NEW NORMAL FOR FUN
โปรแกรมทันตสุขศึกษา
แบบ New Normal ในการป้องกันฟันผุ
หวันอินอาม ปะดุกา
นักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทันตสาธารณสุข
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง
สถาบันพระบรมราชชนก
กระทรวงสาธารณสุข
NEW NORMAL FOR FUN
SALAM
NEW NORMAL
STUDY TIME
SELF CHECK
SHOW ME
SALAM
NEW NORMAL
ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากเเห่งชาติ
ครั้งที่ 8 พ.ศ.2560
ชนิดของฟัน
โครงสร้างของฟันเเละอวัยวะปริทันต์
หน้าที่ของฟัน
ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากเเห่งชาติ
ครั้งที่ 8 พ.ศ.2560
กลุ่มเด็กวัยรุ่น (อายุ 15 ปี)
สภาวะโรคฟันผุเเละการสูญเสียฟัน
ความชุกของโรคฟันผุ (62.7%) เฉลี่ย 2.0 ซี่/คน
ฟันดีไม่มีผุ (Cavity free) (55.7)
ฟันผุไม่ได้รับการรักษา (0.9) ซี่/คน
ความจำเป็นในการรับการรักษาโรคฟันผุ
(32.9%) (16.1%) (10.0%) (8.0%)
การอุดฟัน 1 ด้าน การอุดฟัน 2 ด้าน ถอนฟัน รักษารากฟัน
พฤติกรรมด้านทันตสุขภาพเเละพฤติกรรมอื่นๆ
(3.9%) (57.1%) (33.1%) (3.4%)
เเปรงฟันหลังอาหาร ดื่มน้ำอัดลม บริโภคขนม สูบบุหรี่
1-3 วัน/สัปดาห์
กลางวันทุกวัน ทุกวัน
การรับรู้เเละการรับบริการด้านทันตสุขภาพ
(53.6%) (47.4%) (51.9%)
เคยได้รับการ ตรวจฟัน ต้องการความรู้เกี่ยวกับอุ
โดยทันตบุคลากร ปกรณ์ดูเเลสุขภาพช่องปาก
ตรวจฟัน
ชนิดของฟัน
ฟันน้ำนม
ระยะการขึ้นของฟัน
11 8-12 เดือน
22 9-13 เดือน
33 16-22 เดือน
13-19 เดือน
44 25-33 เดือน
5 ซี่เเรกขึ้นมาในช่องปาก 5 23-31 เดือน
เมื่ออายุ 6-12 เดือน 14-18 เดือน
10-16 เดือน
5 มีทั้งหมด 5
4 20 ซี่ 4 171-12-312เดือปีน
3 3 6-10 เดือน
2 2
1
1
ชนิดของฟัน
ฟันถาวร (ฟันเเท้)
ระยะการขึ้นของฟัน
2 1 12 7-8 ปี
3 3 8-9 ปี
4 4 11-12 ปี
10-11 ปี
5 5 10-12 ปี
6 6
7 ขึ้นเมื่ออายุ 7 6-7 ปี
8 ประมาณ 6 ปี 8 12-13 ปี
17-21 ปี
8 มีทั้งหมด 8
7 32 ซี่ 7 17-21 ปี
11-13 ปี
66 6-7 ปี
55
1111--1122ปีปี
44
33 10-12 ปี
22 9-10 ปี
11 7-8 ปี
6-7 ปี
โครงสร้างของฟันเเละอวัยวะปริทันต์
ตัวฟัน โครงสร้างของฟัน
คอฟัน
ชั้นเคลือบฟัน
รากฟัน ชั้นเนื้อฟัน
โพรงประสาทฟัน
อวัยวะปริทันต์
เหงือก
เคลือบรากฟัน
กระดูกเบ้าฟัน
คลองรากฟัน
หน้าที่ของฟัน
เป็นส่วนประกอบที่ทำให้ใบหน้าสวยงาม
