั ศกึ ษาเขา้ ศกึ ษาดงู านการผลิตปนู ปลาสเตอร์ ของโรงงานอตุ สาหกรรมแหง่ หนง่ึ ในจงั หวดั พจิ ิตร ผเู้ ขยี น
ไดบ้ นั ทกึ ภาพมาประกอบการบรรยาย

แหล่งแร่ยปิ ซัม

แรย่ ิปซมั มแี หลง่ อย่เู กือบท่วั ทกุ ภาคของประเทศไทยแบง่ เป็นแหลง่ ต่างๆไดด้ งั นีต้ ะวนั ออกเฉียงเหนอื
แหลง่ แรย่ ปิ ซมั บรเิ วณ อาเภอวงั สะพงุ จงั หดั เลย ประกอบดว้ ยแรย่ ิปซมั สลบั อย่กู บั ชนั้ แรแ่ อนไฮไดรตท์ ่แี ทรก
ตวั อย่ใู นชนั้ หินปนู และหินดนิ ดาน ภาคเหนอื แหลง่ แรย่ ิปซมั บรเิ วณอาเภอบางมลู นาก จงั หวดั พิจิตร และ
อาเภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค์ เกิดแทรกสลบั อย่กู บั หนิ ปนู ชนิด Wacke Stone สีเทาอ่อน และ หนิ
โคลนเนือ้ ปนู ผสม (Carbonate Mud Stone) สเี ทาเขม้ ถึงด า ในโครงแบบประทนุ คว่ า ประทนุ หงายจงึ ท
าใหแ้ รย่ ิปซมั โผลใ่ กลผ้ ิวดินเป็นหย่อมๆแรย่ ิปซมั สว่ นใหญ่เป็นชนดิ อะลาบาสเตอร์ ภาคใต้ แหลง่ แรย่ ิปซมั
บรเิ วณ อาเภอบา้ นนาสาร และอาเภอเวียงสระ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี แรย่ ิปซมั ท่ีพบเป็นแบบอะลา

5

บาสเตอร์ เนือ้ แนน่ สีขาวถงึ เทาเขม้ มีความบรสิ ทุ ธิ์ ของแรย่ ิปซมั รอ้ ยละ 90-98 หรือเฉลี่ยรอ้ ยละ 95 อยู่
ในระดบั ความลกึ ไม่เกิน 30-40 เมตรจาก พนื้ ผิว นอกจากนยี้ งั พบแหลง่ แร่ยปิ ซมั บรเิ วณอาเภอทงุ่ ใหญ่

จงั หวดั นครศรธี รรมราช อย่ถู ดั มา ทางตอนใตแ้ ละ ในตาบลไมเ้ รยี ง อาเภอฉวาง และในพืน้ ท่ตี ่อเน่ืองกบั ก่งิ
อาเภอถา้ พรรณรา จงั หวดั นครศรีธรรมราช

การใชแ้ ร่ยปิ ซัม

จากการท่ีรฐั บาลไดม้ นี โยบาย ใหม้ ีการสงวนทรพั ยากรธรรมชาตไิ ว้ เพ่อื ใช้ ภายในประเทศ และกรม
ทรพั ยากรธรณีไดด้ าเนนิ มาตรการควบคมุ การสง่ ออกแร่ยปิ ซมั แลว้ นนั้ ต่อมาเพ่อื เป็นการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ
การใชแ้ รย่ ิปซมั ภายในประเทศใหเ้ พ่มิ มากขนึ้ ไดม้ ีการจดั มาตรการเสรมิ เพ่อื สนบั สนนุ การผลติ และการใช้
สนิ คา้ ท่ใี ชย้ ิปซมั เป็นวตั ถดุ ิบในการผลิต โดยการเสนอใหค้ ณะรฐั มนตรี มีมติใหก้ รมโยธาธิการ ซง่ึ เป็น
หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การออกแบบ กอ่ สรา้ งอาคาร ท าการออกแบบและก าหนดใหม้ กี ารใชแ้ ผ่นยิปซมั
บอรด์ เป็นผนงั กนั้ หอ้ ง ฝา้ เพดาน หรืออ่นื ๆแทนการใชอ้ ิฐ ไม้ หรือวสั ดอุ ่นื ๆใหม้ ากขึน้ การใชแ้ รย่ ิปซมั ของ
ประเทศไทยมี สดั สว่ นรอ้ ยละ 30 ของปรมิ าณการผลิตแรใ่ นแต่ละปีและประมาณรอ้ ยละ 70 เป็นยิปซมั
จาก แหลง่ ทางภาคเหนือสว่ นใหญ่ใชเ้ ป็นวตั ถดุ บิ ในอตุ สาหกรรมการผลิตปนู ซีเมนตเ์ ฉล่ยี รอ้ ยละ 58 โดย
ใชย้ ิปซมั เตมิ ลงไปในปนู เมด็ (Clinker) ประมาณรอ้ ยละ 3-5 ของนา้ หนกั ปนู ก่อนนาไปบด

และบรรจถุ งุ ซ่งึ ยิปซมั จะเป็นตวั หน่วง (Retarder) เพ่อื ชะลอการแขง็ ตวั ของปนู ซีเมนต์ และท า ใหป้ นู
จบั ตวั กบั วสั ดกุ ่อสรา้ งอ่นื ๆ เชน่ กรวด ทราย ไดด้ มี ีก าลงั อดั สงู ใชใ้ นอตุ สาหกรรมการผลิต ยิปซมั บอรด์ หรือ
แผ่นฝา้ เพดาดกนั ความรอ้ นเฉล่ยี รอ้ ยละ 25 ใชใ้ นการผลติ ปนู ปลาสเตอรร์ อ้ ยละ 5 ใชป้ รบั สภาพดินและ
อ่นื ๆ เชน่ ชอลก์ ป๋ ยุ กระดาษ ดนิ สอและยาง เฉลี่ยรอ้ ยละ 12

วิธีการผลติ ปูนปลาสเตอร์

การไดม้ าซ่งึ ปนู ปลาสเตอรต์ อ้ งผ่านขนั้ ตอนพืน้ ฐาน 5 ขนั้ ตอนคือ การเตรยี มวตั ถดุ ิบ การบดหยาบ การเผา
แร่ การบดละเอยี ด และการบรรจุ ซ่งึ วธิ ีการผลติ ปนู ปลาสเตอรน์ ี้ ผูเ้ ขยี น ไดม้ โี อกาสพานกั ศกึ ษาเขา้ ศกึ ษาดู
งาน กระบวนการผลติ ปนู ปลาสเตอร์ ของโรงงานอตุ สาหกรรม แห่งหนง่ึ ในจงั หวดั พิจติ ร ผเู้ ขียนได้
บนั ทกึ ภาพมาประกอบการบรรยายดงั มีขนั้ ตอนดงั ต่อไปนี้ 2.2.1 การเตรียมวตั ถดุ ิบ การเตรียมวตั ถดุ ิบ
เป็นขนั้ ตอนตงั้ แต่ การไดม้ าของแรจ่ นกระท่งั เขา้ โรงบดแตง่ เพ่อื คดั ขนาดใหม้ ีขนาดตามตอ้ งการ รวมถึงการ

6
แยกมลทินท่ีติดมากบั ตวั แรอ่ อก เพ่อื ใหว้ ตั ถดุ ิบมี คณุ ลกั ษณะท่เี หมาะสมและเตรียมเขา้ สกู่ ระบวนการใน
ขนั้ ตอนต่อไป ตวั อย่างกอ้ นแรย่ ปิ ซมั ท่ีขุด ไดจ้ ากเหมือง