หน้าที่ในการตัดและบดเคี้ยวอาหารให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ
ช่วยให้สามารถออกเสียงได้ชัดเจน
ฟันหน้าตัด (Incisor Teeth) ฟันเขี้ยว (Canine Teeth)
อยู่บริเวณหน้าสุด มีทั้งหมด 8 เป็นฟันที่มีรากยาวที่สุด มีทั้งหมด 4 ซี่ และมี
ซี่ ทำหน้าที่กัดอาหาร ความแข็งแรงมาก ปลายแหลม ทำหน้าที่ตัด ฉีก
และแยกอาหารออกจากกัน
ฟันกรามน้อย ฟันกราม (Molar Teeth)
(Premolar or Bicuspid Teeth) เป็นฟันที่ใหญ่ที่สุดในช่องปาก มีความสำคัญมาก
เพราะนอกจากจะช่วยในการบดเคี้ยวอาหารแล้ว ยัง
จะพบเฉพาะในฟันแท้เท่านั้น รูปร่างคล้ายฟัน
กรามแต่มีขนาดเล็กกว่า มีทั้งหมด 8 ซี่ ทำ ทำงานร่วมกับฟันเขี้ยวในการคุมทิศทางการ
หน้าที่ในการบดเคี้ยวอาหารร่วมกับฟันกราม เคลื่อนไหวของขากรรไกรอีกด้วย
Question
โครงสร้างภายในฟันมีกี่ชั้น
อะไรบ้าง
2 ชั้น
เคลือบฟันและเนื้อฟัน
3 ชั้น
เคลือบฟัน โพรงประสาทฟัน
และเคลือบรากฟัน
3 ชั้น
เคลือบฟัน เนื้อฟัน
และโพรงประสาทฟัน
4 ชั้น
เคลือบฟัน เนื้อฟัน โพรงประสาทฟัน
และเคลือบรากฟัน
STUDY TIME
ฟันผุคืออะไร ?
สาเหตุของการเกิดโรคฟันผุ
อาการบ่งชี้ของการเกิดโรคฟันผุ
ระยะการเกิดโรคฟันผุ
กราฟค่า PH ในช่องปาก
เเสดงความถี่ในการรับประทานอาหาร
ฟันผุมักเกิดในตำแหน่งไหน
ฟันผุคืออะไร ?
สภาวะที่ฟันมีการสูญเสียเคลือบฟันและเนื้อฟัน ทำให้ผิวฟันเกิดเป็นหลุมหรือโพรง
เรียกว่า โรคฟันผุ
กลไกการเกิดโรคฟันผุ
ฟัน จุลินทรีย์ น้ำตาล ระยะเวลา
โรคฟันผุ
1. โรคฟันผุ เกิดจากกินอาหารที่มีน้ำตาลเข้าไป
2. เมื่อน้ำตาลเจอกับจุลินทรีย์ จะปล่อยกรดออกมา
3. หากน้ำตาลน้อย เชื้อจุลินทรีย์จะสร้างกรดได้น้อย
4. แต่หากกินอาหารเหนียว ๆ อยู่ในช่องปากนาน เชื้อจุลินทรีย์จะสร้างกรดได้มาก
5. เมื่อกรดเยอะ ทำให้แคลเซียมหลุดออกมา
6. เมื่อแช่นาน และบ่อยขึ้น น้ำลายที่ทำหน้าทีช่วยชะล้าง อาจชะล้างได้ไม่หมด
แคลเซียมที่หลุดออก คืนกลับไม่ไหว
7. เมื่อเกิดบ่อยขึ้น ผิวฟันก็จะเกิดเป็นรอยผุ เกิดเป็นโรคฟันผุ
สาเหตุของการเกิดโรคฟันผุ
โรคฟันผุ เกิดจากกินอาหารที่มีน้ำตาลเข้าไป
ภายใน 5 นาที เเบคทีเรียที่อยู่ในขี้ฟันจะกินน้ำตาลเเละปล่อยกรดออกมา
20 นาที
ฟันจะเเช่กรด ประมาณ 20 นาที ถ้าน้ำตาลน้อย เเบคทีเรียจะสร้างกรดได้น้อย
ถ้ากินอาหารเหนียวๆ ติดในร่องฟัน ฟันก็จะเเช่กรดนานขึ้น
สาเหตุของการเกิดโรคฟันผุ
Ca Ca
Ca Ca น้ำลาย
Ca Ca
เมื่อฟันทนกรดไม่ไหว เเคลเซียม ก็จะหลุดออกมา เมื่อฟันเเช่กรดนานเเละบ่อยขึ้น
น้ำลายก็ชะล้างไม่หมด เเคลเซียมหลุดออกมาคืนกลับไม่ทัน
เมื่อกินจุบจิบบ่อยๆ น้ำลายชะล้างไม่ทัน ฟันเเช่กรดบ่อยขึ้น
ผิวฟันอ่อนเเอ ผุพังจนเกิดเป็น โรคฟันผุ
อาการบ่งชี้ของการเกิดโรคฟันผุ
มีการพบรูหรือรอยผุที่ฟัน
มีอาการเสียวฟันมากขึ้น
(เมื่อดื่มหรือรับประทานอาหารหวานจัด ร้อนจัด หรือเย็นจัด)
มีอาการปวดฟัน
มีเศษอาหารติด
บริเวณซอกฟันบ่อยครั้งขึ้น
ระยะการเกิดโรคฟันผุ
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2
ระยะที่ 3 ระยะที่ 4
ระยะการเกิดโรคฟันผุ
เริ่มมีสีขาวขุ่น
กรดทำลายเคลือบฟัน เกิดรอยสีขาวขุ่นที่บริเวณผิวเรียบของฟัน
หรือมีสีดำตามหลุมร่องฟัน ในระยะนี้ยังไม่มีอาการใด ๆ
ฟันผุระยะที่ 1
ผุชั้นเคลือบฟัน
เห็นเป็นรูขนาดเล็ก
ในระยะนี้เริ่มเสียวฟันเมื่อรับประทานของเย็นจัด ร้อนจัด หวานจัด
ฟันผุระยะที่ 2
ผุชั้นเนื้อฟันซึ่งมีผิวฟันที่เเข็งเเรงน้อยลง ทำให้ผุลุกลามเร็วกว่าระยะเเรก
ระยะการเกิดโรคฟันผุ
เห็นเป็นรูผุลึกมาก
การผุลุกลามถึงโพรงประสาทฟัน เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อ ภายในโพรงประสาทฟัน
ผู้ป่วยจะมีอาการปวดมาก ปวดโดยไม่มีสิ่งกระตุ้น การรักษาทำได้โดยการรักษารากฟัน
ฟันผุระยะที่ 3
ผุชั้นโพรงประสาทฟัน ปวดมาก ปวดตลอดเวลา ปวดโดยไม่มีสิ่งกระตุ้น
เกิดการอักเสบ
มีหนองปลายรากฟัน
เป็นภาวะเรื้อรังจาก ระยะที่ 3 จนเกิดการตายของเนื้อเยื่อโพรง ประสาทฟัน ร่วมกับมีเชื้อโรค และพิษถูกขับออกสู่อวัยวะปริ
ทันต์ ทำให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อรอบปลายรากฟัน เกิดเป็นหนอง ปลายราก กระดูก ถูกทำลาย ฟันโยก อาจทำให้เกิด
การติดเชื้อในกระแสโลหิตและระบบน้ำเหลืองของร่างกายได้การรักษาทำได้โดยการรักษารากฟันหรือถอนฟัน
ฟันผุระยะที่ 4
ผุถึงชั้นโพรงประสาทฟัน เนื้อเยื่อติดเชื้อ ลุกลามทำลายกระดูก มีตุ่มหนอง
มื้ กราฟค่า PH ในช่องปากง
เเสดงความถี่ในการรับประทานอาหาร
มื้อเช้า อก่อนเที่ย มื้อเที่ยง มื้อก่อนเย็น มื้อเย็น
8.5
8
7.5
7
6.5
6
5.5
5
4.5
4
3.5
ปกติแล้วช่องปากของคนเราจะมีค่า pH ประมาณ 6.3-7.0
ซึ่งถือว่ามีสภาพเป็นกรดอ่อนๆ หรือเป็นกลาง (pH > 7 คือเป็นด่าง)