การบดหยาบ

เรม่ิ จากการบดลดขนาดแรท่ ่ีไดจ้ ากหนา้ เหมืองดว้ ยเครอ่ื งบดหยาบ เช่น เครื่อง บด (Gyratary
Crushers,Jaw) Crushers หรือ Impact Crushers ขนึ้ อย่กู บั ลกั ษณะและชนดิ ของ แร่ปอ้ น
กอ่ นจะบดอีกครงั้ ดว้ ยเคร่ืองย่อยแรแ่ บบคอ้ นทบุ (Hammer Mill) และเครอื่ งบดแบบโคน

(Cone-type Crushers) ซ่งึ เป็นท่ีนยิ มกนั มาก หลงั จากนนั้ จะน าไปบดละเอียดอกี ครง้ั ดว้ ยเครื่อง
ย่อยแรแ่ บบลกู กลงิ้ (Roller Mill) ท่สี ามารถใชไ้ ดท้ งั้ แรก่ อ่ นการเผายา่ ง (Uncalcined) และหลงั
การเผายา่ ง (Calcined) เครอื่ งย่อยแร่แบบลกู กลงิ้ อาจมกี ารติดเครื่องแยกดว้ ยอากาศ (Air
Separators) ช่วยในการควบคมุ ขนาดอนภุ าค

การเผาแร่ยิปซัม

ท่ผี า่ นการบดแลว้ จะตอ้ งนาเขา้ เตาเผา เพ่อื ขจดั นา้ สว่ นหนง่ึ ออกจาก โครงสรา้ งโมเลกลุ ในขณะท าการเผา
เตาจะหมนุ ไปรอบๆ เพ่อื ใหค้ วามรอ้ นสมั ผสั กบั แรย่ ิปซมั ได้ ท่วั ถึง และภายในเตาเผาจะออกแบบใหม้ ี
ลกั ษณะเป็น เกลยี วเพ่อื สะดวกในการน าแรย่ ิปซมั ท่ีเผาแลว้ ออกจากเตา

การบดละเอียด

ปนู ปลาสเตอรท์ ่ผี า่ นการเผาแลว้ จะตอ้ งนามาทาการบดอกี ครง้ั หนงึ่ เพ่อื ใหเ้ นือ้ ปนู ปลาสเตอรม์ ีความ
ละเอยี ดสม่าเสมอ ก่อนท่จี ะบรรจลุ งถงุ เพ่อื จาหน่ายใหก้ บั ลกู คา้

การบรรจุ

การบรรจุปนู ปลาสเตอร์ เพ่ือจาหนา่ ยใหก้ บั ลกู คา้ ผผู้ ลิตจะท าการบรรจลุ งในถงุ ขนาดนา้ หนกั 25
กิโลกรมั /ถงุ หรือ ขนาด 50 กิโลกรมั /ถงุ ทงั้ นีเ้ พ่อื ความสะดวกในการขนยา้ ย ตวั อย่างการบรรจปุ นู
ปลาสเตอรล์ งในถงุ ดงั ภาพท่ี 2.8 นอกจากนผี้ ผู้ ลิตยงั ท าการบรรจลุ งในถงุ ขนาดใหญ่เพ่อื สง่ ออกขาย
ตา่ งประเทศ