ส่วนทางทันตกรรมนั้น เมื่อช่องปากมีค่า pH ต่ำกว่า 5.5
หรือมีความเป็นกรดมาก ถือเป็นช่วงเวลาที่มีโอกาสเสี่ยงจะเกิดฟันผุ
เพราะกรดในช่องปากนี่เองคือตัวทำลายผิวเคลือบฟัน
ทำให้ฟันผุ เป็นรู เป็นโพรงได้ง่าย
เวลา+อาหาร+พฤติกรรม สำคัญต่อสุขภาพปากและฟัน
โดยทั่วไป คนเราควรรับประทานอาหารวันละ 3 มื้อ แต่ในระหว่างวันนั้นอาจจะมีการกินจุบจิบ ซึ่งส่วน
มากมักจะเป็นอาหารประเภทเครื่องดื่ม ขนมหวาน ซึ่งก็คือแป้งและน้ำตาลตัวการสร้างความเป็นกรด
ในช่องปากนี่เอง ดังนั้นยิ่งมีความถี่ในการรับประทานมากขึ้น
ก็เท่ากับเป็นการเพิ่มโอกาสให้เกิดโรคฟันผุมากขึ้นตามไปด้วย
รับประทานทานของหวานบ่อย ๆ การรับประทานจุบจิบไปเรื่อย ๆ เท่ากับการส่งอาหารเข้าปากไปให้
แบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในช่องปากนั้นมีอาหารที่หล่อเลี้ยงตลอดเวลา เมื่อแบคทีเรียทำงาน ก็จะยืดช่วง
เวลาที่ช่องปากมีสภาพเป็นกรดออกไปนานขึ้น
จึงจะต้องแปรงฟันหรือบ้วนปากหลังรับประทานอาหาร ให้สะอาดและถูกวิธี
ฟันผุมักเกิดในตำแหน่งไหน
ฟันผุบริเวณผิวเคลือบฟันเเละหลุมร่องฟัน
ที่ใช้ในการบดเคี้ยว เพราะคราบแบคทีเรีย
มักจะติดอยู่ตามร่องฟันที่ลึก
ฟันผุระหว่างซอกฟัน เพราะเป็นบริเวณ ผุด้านประชิด
ที่ยากต่อการเข้าถึง ซึ่งไม่สามารถทำความสะอาด
ได้ด้วยการแปรงฟันเพียงอย่างเดียว
ฟันผุที่บริเวณรากฟัน
เกิดขึ้นจากภาวะเหงือกร่น
หรือการสูญเสียของกระดูกฟัน
ซึ่งมีสาเหตุสืบเนื่องมากจากโรคเหงือก
หรือโรคปริทันต์อักเสบ
Question
ทายดูสิ ว่าภาพนี้ ฟันผุถึงระยะไหน
ระยะที่ 1
ระยะที่ 2
ระยะที่ 3
ระยะที่ 4
SELF CHECK
การป้องกันโรคฟันผุ
อาหารดี ฟันดี สุขภาพดี
การรักษาโรคฟันผุ
ความสำคัญของการประเมินความเสี่ยง
ในการเกิดโรคฟันผุ
การป้องกันโรคฟันผุ
ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
เเละเเปรงฟันอย่างถูกวิธี
เเละมีประสิทธิภาพ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การรับประทานอาหาร
ลดการกินน้ำตาล กินเป็นมื้อ
ไม่กินจุบจิบ
สังเกตช่องปากอย่างสม่ำเสมอ
ตรวจดูช่องปากของตนเอง
ว่ามีฟันผุ หรือไม่
พบทันตบุคลากร
เป็นประจำ
อย่างน้อยปีละ 1-2 ครั้ง
เพื่อตรวจสุขภาพช่องปาก
อาหารดี ฟันดี สุขภาพดี
HOW TO EAT
ลด ละ เลิก
ไม่กินถี่ๆ หรือจิบเครื่องดื่มทีละนิด ควรกินรวดเดียวให้หมด
ไม่อมน้ำตาล หวาน เหนียวติดฟัน หรือของขบเคี้ยวติดฟัน
ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่เติมน้ำตาลเป็นประจำ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กินเป็นมื้อ
ถ้าจะกินของหวาน ควรกินในมื้ออาหาร
อาหารระหว่างมื้อ ควรเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
น้ำเปล่า นมจืด ผัก ผลไม้
อาหารดี ฟันดี สุขภาพดี
อาหาร 3 สี
พลังงาน ไขมัน และ น้ำตาลระดับสูง
เมื่อเปรียบเทียบกับการทำงานของไฟจราจรก็คือ
ต้องหยุด กินไม่บ่อย กินเป็นโอกาสพิเศษบางครั้งคราวเท่านั้น
ขนมเค้ก ขนมไทย ลูกอม ขนม
พลังงาน ไขมัน และ น้ำตาลระดับปานกลาง
เมื่อเปรียบเทียบกับการทำงานของไฟจราจรก็คือ
ชะลอ ระมัดระวัง สามารถทานได้ แต่ไม่ทุกวัน (ไม่เกิน 2 ครั้งต่อสัปดาห์)
ผลไม้รสหวาน กระทิ ก๋วยเตี๋ยว
พลังงาน ไขมัน และ น้ำตาลระดับต่ำ
เมื่อเปรียบเทียบกับการทำงานของไฟจราจรก็คือ
ไปได้ ผ่านได้ สามารถทานได้บ่อย ทานได้ทุกวัน
นม ถั่วต้ม ส้ม สลัดผัก ธัญพืช
การรักษาโรคฟันผุ
FF
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 4
ซ่อมเเซมรอยผุได้โดยเเปรงฟั นอย่างถูกวิธี อุดฟั น
เเละใช้ยาสีฟั นผสมฟลูออไรด์
1 23
12
ก่อนรักษา ลดเชื้อโรคในคลองรากฟัน อุดรากฟันให้เเน่น บูรณะตัวฟัน
หรือครอบฟัน
ก่อนรักษา ลดเชื้อโรคในคลองรากฟัน
3 4
อุดรากฟันให้เเน่น บูรณะตัวฟันหรือครอบฟัน
ระยะที่ 3 ระยะที่ 4
ได้รับการรักษาคลองรากฟั น รับการรักษารากฟัน หรือหากสูญเสียเนื้อฟันไปมาก
จะไม่สามารถรักษาไว้ได้จึงต้องถอนฟั นออก
ความสำคัญของการประเมินความเสี่ยง
ในการเกิดโรคฟันผุ
1) วางแผนป้องกันและรักษาในผู้ป่วย
แต่ละรายตามเหมาะสม
2) ตระหนักถึงสภาวะการเป็นโรคของตนเอง
และกระบวนการดำเนินโรค
เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการดูแลป้องกันตนเอง
3) กำหนดระยะเวลาในการเรียกผู้ป่วยกลับ
มา เช่น ช่วงเวลาในการประเมินฟันผุด้าน
ประชิด โดยการถ่ายภาพรังสีด้านประชิด
จะแตกต่างตามความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุ
Question
กินอะไร ทำไมฟันผุ
ผักใบเขียว
ผลไม้
ลูกกวาด
นม
SHOW ME
การเลือกเเปรงสีฟัน
การเลือกใช้ยาสีฟัน
วิธีการเเปรงฟัน
ไหมขัดฟัน สำคัญไฉน
ตรวจฟัน ด้วยตัวฉันเอง
การพบทันตบุคลากร
การเลือกเเปรงสีฟัน
เลือกเเปรงให้ตรงกับวัย
ลักษณะเเปรงสีฟัน
ขนเเปรงปลายเรียว
ทำความสะอาดซอกฟัน ขจัดคราบจุลินทรีย์ได้ดี
หัวเเปรง
ขนาดธรรมดา เหมาะกับคนที่มีช่องปากขนาดปกติ
ขนาดกระทัดรัด เหมาะกับคนที่มีช่องปากเล็ก
ด้ามเเปรง
เเข็งเเรง ไม่เเตกเปราะ จับถนัดมือ
มีโลโก้เเปรงสีฟันติดดาว เเละฉลากระบุ
เเปรงติดดาว คือแปรงสีฟันที่มีคุณภาพ ประกอบด้วย
ได้การรับรองโดยกรมอนามัย เพื่อแสดงว่าแปรงสีฟันนี้ ชนิดของขนเเปรง
มีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิชาการแปรงสีฟัน ลักษณะของขนเเปรง
ของกรมอนามัย พ.ศ. 2559
วัสดุที่ใช้ทำ
และมีการระบุฉลากถูกต้อง ตามประกาศคณะกรรมการ วิธีใช้
ว่าด้วยฉลากฉบับที่ 11 (พ.ศ.2545)
ข้อเเนะนำ
และฉบับที่ 33 (พ.ศ.2555) ของสำนักงานคณะ
กรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สำนักนายกรัฐมนตรี
จึงเป็นแปรงสีฟันที่มีประสิทธิภาพ
ในการทำความสะอาด และมีความปลอดภัยในการใช้งาน
การเลือกเเปรงสีฟัน
โดยทั่วไปเเนะนำให้เปลี่ยนเเปรงสีฟันเมื่อ
1. เมื่อผ่านการใช้งานมานานเเล้ว ขนของ
เเปรงสีฟันจะใช้งานไม่ได้ดีเท่ากับตอนซื้อใหม่ๆ
หรือ 2. ขนเเปรงบานมาก ประสิทธิภาพก็ลดลง
3. จะมีการสะสมของเเบคทีเรียเพิ่มมากขึ้น
ใช้ไปเเล้ว 3-4 เดือน ขนเเปรงบานไปคนละทิศทาง
บานเเค่ไหนต้องเปลี่ยน ต้องเปลี่ยนเเล้ว
วิธีเก็บเเปรงมีผลต่อความสะอาด
เชื้อโรคจะเยอะหรือน้อยขึ้นอยู่กับ
ควรล้างเเปรงให้สะอาดเเละผึ่งให้เเห้ง สภาพเเวดล้อมที่เก็บเเปรงเช่นกัน
เอาหัวเเปรงขึ้นให้น้ำหยดไปข้างล่างเเปรงก็จะเเห้ง
การเลือกใช้ยาสีฟัน
ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
ฟลูออไรด์
1500 PPM
มีฟลูออไรด์อย่างน้อย 1500 ส่วนในล้านส่วน
ฟันซี่เเรก-3 ขวบ
เเค่เเตะเบาๆ บนเเปรง
อายุ 3 - อายุต่ำกว่า 6 ปี
เท่ากับความกว้างของแปรง
อายุ 6 ปีขึ้นไป
เท่ากับความยาวของแปรง
ยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์ช่วยป้องกันฟันผุ
มากกว่ายาสีฟันที่ไม่มีฟลูออไรด์
วิธีการเเปรงฟัน
ใช้วิธีขยับ-ปัด (Modified Bass Technique)
การวางเเปรงที่ถูกต้อง วางเเปรง 45 องศาบริเวณขอบเหงือก
ปลายของขนแปรงจะแทรกเข้าไปในร่องเหงือกได้เล็กน้อย
ออกแรงถูแปรงไปมาสั้น ๆ 3-4 ครั้ง
แล้วปัดแปรงสีฟันเข้าหาตัวฟันไปด้านปลายฟัน ทำเช่นนี้ 5-10 ครั้ง
วิธีการเเปรงฟัน
เเปรงอย่างต่อเนื่อง ครบทุกซี่ทุกด้าน
ไม่ควรข้ามไปข้ามมา เพราะอาจโดนไม่หมดทุกซี่
อย่าลืม.....