7

ชนิดของปนู ปลาสเตอร์

ในประเทศไทยมีปนู ปลาสเตอรท์ ่ใี ชก้ นั อยู่ 3 ชนิดคอื 1. ปนู ปลาสเตอรธ์ รรมดา ท าจากแปง้ เกลือจดื ได้
จากนาเกลือ โดยการนาเอาแปง้ เกลือ จืดมาลา้ ง แลว้ น าไปเผาค่วั จงึ นามาบดเป็นปนู ปลาสเตอรช์ นิด
ธรรมดา มีคณุ สมบตั กิ ่อตวั ชา้ แหง้ แลว้ ไม่แขง็ มาก การนาเกลอื จืดมาผลติ ปนู ปลาสเตอร์ ตอ้ งผา่ นการลา้ ง
ใหส้ ะอาดปราศจากดิน ทราย และ เกลือ จากนนั้ นาไปย่อยใหม้ ีขนาดเท่าเมด็ ทรายเผาค่วั (Calcine) ท่ี
อณุ หภมู ิ 160-180 องศา เซลเซยี ส เป็นเวลา 2-5 ช่วั โมง น าไปบดใหล้ ะเอยี ดอีกครง้ั หน่ึง แลว้ ผ่าน
ตะแกรงรอ่ นขนาด 180 – 200 เมช ปนู ปลาสเตอรท์ ่ที าจากเกลือจดื นี้ จะมลี กั ษณะสคี ลา้ หม่น
คณุ ภาพไม่ดี เน่อื งจากก่อตวั ชา้ เม่อื แหง้ แลว้ ไม่แข็งแกรง่ ไม่นิยมน ามาใชง้ าน ประเภทเครอ่ื งปั้นดินเผา
2. ปนู ปลาสเตอรย์ ิปซมั ทามาจากแรย่ ิปซมั ลว้ น หรอื แคลเซยี มซลั เฟตนามาบดย่อย แลว้ นาไปเผาค่วั บด
อกี ทจี ะเป็นปนู ปลาสเตอรช์ นิดยิปซมั มคี ณุ สมบตั กิ ่อตวั ไดเ้ รว็ แหง้ แลว้ มี ความแขง็ แกร่งทนทาน ดดู ซมึ น้ า
ดกี วา่ ปนู ปลาสเตอรช์ นิดธรรมดา นิยมน ามาใชใ้ นงานคณุ ภาพ โดยท่วั ๆไปและใชก้ บั งานเครื่องป้ันดินเผา
3. ปนู ปลาสเตอรห์ นิ ทาจากแรย่ ปิ ซมั ลว้ น เชน่ กนั ตามกรรมวิธีแบบเดียวกบั การท าปนู ปลาสเตอรย์ ปิ ซมั
แต่ไดม้ กี ารผสมโดยใสป่ นู ซีเมนตข์ าว จงึ ทาใหป้ นู ปลาสเตอรห์ ินนมี้ ีความ แข็งแกรง่ ทนทานต่อการใชง้ าน
มาก ทนความรอ้ นไดด้ ีไมต่ ่ากวา่ 400 องศาเซลเซียส และสฝี ่นุ ผสมลงไปใหเ้ ป็นสีต่างๆกนั หลายสี มี
คณุ สมบตั ิก่อตวั ชา้ มาก แตแ่ หง้ แลว้ แข็งมาก มนี า้ หนกั ดี นิยมน ามาใชใ้ นงานเคร่ืองป้ันดนิ เผาโดยเฉพาะ
ในการทาพมิ พบ์ งั คบั

คณุ สมบัตขิ องปูนปลาสเตอร์

ปนู ปลาสเตอรม์ คี ณุ สมบตั ิเหมาะสมสาหรบั ใชป้ ระโยชนห์ ลายอย่าง เชน่ ทาฝา้ เพดาน ท าผนงั หอ้ งกนั
ความรอ้ น ใชใ้ นงานประตมิ ากรรม เป็นตน้ ในท่นี ผี้ เู้ ขียนจะกลา่ วถึงเฉพาะ คณุ สมบตั ิของปนู ปลาสเตอร์ ท่ี
เกี่ยวขอ้ งกบั การท าแบบพิมพ์ ในงานเคร่ืองปั้นดินเผาดงั ตอ่ ไปนี้

1. สามารถเก็บรกั ษารายละเอียดตา่ งๆ ของแมแ่ บบไวไ้ ด้

2. แบบจะมีความคงทนทงั้ คณุ สมบตั ิทางเคมีและคณุ สมบตั ทิ างกายภาพเป็นระยะ เวลานาน

3. สามารถท่จี ะท าใหแ้ บบ มคี วามสามารถดดู ซมึ ไดต้ ามท่ีตอ้ งการ รูพรุนในเนอื้ แบบไม่ ดดู ยดึ เนือ้ ดนิ ไว้
แนน่ ท าใหผ้ ลติ ภณั ฑห์ ลดุ จากแบบไดง้ ่าย

4. แบบท่ีท าขนึ้ จะมีผวิ เรียบและคงทน

8

5. สามารถรกั ษาคณุ สมบตั ิทางเคมแี ละกายภาพของแบบใหค้ งท่ีและสม่าเสมอ
6. วสั ดทุ ่มี ีคณุ สมบตั เิ หมือนวนุ้ ไม่สามารถเขา้ ไปอดุ รูพรุนในแบบไดง้ า่ ยๆ
7. มรี าคาถกู

9

บทท3ี่
วิธกี ารดาเนินงาน

วสั ดอุ ปุ กรณ์ 2.ปนู ปลาสเตอร์ 3.กรรไกร
1.กระบะ

4.ชอ้ น 5.ขวดทาฐาน 6.ผา้ ขนหนู

ขนั้ ตอนการทา รูปภาพประกอบ 10

ขนั้ ตอน วิธีการทา
ท่ี 1.เตรียมอปุ กรณส์ าหรบั ทากระถาง

1 2.นาปนู ปลาสเตอรม์ าเทใสก่ ระบะ

2

3 3.เทขเี้ ถาลงไปผสมกบั ปนู
ปลาสเตอร์

4 4.เทนา้ ลงไป

11

5.ผสมปนู ปลาสเตอร์ ขเี้ ถา นา้
5. ใหเ้ ขา้ กนั

6. 6.นาผา้ ขนหนมู าคลกุ กบั ปนู
ปลาสเตอร์

7. 7.นาไปวางบนขวดแมแ่ บบ

12

บทท4ี่

ผลการศกึ ษา

จากการศึกษาโครงงาน”กระถางจากปนู ปลาสเตอร”์ จะทาใหเ้ ราได้กระถางต้นไมท้ ส่ี วยงามตาม
รูปแบบทเ่ี ราต้องการและยังประหยัดคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั ทาโครงงานครัง้ นีผ้ ู้จัดทาได้แสดงผล

ออกเป็ น3ข้อได้แก่

1.ผลการศึกษาสร้างทกั ษะอาชพี และสามารถหารายไดเ้ สริมได้ด้วย

2.ผลการพฒั นากระถางจากสิ่งของเหลอื ใช้

3.ผลการศึกษาอตั ราสว่ นการใช้ปนู ปลาสเตอรใ์ ห้เหมาะสมกบั งาน

13
บทท5ี่
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผล

ไดก้ ระถางท่ที ามาจากผา้ ขนหนผู สมกบั ปนู ปลาสเตอรแ์ ละรูปรา่ งท่ีสวยงาม สามารถสรา้ งรายไดเ้ สรมิ
ใหก้ บั ตนเองเองและครอบครวั ได้

ขอ้ เสนอแนะ

1.ไดด้ าเนนิ การตามแนวคิดตาม Amarin Newmedie จนสาเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคไ์ ด้ ภายใต้
ขอบเขตของการศกึ ษา

2.ในการออกแบบกระถางยงั มีขอ้ จากดั ในเร่อื งของพนื้ ท่ใี นการทาแมแ่ บบกระถาง จงึ ใชแ้ ม่แบบท่มี ีรูปรา่ ง
ใหญ่และสงู มาทาแมแ่ บบ

14

เอกสารอ้างอิง
…(2533). การสรา้ งสรรคป์ ระตมิ ากรรมจากปนู ปลาสเตอร.์ กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์
https://www.thaikasetsart.com/%ประเภทของภาชนะปลูกพืชพันธุ์
https://th.wikipedia.org/wiki/%ปนู ปลาสเตอร์
YouTube : Amarin Newmedie

15

ภาคผนวก

16


Click to View FlipBook Version