ลิ้น ฟันด้านใน ฟันท้าย
ระวัง! อย่าลากเเปรงยาวๆ เเละเเรง
เพราะจะทำให้คอฟันสึก
การเเปรงฟันสูตร 2-2-2
เเปรงฟันวันละ 2 ครั้ง นาน 2 นาที เเละปล่อยปากว่าง(สะอาด) 2 ชั่วโมง
หลังการเเเปรงฟัน คือไม่กินอะไรหลังเเปรงฟัน 2 ชั่วโมง
เเปรงฟันอย่างน้อย
วันละ 2 ครั้ง
เพื่อลดเชื้อจุลินทรีย์
ที่สะสมในช่องปาก
อย่างน้อย 2 ครั้ง
ตอนเช้าเเละก่อนนอน
2 นาที เเปรงฟัน
นาน 2 นาที
การเเปรงฟันนาน 2 นาทีขึ้น
ไป เพื่อให้เเน่ใจว่าเเปรงฟัน
สะอาดทั่วถึงครบทุกซี่
ทุกด้านของฟั นในปาก
2 ชั่วโมง งดทานอาหาร
หลังเเปรงฟัน 2 ชั่วโมง
ไม่ควรรับประทานอาหาร
หลังเเปรงฟัน 2 ชั่วโมง
เพื่อให้เวลาปากสะอาดนานที่สุด
เเละลดการเกิดจุลินทรีย์
ในช่องปากที่เพิ่มขึ้น
ไหมขัดฟัน สำคัญไฉน
บางครั้งการเเปรงฟันเข้าซอกซอนได้ไม่มากพอ โดยเฉพาะฟันที่ชิดติดกัน
หรือฟันที่ซ้อนเก ดังนั้นเราควรใช้ไหมขัดฟัน
เพราะไหมขัดฟันสามารถเข้าทำความสะอาดซอกฟันที่เข้าถึงได้ยาก
ไหมขัดฟัน สำคัญไฉน
ดึงไหมออกมาประมาณ 1-1.5 ฟุต หรือประมาณ 1 ข้อศอก พันเส้นไหมไว้ที่นิ้วกลาง
ทั้งสองข้าง ข้างหนึ่งพัน 1-2 รอบ ส่วนอีกข้างพันไว้มากกว่าเพื่อปล่อยออกมาใช้
ใช้นิ้วชี้เเละน้วโป้งจับเส้นไหม เหลือเส้นไหมไว้ประมาณ 2-3 นิ้ว
ขึ้นอยู่กับว่าฟันอยู่ด้านในเพียงใด
ไหมขัดฟัน สำคัญไฉน
ค่อยๆ เลื่อนไหมระหว่างซอกฟันเป็นรูปตัว C หรือเหมือนโอบผ้าเช็ดตัว
ถูไปถูมาหน้าหลัง ขึ้นลง
ให้โอบไหมลงไปในร่องเหงือกเบาๆถูไปมา
พยายามให้ให้นิ้วชิดฟัน เพื่อไหมจะได้โอบฟันได้มาก
สิ่งที่ไม่ควรทำ
1.ใช้ไหมเดิมซำ้ๆ เพราะอาจทำให้คราบเก่าลงในซอกใหม่
2.ผ่ากลางเหงือก เพราะไม่โอบฟัน ทำให้ฟันไม่สะอาด เเละทำให้เจ็บ
ตรวจฟัน ด้วยตัวฉันเอง
คราบใสๆ คราบขาว คราบเหลือง
เราต้องสังเกตฟันของตนเอง ว่ามีเศษอาหาร เเละครบจุลินทรย์
เกาะอยู่มากน้อยเเละหนาเเค่ไหน โดยปกติคราบจุลินทรีย์จะเริ่มเห็นชัดใน 24 ชั่วโมง
ดูอย่างไรว่าเเปรงฟันสะอาด
สังเกตกลิ่นเเละลมหายใจ สังเกต
ว่ามีกลิ่นหรือไม่ ฝ้าขาว = สกปรก
สีชมพู = สะอาด
สังเกต ขี้ฟัน, เศษอาหาร, คราบจุลินทรีย์
ติดอยู่ตาม ผิวฟัน,ซอกฟัน,เเละโคนฟันหรือไม่
ตรวจฟัน ด้วยตัวฉันเอง
ตรวจฟันหน้าบนและล่าง
โดย ยิ้ม ยิงฟันกับกระจก ให้เห็นฟัน
หน้าบนทั้งหมด ทั้งตัวฟัน และเหงือก
ตรวจฟันกรามด้านติดแก้ม
โดยยิ้มให้กว้างไปถึงฟันกราม อาจใช้นิ้วมือ
ช่วยดึงมุมปาก เพื่อให้เห็นได้ชัดเจนขึ้น
ตรวจด้านในของฟันล่าง ตรวจด้านบดเคี้ยว
ของฟันกรามล่าง
โดยก้มหน้าอ้าปากกว้าง
กระดกลิ้นขึ้น เมื่อตรวจดู โดยอ้าปากดูด้านบดเคี้ยว
ของฟันล่าง
ฟันกราม
ตรวจฟันบนด้านเพดาน
และด้านบดเคี้ยว
อ้าปากดูในกระจก ส่วนฟันหน้าด้าน เพดาน
อาจใช้กระจกบานเล็กช่วยสะท้อนให้เห็นใน
กระจกส่องหน้า
การพบทันตบุคลากร
ดูช่องปากพร้อมกับคุณหมอ
ว่าตนเองมีปั ญหาอะไรบ้าง
เช่น ฟันผุ เหงือกอักเสบ ฟันสึก
ถามเเละร่วมคิดกับคุณหมอว่า
โรคที่เป็นอยู่เกิดจากสาเหตุอะไรได้บ้าง
หลังจากที่ได้รับการรักษา
ควรขอคำเเนะนำจากคุณหมอ
ว่าต้องดูเเลสุขภาพช่องปากอย่างไร
เพื่อไม่ให้กลับมาเป็นอีกรอบ
ไปพบหมอทุกๆ 6 เดือนเพื่อตรวจ
สุขภาพช่องปากเพื่อทำนายช่องปาก
ของเราว่าในอนาคตอาจเกิดโรคอะไร
หากเราไม่ได้ดูเเลช่องปาก
ทุกๆ 6 เดือน อย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อปรึกษาคุณหมอ เเละรู้ตนเอง
เเล้วว่ามีปัญหาตรงไหน เเละควรที่
จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองได้
ทำให้อาจไม่ต้องรับการรักษา
การพบทันตบุคลากร
การป้องกันฟันผุทางคลินิค
คำเเนะนำหลังทาฟลูออไรด์วานิช
หลีกเลี่ยงอาหารที่ต้องเคี้ยว 2 ชั่วโมง
สามารถดื่มน้ำ ดื่มนม ได้ทันที
กลืนน้ำลายได้ตามปกติ
งดเเปรงฟัน ในวันที่ทาฟลูออไรด์วานิช
ให้เริ่มเเปรงฟั นในวันรุ่งขึ้ น
คำเเนะนำหลังทาฟลูออไรด์เจล
ห้ามทานอาหาร เเปรงฟันเเละน้ำหลังรักษา 30 นาที
30 นาที
ห้ามบ้วนน้ำหลังรักษา
สามารถกลืนน้ำลายได้ตามปกติ
ดูเเลรักษาความสะอาด เเปรงฟัน ได้ตามปกติ
การพบทันตบุคลากร
การตรวจเเละวินิจฉัยโรคในช่องปาก
1) ดูการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวและสี 2) ตรวจด้วยเครื่องมือตรวจฟัน ดูความนิ่ม
ความแข็งของผิวฟัน
3) การตรวจด้วยการถ่ายภาพรังสี 4) การใช้แสงสะท้อนจากกระจกตรวจช่องปาก จะช่วย
โดยจะดูการเปลี่ยนแปลงของภาพรังสี ให้เห็นรอยโรคที่เกิดขึ้นในบริเวณนั้นได้ โดยจะเห็นเป็นเงา
ดำ
ฟันผุ ที่ซอกฟัน
ฟันคุด
5) การใช้ไหมขัดฟัน โดยจะลากผ่านบริเวณซอกฟัน หากผิวของฟันขรุขระ และแตกยุ่ยออกเป็น
เส้นใยเล็ก ๆ ทำให้ทราบถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้นในบริเวณนั้น
บรรณานุกรม
คณะทันตเเพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพจฟันสวยฟ้าผ่า
ที่มา: https://www.facebook.com/Funsuayfapha
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 2560. 15 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับปากและฟัน.
ที่มา: https:www.dent.psu.ac.th.
คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2559. การเคลือบหลุมร่องฟัน.
ที่มา: http://www.sealant.dent.chula.ac.th
ชุติมา ไตรรัตน์วรกุล. 2554. ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพ: ภาควิชา
ทันตกรรมสาหรับเด็ก คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. (2555). การสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก. กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี.
สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2561. รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปาก
แห่งชาติครั้งที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560. นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข.