The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

15_สรุปผลและติดตามหลักสูตรการเลี้ยงดูเด็ก 62

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

15_สรุปผลและติดตามหลักสูตรการเลี้ยงดูเด็ก 62

15_สรุปผลและติดตามหลักสูตรการเลี้ยงดูเด็ก 62

สรปุ ผลการดาเนินการจัดการเรียนการสอน

หลกั สูตรการเลีย้ งดูเดก็ ปฐมวยั วธิ ีเรยี นทางไกล
และการตดิ ตามผลผสู้ าเรจ็ การศึกษา ปพี ุทธศักราช 2562

กลุ่มงานพัฒนาการเรียนรตู้ ลอดชีวติ
สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยภาคตะวนั ออก

สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

สรุปผลการดาเนินการจดั การเรยี นการสอนหลักสตู รการเลยี้ งดูเดก็ ปฐมวัย วิธเี รียนทางไกล และการ
ตดิ ตามผลผู้สาเร็จการศึกษา เลม่ น้ี มวี ัตถุประสงค์เพื่อสรุปผลการดาเนินงานการจัดการศกึ ษานอกระบบ ประเภท
การศกึ ษาต่อเนื่อง วธิ เี รยี นทางไกล ในรอบปที ่ผี ่านมา และติดตามผลผสู้ าเร็จการศึกษาปีพ.ศ. 2562 โดยการศึกษา
ความคดิ เหน็ ของผู้สาเรจ็ การศึกษาต่อกระบวนการจดั การเรียนรู้หลกั สตู รการเล้ียงดูเด็กปฐมวัย ในด้านอาจารย์ท่ี
ปรกึ ษา การจดั กระบวนการเรยี นรู้ และสื่อการเรียนการสอน และติดตามการนาความรไู้ ปใช้ในดา้ นการประกอบ
อาชีพ และการพัฒนาคุณภาพชวี ิต ในการตดิ ตามผลน้ีกลุม่ งานพฒั นาการเรียนรตู้ ลอดชีวิตได้ส่งแบบสอบถามที่
สรา้ งดว้ ย Google Forms ใหก้ บั นักศึกษาทางไลน์กลุ่ม “ปฐมวยั รนุ่ ท่ี 23” และได้รับความร่วมมือในการตอบ
แบบสอบถามจากผสู้ าเร็จการศกึ ษา

กลุ่มงานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต จะนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาปรับปรุงการจัดการ
เรียนการสอนหลักสูตรการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ของสถาบัน กศน. ภาคตะวันออก ซ่ึงเป็นการศึกษาต่อเน่ือง
วธิ ีเรยี นทางไกล ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพยิง่ ขน้ึ

กลุม่ งานพฒั นาการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ
สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
30 สงิ หาคม 2562

สารบญั

คานา

หนา้

ตอนท่ี 1 1
บทนา....................................................................................................................... .......
1
ความเปน็ มา.............................................................................................................. 2
วตั ถปุ ระสงค์ ............................................................................................................ 2
ขอบเขตของการตดิ ตามผล....................................................................................... 2
งบประมาณ...............................................................................................................

ตอนท่ี 2 3
ผลการดาเนนิ งานและการติดตามผลผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา................................................ 3
3
ผลการดาเนินงาน...................................................................................................... 4
5
หลักการของหลักสตู รการเล้ียงดูเดก็ ปฐมวยั .............................................................. 6
7
โครงสร้างหลักสตู รการเลีย้ งดเู ดก็ ปฐมวยั .................................................................. 8
9
วธิ กี ารศกึ ษาและข้นั ตอนการเรียนรชู้ ดุ การเรยี นทางไกล........................................... 15

แนวทางการเรียนร.ู้ ....................................................................................................
การประเมนิ ผลการศกึ ษา..........................................................................................
การติดตามผลผู้สาเร็จการศกึ ษา................................................................................
การเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล................................................................................
สรุปผล

ภาคผนวก............................................................................................................................ 17

ตอนที่ 1

บทนำ

ควำมเปน็ มำ
การศกึ ษาเป็นปัจจยั หนึ่งของการพัฒนาสังคมไทยสู่สังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และสังคมฐานความรู้

เป็นกลไกสาคัญในการสร้างคน ให้คนได้ใช้ความรู้ และปัญญาท่ีเช่ือมอย่างเป็นระบบ และสามารถนามาใช้ใน

การตัดสินใจ และดาเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัย ได้กาหนดนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานด้านการจัดการศึกษา ว่าคนไทยต้องได้รับการศึกษา

ตลอดชีวติ ท่ีมคี ณุ ภาพ อยา่ งท่วั ถงึ และเท่าเทียมกันเพ่ือให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ การจัดการศึกษาต่อเน่ืองจึง

เป็นการจัดการศึกษาเพ่ือบริการความรู้และทักษะต่าง ๆ ในการเสริมศักยภาพให้ตนเองเพ่ือยกระดับความรู้ให้

สงู ข้นึ จึงเป็นการส่งเสรมิ การเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีเชื่อมโยงและผสมกลมกลืนไปกับการดาเนินชีวิตจริง ซ่ึงผู้เรียน

สามารถนาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ รวมทั้งสามารถเลือกและพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสมในสภาพและบริบทท่ี

เปลี่ยนแปลงไป ดังน้ันการศึกษาต่อเน่ืองจึงเป็นการจัดการศึกษาท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาความรู้ให้สอดคล้องกับ

สภาพสงั คม และความต้องการของประชาชน

สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออก (สถาบัน กศน. ภาค
ตะวันออก) สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.)
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าท่ีภารกิจหลักสาคัญประการหนึ่ง คือ จัด
การศึกษานอกระบบ ประเภทการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง และการศึกษาตามอธั ยาศัยใหส้ อดคล้องกับความจาเป็นและ
ความสนใจของกลุ่มเป้าหมายและประชาชนในเขตภาคตะวันออก และสถาบัน กศน. ภาคตะวันออกได้จัดการ
เรียนการสอนการศึกษานอกระบบ ประเภทการศึกษาต่อเน่ือง วิธีเรียนทางไกล หลักสูตรการเล้ียงดูเด็ก
ปฐมวัย ซ่ึงกระบวนการเรียนรู้ของการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง วธิ ีเรียนทางไกล เป็นกระบวนการที่นักศึกษาต้องศึกษา
คน้ ควา้ หาความรดู้ ว้ ยตนเอง ซึง่ กระบวนการเรียนรดู้ ้วยตนเอง เป็นการเรยี นรทู้ นี่ ักศกึ ษาจะตอ้ งศกึ ษาจากชุดการเรียน
ทางไกลด้วยตนเอง ซึ่งประกอบด้วย ส่อื หลัก และส่ือประกอบตามท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร และศึกษาค้นคว้า
เพมิ่ เตมิ จากสอ่ื อื่น

กลุ่มงานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นกลุ่มงานที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษานอกระบบ
ประเภทการศึกษาต่อเนื่อง ในการดาเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย วิธีเรียน
ทางไกล นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีขั้นตอน โดยศึกษาจากส่ือต่าง ๆ ซ่ึงต้องปฏิบัติ ดังน้ี 1)
สรา้ งความเขา้ ใจเกยี่ วกบั หลกั สูตรและวิธีการเรยี นรู้ ดว้ ยการศึกษาจากคมู่ ือนักศกึ ษา 2) เรียนรู้เนื้อหาจากส่ือ
หลัก (เอกสารชุดการเรียน) และส่ือเสริม (วีซีดี) รวมท้ังแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพิ่มเติม 3) จัดทาแบบฝึกหัดและ
กิจกรรมการเรยี นรู้ตามท่ีหลกั สูตรกาหนด แลว้ บันทึกลงในสมุดบันทึกกิจกรรม ท้ัง 2 เล่ม 4) เรียนรู้ด้วยการ
แลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์ ระหว่างผู้เรียนและอาจารย์ที่ปรึกษา ทางโทรศัพท์ หรือสื่อออนไลน์
ไลนก์ ลุ่ม “ปฐมวัยรุ่นท่ี 23” ในปีงบประมาณ 2562 มนี ักศึกษา 33 คน และผ่านเกณฑ์การจบของหลักสูตร

2

จานวน 30 คน ดังน้ัน เพื่อให้การดาเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย วิธีเรียน
ทางไกล ของสถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก ได้พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของของกลุ่มเป้าหมายให้มีมาตรฐานและคุณภาพ กลุ่มงานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิตจึงได้
จดั ทาสรุปผลการจัดการเรียนการสอนและตดิ ตามผลผูส้ าเรจ็ การศกึ ษา

วตั ถุประสงค์
1. เพื่อสรุปผลการดาเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรการเล้ียงดูเด็กปฐมวัย ประเภท

การศกึ ษาตอ่ เน่ือง วธิ ีเรียนทางไกล
2. เพื่อตดิ ตามผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาหลกั สตู รการเลี้ยงดูเด็กปฐมวยั ปี พ.ศ. 2562 โดยศึกษา
2.1 ความคิดเหน็ ของผสู้ าเรจ็ การศึกษาหลกั สูตรการเลีย้ งดเู ดก็ ปฐมวยั ต่อกระบวนการ

จดั การเรียนรู้หลกั สตู รการเล้ียงดูเดก็ ปฐมวัย ในดา้ นอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา การจัดกระบวนการเรียนรู้ และสื่อการ
เรยี นการสอน

2.2 การนาความรูไ้ ปใชข้ องผู้สาเร็จการศกึ ษาหลกั สตู รการเลยี้ งดเู ด็กปฐมวยั ในด้าน
การประกอบอาชพี และการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ

ขอบเขตของกำรติดตำมผล
เป็นการติดตามผลผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรการเล้ียงดูเด็กปฐมวัย ประเภทการศึกษาต่อเน่ือง วิธีเรียน

ทางไกล ปี พ.ศ. 2562 จานวน 30 คน

งบประมำณ
เงินรายได้ จานวน 36,300 บาท (คา่ ลงทะเบยี นเรยี นคนละ 1,100 บาท มีผู้สมัครเรียน จานวน

33 คน) ใช้ไปจานวน 6,270 บาท คือ ประชุมปฏิบัติการตรวจงานนักศึกษา วันที่ 22 – 24 กรกฎาคม 2562
ณ หอ้ งประชุมมรกต สถาบัน กศน.ภาคตะวนั ออก

3

ตอนที่ 2

ผลกำรดำเนนิ งำนและกำรติดตำมผลผู้สำเรจ็ กำรศึกษำ

ผลกำรดำเนนิ งำน
ในปีงบประมาณ 2562 สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออก

(สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก) ได้ประกาศรับสมัครนักศึกษาประเภทการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรการเล้ียงดูเด็ก
ปฐมวัย วิธีเรียนทางไกล ระหว่างวันที่ 21 พฤศจิกายน 2561 – 21 มกราคม 2562 โดยคุณสมบัติของ
ผู้สมคั รเรียน มีดังนี้

1. ประชาชนทวั่ ไปที่มีสัญชาตไิ ทย
2. ไมจ่ ากัดเพศ อายุ และวฒุ ิการศึกษา
3. สามารถอ่านและเขียนภาษาไทยได้
4. สนใจศกึ ษาเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
5. ไม่เป็นโรคติดตอ่ ร้ายแรง หรือทพุ พลภาพ
เก็บคา่ ลงทะเบียน 1,100 บาท แยกเป็น ค่าสมัครเข้าเรยี น 10 บาท คา่ บารงุ การศกึ ษา 490
บาท ค่าส่ือ/ ชุดการเรียน 500 บาท คา่ จดั สง่ สอื่ 100 บาท และมีผู้สมคั รเรียน จานวน 33 คน ซ่ึงเปน็
นกั ศกึ ษารุน่ ที่ 23 ของสถาบนั กศน. ภาคตะวันออก และมนี กั ศึกษาผา่ นเกณฑ์การจบของหลกั สตู ร จานวน
30 คน

หลกั กำรของหลักสูตรกำรเล้ยี งดเู ดก็ ปฐมวัย
เป็นหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง วิธีเรียนทางไกล ท่ีจัดขึ้นเพื่อเติมเต็มหรือเสริมความรู้ เพิ่ม

ประสบการณ์ในดา้ นทกั ษะ เสริมสร้างความก้าวหน้าในอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งเป็นการจัดมวล
ความร้แู ละประสบการณเ์ พอื่ ความสะดวกในการเรียนรขู้ องผ้สู นใจ

วตั ถปุ ระสงค์
หลักสตู รการเลยี้ งดเู ด็กปฐมวัยเปน็ การเสริมความรู้และประสบการณ์ดา้ นทักษะอาชีพ โดยให้
ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ ดงั น้ี
1. เพอื่ ให้มีคณุ ธรรม จริยธรรมของผ้เู ล้ยี งดูเด็กทีเ่ หมาะสม
2. เพื่อใหม้ ีความรู้หลกั พ้นื ฐานในการดแู ลเด็กได้อย่างถูกต้อง
3. เพ่อื ให้มีความรู้และสามารถปฏิบตั ิตามหลกั วชิ าการอาหารและโภชนาการสาหรบั เด็กได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ
4. เพื่อให้มีความรแู้ ละสามารถดแู ลสขุ ภาพของเดก็ ไดอ้ ย่างถูกต้อง
5. เพอ่ื ใหส้ ามารถจัดประสบการณ์เพ่อื พฒั นาการเด็กได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
6. เพื่อใหส้ ามารถจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งพัฒนาการเด็กได้อยา่ งเหมาะสม

4

โครงสรำ้ งหลักสูตรกำรเลย้ี งดูเด็กปฐมวยั
โครงสร้างหลักสูตรการเล้ียงดูเด็กปฐมวัยที่นักศึกษาจะต้องศึกษาตลอดหลักสูตร 9 รายวิชา

จานวน 400 ชั่วโมง คิดเปน็ 10 หนว่ ยกติ รายละเอยี ดหลักสตู รประกอบด้วย
รายวิชาที่ 1 พืน้ ฐานวิชาชีพ จานวน 0.5 หน่วยกติ ใช้เวลาศกึ ษา 20 ชั่วโมง
ตอนที่ 1 จิตวทิ ยาท่วั ไป
ตอนท่ี 2 จรยิ ธรรมวชิ าชีพและการพัฒนาบุคลกิ ภาพ
ตอนท่ี 3 ความสมั พันธก์ ับชุมชน
รายวิชาท่ี 2 พฒั นาการและจติ วิทยาเด็กปฐมวัย จานวน 0.5 หน่วยกิต
ใชเ้ วลาศึกษา 20 ชั่วโมง
ตอนท่ี 1 พัฒนาการและจิตวทิ ยาเด็กทารก (แรกเกิด – 1 ปี)
ตอนที่ 2 พฒั นาการและจิตวิทยาเด็กอายุ 1 – 3 ปี
ตอนที่ 3 พฒั นาการและจติ วทิ ยาเด็กอายุ 3 – 5 ปี
รายวชิ าท่ี 3 หลกั การดูแลเดก็ ปฐมวัย จานวน 1.5 หนว่ ยกติ ใชเ้ วลาศึกษา 60 ชว่ั โมง
ตอนท่ี 1 การดูแลเดก็ ทารก (แรกเกดิ – 1 ป)ี
ตอนท่ี 2 การดแู ลเด็กอายุ 1 – 3 ปี
ตอนที่ 3 การดแู ลเด็กอายุ 3 – 5 ปี
รายวิชาท่ี 4 อาหารและโภชนาการสาหรับเดก็ จานวน 1.5 หน่วยกิต ใช้เวลาศึกษา 60 ชั่วโมง
ตอนท่ี 1 อาหารและโภชนาการ
ตอนท่ี 2 อาหารเพ่ือพัฒนาการ
ตอนท่ี 3 การจดั เตรยี มอาหารสาหรบั เดก็
รายวชิ าที่ 5 การดแู ลสขุ ภาพเดก็ จานวน 1 หนว่ ยกิต ใช้เวลาศึกษา 40 ช่ัวโมง
ตอนท่ี 1 หลักการดูแลสขุ ภาพเด็กเบื้องต้น
ตอนท่ี 2 อนั ตรายท่ีมักเกิดขน้ึ กับเด็กและการป้องกัน
ตอนท่ี 3 การปฐมพยาบาลเด็กเบ้ืองตน้
รายวชิ าท่ี 6 กจิ กรรมเสริมประสบการณส์ าหรับเด็ก จานวน 2 หนว่ ยกิต
ใช้เวลาศกึ ษา 80 ชัว่ โมง
ตอนท่ี 1 หลกั การจัดกิจกรรมประจาวนั
ตอนท่ี 2 กจิ กรรมเคล่อื นไหวและจังหวะ
ตอนที่ 3 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ตอนท่ี 4 กจิ กรรมสรา้ งสรรค์
ตอนท่ี 5 กจิ กรรมเสรี
ตอนท่ี 6 กจิ กรรมกลางแจง้
ตอนที่ 7 กจิ กรรมเกมการศกึ ษา

5

ตอนท่ี 8 การเขยี นแผนการจดั ประสบการณ์
รายวิชาท่ี 7 การจัดประสบการณส์ าหรับเดก็ จานวน 1.5 หน่วยกิต
ใชเ้ วลาศึกษา 60 ชั่วโมง
ตอนท่ี 1 การจดั ประสบการณเ์ พอ่ื ส่งเสริมพัฒนาการ
ตอนที่ 2 กจิ กรรมเสริมประสบการณ์
ตอนที่ 3 การผลิตและการเลือกส่ือของเล่น
รายวชิ าที่ 8 การประเมินพฒั นาการเดก็ จานวน 1 หนว่ ยกิต
ใชเ้ วลาศกึ ษา 40 ช่ัวโมง
ตอนที่ 1 หลักการประเมนิ พัฒนาการเดก็
ตอนที่ 2 วิธกี ารประเมินและการประเมินพัฒนาการเด็กในดา้ นตา่ ง ๆ
ตอนท่ี 3 การรายงานผลการประเมินพัฒนาการเด็ก
รายวชิ าที่ 9 กฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ งเบอ้ื งตน้ จานวน 0.5 หน่วยกติ
ใชเ้ วลาศกึ ษา 20 ช่วั โมง
ตอนท่ี 1 กฎหมายคุ้มครองแรงงาน และกฎหมายวา่ ดว้ ยแรงงานสัมพนั ธ์
สัญญาจา้ งและการยกเลิกสัญญาจา้ ง
ตอนที่ 2 กฎหมายประกันสงั คม
ตอนที่ 3 กฎหมายเก่ยี วกับสิทธิเด็กและการใช้แรงงานเด็ก

วธิ ีกำรศึกษำและขั้นตอนกำรเรยี นรู้ชุดกำรเรยี นทำงไกล
การศกึ ษาชุดการเรยี นทางไกล หลกั สตู รการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย นักศึกษามีอิสระในการเรียนรู้ด้วย

ตนเอง ด้วยการศึกษาอยู่ท่ีบ้าน สถานท่ีทางานหรือศึกษารวมกลุ่มกับเพื่อน ๆ ในสถานที่ใดที่หนึ่งก็ได้ แต่
นกั ศึกษาตอ้ งวางแผนการศกึ ษาชุดการเรยี นทางไกล ให้เหมาะสมกบั ระยะเวลา 4 เดือน เม่ือศึกษาแล้วไม่เข้าใจ
ก็สามารถศึกษาเพ่ิมเติมจากแหล่งการเรียนรู้อ่ืน ๆ ได้แก่ ห้องสมุด ศูนย์การเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถ่ิน
นักศึกษาควรศกึ ษาชุดการเรยี นทางไกลตามขั้นตอนการเรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสบผลสาเร็จใน
การเรยี น ซง่ึ เมื่อนักศึกษาดูรายละเอียดของหลักสูตรการเล้ียงดูเด็กปฐมวัยแล้วจะเห็นว่า หลักสูตรประกอบไป
ดว้ ยรายวชิ า 9 รายวิชา และในหนึ่งรายวิชาจะประกอบด้วย เนื้อหาตอนต่าง ๆ ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับความสาคัญของ
เน้ือหาแต่ละรายวิชา และเนื้อหาในแต่ละตอนจะประกอบไปด้วยเรื่องต่าง ๆ ลักษณะชุดการเรียนจึงมีลักษณะ
ของการบูรณาการเนื้อหาและประสบการณ์ท่ีมีความสัมพันธ์กันรวมเข้าไว้ด้วยกัน ซ่ึงนักศึกษาควรปฏิบัติตาม
ขน้ั ตอนการเรยี นรู้ ดังนี้

ขน้ั ตอนท่ี 1 ศึกษารายละเอยี ดโครงสรา้ งหลกั สูตรการเลีย้ งดูเด็กปฐมวัย
ขน้ั ตอนที่ 2 วางแผนเพ่อื กาหนดระยะเวลาการศึกษาชุดการเรียนทางไกล หลักสูตรการเลี้ยง

ดเู ดก็ ปฐมวยั ทงั้ 9 รายวชิ า
ข้ันตอนท่ี 3 ทาแบบทดสอบตนเองก่อนศึกษาชุดการเรียนทางไกล

6

ขั้นตอนที่ 4 ศึกษารายละเอยี ดเน้อื หาแตล่ ะรายวิชาจากชุดการเรียนทางไกล ซง่ึ แต่ละ
รายวชิ าจะแบง่ เป็นเน้ือหาเป็นตอน ๆ และตอนหนง่ึ ๆ จะประกอบไปดว้ ย
ขน้ั ตอนท่ี 5 เร่ืองต่าง ๆ โดยศึกษาจากเอกสารการเรียน ทากจิ กรรมตามท่กี าหนด แบบฝกึ
ขัน้ ตอนท่ี 6 ปฏบิ ตั ิ และสือ่ เสริมประเภท แผน่ วดี ทิ ัศน์ (VCD)
ขั้นตอนที่ 7 ศกึ ษาคน้ ควา้ เพม่ิ เติมด้วยตนเองจากแหลง่ เรียนรู้อืน่ ๆ ได้แก่ หอ้ งสมุด ศูนย์
การเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถ่นิ
ทาแบบทดสอบหลังศึกษาชดุ การเรียนทางไกล
รับการทดสอบความรู้ กรณีท่ีผูส้ อบสอบไมผ่ า่ น ต้องสอบซ่อม

แนวทำงกำรเรยี นรู้
การศึกษาทางไกลเป็นวิธีการจัดการศึกษารูปแบบหน่ึงที่ใช้ส่ือเป็นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้

ทักษะ และประสบการณ์ จากผู้สอนไปยังนักศึกษา ส่ือจึงมีบทบาทและความสาคัญในการเรียนรู้สาหรับ
นักศกึ ษาอย่างมาก สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้จัดทาสื่อชุดการเรียน
ทางไกล หลกั สตู รการเลยี้ งดูเดก็ ปฐมวยั เปน็ ลักษณะสอื่ ประสม ประกอบดว้ ยสื่อดงั น้ี คอื

1. ส่อื หลัก ได้แก่ เอกสารชุดการเรียน จานวน 1 เล่ม และสมุดบนั ทกึ กิจกรรม 2 เล่ม ส่อื
หลกั เป็นส่อื ท่นี ักศึกษาต้องเรยี นรู้ด้วยตนเอง เอกสารชุดการเรยี น จะมีเน้ือหาครอบคลุม 9 รายวิชา ซงึ่ ในหน่ึง
รายวิชาจะประกอบด้วย เน้ือหาตอนตา่ ง ๆ แตล่ ะตอนจะประกอบไปดว้ ยเร่ืองต่าง ๆ ดังนั้น ตอนหนึ่ง ๆ จะมี
จานวนเร่ืองมากน้อยเพยี งใดขึ้นอยู่กับเนื้อหาสาระที่กาหนดไว้ในหลกั สูตร ลักษณะเน้ือหาของแต่ละรายวิชาจะมี
ความสัมพนั ธก์ ัน เป็นลกั ษณะการบรู ณาการเนอ้ื หาและประสบการณร์ วมเขา้ ไว้ดว้ ยกนั ดังนนั้ นกั ศึกษาต้อง
ศกึ ษาเอกสารชุดการเรยี นโดยทาความเข้าใจรายวิชาแตล่ ะตอนประกอบด้วยเร่ืองอะไร ในแตล่ ะเร่ืองกาหนด
แนวคดิ อะไรบา้ ง มวี ัตถปุ ระสงคอ์ ยา่ งไรและนักศกึ ษาต้องทากิจกรรมตามที่กาหนด ต่อจากนัน้ นกั ศึกษากจ็ ัดทา
แบบฝกึ ปฏิบัติตามเนื้อหาแตล่ ะรายวิชา จะทาใหเ้ กดิ ทกั ษะในการเรยี นรู้มากขึ้น นักศกึ ษาจึงต้องใหค้ วามสาคญั
เอกสารชดุ การเรียนและแบบฝกึ ปฏิบตั ใิ ห้มากโดยการอา่ นและหม่ันทบทวนเพ่ือให้เกิดความเข้าใจยงิ่ ขึน้

2. สื่อเสริม ได้แก่ สื่อ VCD สื่อเสริมนี้ซ่ึงจะแสดงเน้ือหาในส่วนที่เข้าใจยาก แสดงความ
เคลื่อนไหว สิ่งทีต่ อ้ งทาความเข้าใจโดยภาพและเสียงไม่สามารถอธิบายหรือแสดงด้วยส่ือเอกสารให้เข้าใจอย่าง
ชัดเจนได้ เอกสารเสริมความรู้ รายวิชาอาหารและโภชนาการสาหรับเด็ก สื่อเสริมน้ีจะช่วยให้นักศึกษามี
ความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการสาหรับเด็กปฐมวัยเพิ่มมากข้ึน ดังน้ัน สื่อเสริมทั้งวีดิทัศน์และเอกสารเสริม
ความรู้ รายวิชาอาหารและโภชนาการสาหรับเด็ก นักศึกษาต้องเรียนรู้ควบคู่ไปพร้อมกับเอกสารชุดการเรียน
เพอ่ื ให้เข้าใจเนื้อหามากข้นึ

3. ส่ือบุคคล ได้แก่ อาจารย์ที่ปรึกษาประจาหลักสูตร ผู้รู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นบุคคลท่ีมี
ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เป็นบุคคลที่สามารถให้คาปรึกษา แนะนา หรือตอบข้อซักถามในเวลาท่ี
นักศึกษาเกดิ ปญั หาขัดขอ้ งใจได้ ซ่งึ สามารถจะช่วยแก้ปญั หาใหน้ ักศกึ ษาไดร้ ะดับหนงึ่

7

4. ส่ืออื่น ๆ ได้แก่ ส่ือต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในท้องตลาด หรือแหล่งค้นคว้า เช่น ห้องสมุดศูนย์การ
เรียน นักศึกษาสามารถหาความรู้เพ่ิมเติมได้โดยการศึกษาค้นคว้าและศึกษารายละเอียดในเร่ืองท่ีนักศึกษา
ต้องการทราบเปน็ การเสรมิ เติมเตม็ ในสว่ นท่นี ักศกึ ษาตอ้ งการเรียนรู้

กำรประเมนิ ผลกำรศึกษำ

1. วิธกี ารประเมนิ ผลการเรยี น

กาหนดวธิ กี ารประเมินผลการศกึ ษาหลักสตู รการเลีย้ งดูเด็กปฐมวยั ดังน้ี

1) การประเมินด้วยตนเอง เป็นการประเมินด้วยตนเอง 2 คร้ัง คือ ก่อนศึกษาและหลัง

ศึกษาเพ่ือให้นักศึกษาประเมินความรู้ของตนเองก่อนจะเร่ิมต้นศึกษาและเม่ือสิ้นสุดการศึกษาเพื่อจะดู

ความก้าวหน้าของนักศึกษา การประเมินผลด้วยตนเองท้ังก่อนเรียนและหลังเรียนจะไม่มีคะแนน โดยให้

นักศึกษาประเมินผลจากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนชุดการเรียนทางไกล หลักสูตรการเลี้ยงดูเด็ก

ปฐมวัย

2) การประเมนิ ผลของสถาบนั กศน. ภาคตะวันออก เป็นการประเมินผลท่ีเป็นกระบวนการ

ตัดสินผลการเรยี นของนกั ศึกษา โดยพจิ ารณาผลการเรียน 3 ด้าน ดงั นี้

(1) การทาสมุดบันทึกกิจกรรม นักศึกษาต้องจัดทาแบบฝึกหัดตามที่กาหนดในชุด

การเรยี น โดยกาหนดน้าหนกั คะแนนเปน็ ร้อยละ 40

(2) การจัดทาช้ินงาน (แฟ้มสะสมงาน) นักศึกษาจะต้องจัดทาชิ้นงานตามที่กาหนด

ในชุดการเรยี น โดยกาหนดนา้ หนกั คะแนนเป็นรอ้ ยละ 40

(3) การประเมินด้วยการทดสอบ นกั ศึกษาจะต้องรับการทดสอบด้วยแบบทดสอบท่ี

ครอบคลุมจุดประสงค์และเนอ้ื หา โดยกาหนดนา้ หนักคะแนนเปน็ ร้อยละ 20

การประเมินผลในขอ้ (1) อาจารย์ประจารายวิชาจะตรวจและให้คะแนน

ในขอ้ (2) คณะกรรมการประจาหลักสตู รจะเปน็ ผู้ตรวจและใหค้ ะแนน

ในข้อ (3) คณะกรรมการประจารายวชิ าเปน็ ผตู้ รวจและใหค้ ะแนน

2. การตัดสินผลการเรยี น มีหลักเกณฑด์ ังนี้

1) ใหต้ ดั สินผลการเรยี น รวม 3 ดา้ น คือ การจดั ทาสมุดบันทึกกิจกรรม การจัดทาชิ้นงาน

(แฟม้ สะสมงาน) และการทดสอบดว้ ยแบบทดสอบ

2) อตั ราสว่ นคะแนนของผลการเรยี น 3 ด้าน ดังนี้

(1) การจัดทาสมดุ บันทกึ กจิ กรรม จานวน 40 คะแนน

(2) การจดั ทาชิ้นงาน จานวน 40 คะแนน

(3) การทดสอบด้วยแบบทดสอบ จานวน 20 คะแนน

3) การตดั สินผลการเรียน นกั ศึกษาที่จะได้รับการพิจารณาให้จบหลักสูตรจะต้องผ่านเกณฑ์

การประเมิน ดงั นี้

(1) การจดั ทาสมุดบนั ทกึ กิจกรรม เกณฑร์ อ้ ยละ 60 ถือวา่ ผ่าน

(2) การจัดทาชน้ิ งาน เกณฑร์ ้อยละ 60 ถือวา่ ผา่ น

8

(3) การทดสอบด้วยแบบทดสอบ เกณฑ์รอ้ ยละ 60 ถอื วา่ ผา่ น
4) การคิดค่าระดับผลการเรียนให้ใช้หลักเกณฑ์คะแนนตัวเลขแสดงค่าระดับผลการเรียน
ดังนี้

(1) ได้คะแนนร้อยละ 90-100 ใหร้ ะดับผลการเรียน 4 หมายถึง ดมี าก
(2) ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 80-89 ใหร้ ะดบั ผลการเรียน 3 หมายถงึ ดี
(3) ไดค้ ะแนนร้อยละ 70-79 ใหร้ ะดบั ผลการเรียน 2 หมายถึง ปานกลาง
(4) ได้คะแนนรอ้ ยละ 60-69 ใหร้ ะดับผลการเรียน 1 หมายถงึ ผา่ น
(5) ได้คะแนนร้อยละ 0-59 ใหร้ ะดบั ผลการเรียน 0 หมายถึง ไม่ผา่ น
3. การจบหลกั สูตร
นักศึกษาจะจบหลักสูตรได้ เมื่อผ่านเกณฑ์ประเมิน 3 ด้าน ตามเกณฑ์การตัดสินท่ีกาหนด
และจะได้รบั วุฒิบัตรหลงั การอนุมตั ผิ ลการสอบแลว้ ภายใน 1 เดือน

กำรตดิ ตำมผลผู้สำเรจ็ กำรศึกษำ
เครื่องมอื ที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ี เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นการจัดการศึกษาต่อเนื่อง วิธีเรียน

ทางไกล หลกั สูตรการเลีย้ งดูเดก็ ปฐมวัย ซึ่งแบ่งเปน็ 3 ตอน คอื
ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไป
ตอนที่ 2 ความคดิ เหน็ ตอ่ กระบวนการจดั การเรยี นรหู้ ลกั สูตรการเล้ยี งดเู ด็กปฐมวัย เป็น

แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดบั โดยสอบถามใน 3 ประเดน็ คอื
1. อาจารย์ทปี่ รึกษา
2. การจดั กระบวนการเรยี นรู้
3. สื่อการเรียนการสอน

ตอนท่ี 3 การนาความรูไ้ ปใช้ เปน็ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดบั โดย
สอบถามใน 2 ประเดน็ คอื

1. การประกอบอาชพี
2. การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ
และคาถามปลายเปดิ ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ
ผลการศกึ ษา การตดิ ตามผลผู้สาเรจ็ การศกึ ษาหลักสตู รการเลีย้ งดูเด็กปฐมวัย จานวน 30 คน
ดว้ ยการสง่ แบบสอบถามที่สร้างด้วย google form โดยการสง่ ลงิ ก์แบบสอบถาม http://gg.gg/child2562
ใหผ้ ้สู าเรจ็ การศึกษาทางกลมุ่ ไลน์ “ปฐมวัยรุ่นท่ี 23” ได้รับแบบสอบถามกลบั คนื มา จานวน 24 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 80 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดงั นี้
สญั ลกั ษณ์และอักษรย่อท่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู
N แทน จานวนผู้สาเรจ็ การศึกษา
 แทน คา่ เฉล่ีย
S.D. แทน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน

9

กำรเสนอผลกำรวิเครำะหข์ อ้ มลู
ในการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลการศึกษาคร้ังน้ี กลุ่มงานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้วิเคราะห์

และนาเสนอผลการวเิ คราะห์ในรปู ตารางประกอบคาบรรยาย ดังน้ี
ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการแจกแจงความถ่ีและคานวณค่าร้อยละ
ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นของผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ต่อกระบวนการ

จัดการเรียนรู้หลักสูตรการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย โดยการวิเคราะห์ค่าเฉล่ีย (  ) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)
และประเมนิ ระดบั ความคดิ เหน็ ต่อกระบวนการเรยี นรหู้ ลกั สูตรการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ในด้านอาจารย์ท่ีปรึกษา
การจัดกระบวนการเรยี นรู้ และส่ือการเรียนการสอน มเี กณฑก์ ารประเมนิ ดงั นี้

4.50 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมดีมาก
3.50 – 4.49 หมายถึง มีความเหมาะสมดี
2.50 – 3.49 หมายถึง มคี วามเหมาะสมปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถึง มคี วามเหมาะสมพอใช้
1.00 – 1.49 หมายถงึ มคี วามเห็นว่าควรปรบั ปรงุ
ตอนท่ี 3 การนาความรู้ไปใช้ของผ้สู าเรจ็ การศึกษาหลักสูตรการเล้ยี งดูเดก็ ปฐมวยั โดยการวิเคราะห์
คา่ เฉล่ีย (  ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และประเมินระดับการนาความรู้ไปใช้ ในด้านการประกอบอาชีพ
และการพฒั นาคุณภาพชวี ติ มีเกณฑ์การประเมิน ดงั นี้
4.50 – 5.00 หมายถงึ นาความรไู้ ปใช้ได้ดมี าก
3.50 – 4.49 หมายถึง นาความรู้ไปใช้ไดด้ ี
2.50 – 3.49 หมายถึง นาความรไู้ ปใช้ได้ปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถึง นาความรไู้ ปใช้ได้นอ้ ย
1.00 – 1.49 หมายถึง นาความร้ไู ปใช้ได้น้อยท่สี ุด
ตอนที่ 4 ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ

10

ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานดูแลเด็กปฐมวัย และการรับข่าวสารการ

จัดการเรียนการสอนหลกั สูตรการเลยี้ งดูเดก็ ปฐมวัย โดยการแจกแจงความถี่ และคานวณค่าร้อยละ แสดงใน
ตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 จานวนและรอ้ ยละของผู้สาเร็จการศึกษาหลกั สูตรการเล้ียงดเู ด็กปฐมวยั

รายการ จานวน รอ้ ยละ

เพศ 1 4.17
ชาย 23 95.83
หญงิ 24 100.00

รวม 1 4.17
ประสบการณ์ในการปฏิบัตงิ านดูแลเดก็ ปฐมวัย 3 12.5
ไมม่ ีประสบการณ์ 14 58.33
มีประสบการณน์ ้อยกวา่ 1 ปี 6 25
มปี ระสบการณ์ 1-3 ปี 24 100.00
มปี ระสบการณ์ มากกว่า 3 ปี
4 16.67
รวม 7 29.17
การรบั ขา่ วสารการจดั การเรยี นการสอน 8 33.33
หลักสูตรการเล้ยี งดเู ดก็ ปฐมวัย 5 20.83
หนงั สอื แจง้ ประชาสัมพันธ์ 24 100.00
เพื่อน
เฟซบุก๊ /เพจหลักสตู รการเลีย้ งดูเดก็ ปฐมวยั
ท่ีทางาน

รวม

จากตารางท่ี 1 ผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรการเล้ียงดูเด็กปฐมวัย ประเภทการศึกษาต่อเนื่อง วิธีเรียน
ทางไกล ที่ตอบแบบสอบถาม จานวน 24 คน เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 95.83
เพศชาย คิดเป็นรอ้ ยละ 4.17

ผู้สาเร็จการศึกษา ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานการดูแลเด็กปฐมวัย โดยมี
ประสบการณ์ 1 - 3 ปีมากทสี่ ดุ คดิ เปน็ ร้อยละ 58.33 รองลงมา คือ มีประสบการณ์มากกว่า 3 ปี (ร้อยละ
25) มีประสบการณ์นอ้ ยกว่า 1 ปี (รอ้ ยละ 12.5) และไม่มีประสบการณ์ (ร้อยละ 4.17) ตามลาดับ

11

ผสู้ าเร็จการศึกษา ได้รบั ขา่ วสารการจดั การเรียนการสอนหลกั สูตรการเลย้ี งดูเด็กปฐมวัย ส่วนใหญ่
ได้รับข่าวสารจากเฟซบกุ๊ /เพจหลักสูตรการเลย้ี งดเู ด็กปฐมวัย มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 33.33 รองลงมา
คือ เพื่อน (ร้อยละ 29.17) จากท่ีทางาน (ร้อยละ 20.83) และจากหนงั สือแจ้งประชาสมั พนั ธ์ (ร้อยละ 16.67)
ตามลาดับ

ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นของผู้สาเร็จการศึกษาหลกั สูตรการเลี้ยงดเู ดก็
ปฐมวัยต่อกระบวนการจัดการเรยี นรู้หลักสูตรการเลี้ยงดเู ดก็
ปฐมวัย

การศกึ ษาความคดิ เห็นของผูส้ าเร็จการศึกษาหลกั สูตรการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ต่อกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ โดยการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย (  ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และประเมินระดับความคิดเห็นต่อ
กระบวนการเรียนรู้หลักสูตรการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ในด้านอาจารย์ท่ีปรึกษา การจัดกระบวนการเรียนรู้ สื่อ
การเรยี นการสอน แสดงในตารางที่ 2 และตารางที่ 3

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ความคิดเหน็ ต่อกระบวนการจัดการเรยี นรู้
หลักสตู รการเล้ียงดเู ด็กปฐมวัย ในแตล่ ะด้าน

ประเด็นการประเมิน ระดับความคิดเห็น ( N = 24 ) ระดับการประเมนิ
 S.D.
ดา้ นอาจารยท์ ป่ี รึกษา 4.54 0.75 ดีมาก
ด้านการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 4.63 0.58 ดีมาก
ดา้ นสื่อการเรยี นการสอน 4.69 0.49 ดีมาก
4.61 0.63 ดีมาก
รวม

จากตารางท่ี 2 ผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ประเภทการศึกษาต่อเน่ือง วิธี
เรียนทางไกล ที่ตอบแบบสอบถามจานวน 24 คน มีความคิดเห็นต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้หลักสูตรการ
เลี้ยงดูเด็กปฐมวัยในภาพรวม มีความเหมาะสมดีมาก (  = 4.61) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่ามีความ
เหมาะสมดีมากทุกด้าน คือ ด้านอาจารยท์ ่ีปรึกษา( = 4.54) ด้านการจดั กระบวนการเรียนรู้ (  = 4.63) และ ด้าน
สือ่ การเรยี นการสอน ( = 4.69)

12

ตารางท่ี 3 ค่าเฉล่ยี ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดบั ความคดิ เหน็ ต่อกระบวนการจัดการเรยี นรู้
หลักสูตรการเลีย้ งดูเด็กปฐมวยั เปน็ รายข้อในแต่ละด้าน

ประเดน็ การประเมนิ ระดบั ความคดิ เห็น ( N = 24 )
 S.D. ระดบั การประเมนิ
ด้านอาจารย์ทปี่ รึกษา
1. ใหค้ าแนะนาปรึกษาในการเรียนด้านเนอื้ หา 4.58 0.72 ดมี าก
2. ให้คาแนะนาปรึกษาในการจัดทาสมุดบันทึกกจิ กรรม 4.50 0.72 ดมี าก
3. ใหค้ าแนะนาปรึกษาในการจัดทาสมุดแฟม้ สะสมงาน 4.42 0.83
4. ใหค้ วามเปน็ กนั เองกบั ผเู้ รียน 4.67 0.64 ดี
5. ใช้ถอ้ ยคาทส่ี ุภาพกบั ผู้เรยี น 4.63 0.71 ดมี าก
6. ให้กาลงั ใจกับผเู้ รียนในการพฒั นาตนเอง 4.46 0.88 ดมี าก
ด้านการจดั กระบวนการเรียนรู้
1. ความสะดวกในการตดิ ต่อกบั ส่วนจัดการศกึ ษา ดี
2. ความชัดเจนของปฏทิ นิ การเรียน
3. ความชัดเจนในการจดั ทาสมดุ กจิ กรรม 4.58 0.58 ดีมาก
4. ความชัดเจนในการจัดทาสมดุ แฟม้ สะสมงาน 4.63 0.65 ดีมาก
5. ความยากของข้อสอบอัตนัย 4.63 0.65 ดีมาก
6. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการทาข้อสอบ (5 วนั ) 4.67 0.64 ดีมาก
7. ความสะดวกในการรบั ขา่ วสารการเรยี นทางไลน์กลุ่ม 4.42 0.65
8. ความพงึ พอใจต่อรูปแบบการประเมินผลของหลักสตู ร 4.54 0.59 ดี
ด้านสอื่ การเรยี นการสอน 4.75 0.44 ดมี าก
1. มีเน้ือหาตรงกบั จดุ ประสงคข์ องหลักสตู ร 4.79 0.41 ดีมาก
2. มีการจัดลาดับเนอ้ื หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ดมี าก
3. มคี วามทันสมยั
4. เนอ้ื หาเสริมความร้ใู ห้กบั ผเู้ รียน 4.79 0.41 ดมี าก
4.79 0.41 ดมี าก
4.54 0.51 ดมี าก
4.63 0.58 ดีมาก

จากตารางท่ี 3 แสดงว่าผูส้ าเรจ็ การศึกษาหลักสูตรการเลยี้ งดูเดก็ ปฐมวัย ประเภทการศึกษา
ตอ่ เน่ือง วธิ ีเรยี นทางไกล มีความคิดเห็นต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ ด้านอาจารย์ที่ปรึกษา ในแต่ละข้อมี
ความเหมาะสมดีมาก ยกเว้น ข้อที่ 3 ให้คาแนะนาปรกึ ษาในการจดั ทาสมุดแฟม้ สะสมงาน ทีผ่ ู้สาเรจ็
การศกึ ษามีความคิดเหน็ วา่ มีความเหมาะสมระดับดี (  = 4.42) และขอ้ ท่ี 6 ให้กาลังใจกบั ผเู้ รียนในการ
พฒั นาตนเอง (  = 4.46) ดา้ นการจัดกระบวนการเรยี นรู้ แต่ละข้อมีความเหมาะสมดีมาก ยกเวน้ ข้อที่ 5

13

ความยากของข้อสอบอัตนยั มีความเหมาะสมระดบั ดี (  = 4.42) ด้านสื่อการเรียนการสอน แตล่ ะข้อมีความ
เหมาะสมดีมาก

ตอนท่ี 3 การนาความรู้ไปใชข้ องผ้สู าเรจ็ การศึกษาหลกั สูตรการเลี้ยงดู
เดก็ ปฐมวัย

การนาความรู้ไปใช้ของผู้สาเร็จการศึกษาหลักสตู รการเลีย้ งดเู ด็กปฐมวยั โดยการวิเคราะห์ค่าเฉล่ีย
(  ) สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และประเมินระดบั การนาความร้ไู ปใช้ ในดา้ นการประกอบอาชพี และ
การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ แสดงในตารางท่ี 4 และตารางท่ี 5

ตารางที่ 4 ค่าเฉลย่ี ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับการนาความรู้ไปใช้ของผสู้ าเร็จการศกึ ษาหลักสตู ร
การเลยี้ งดเู ด็กปฐมวยั ในแต่ละดา้ น

ประเด็นการประเมนิ ระดับการนาความร้ไู ปใช้ ( N = 24 ) ระดบั การประเมนิ
 S.D.
ด้านการประกอบอาชีพ 4.65 0.60 ดีมาก
ด้านการพฒั นาคุณภาพชวี ิต 4.67 0.50 ดีมาก
4.66 0.56 ดมี าก
รวม

จากตารางท่ี 4 ผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรการเล้ียงดูเด็กปฐมวัย ประเภทการศึกษาต่อเนื่อง วิธีเรียน
ทางไกล ท่ีตอบแบบสอบถาม จานวน 24 คน การนาความรู้ไปใช้ในภาพรวม ระดับดีมาก (  = 4.66) และเม่ือ
พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับดีมากทุกด้าน ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต (  = 4.67) และด้านการประกอบ
อาชีพ อย่ใู นระดบั ดมี าก ( = 4.65)

14

ตารางที่ 5 ค่าเฉล่ยี สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับการนาความรู้ไปใชข้ องผ้สู าเรจ็ การศกึ ษาหลักสตู รการ
เลยี้ งดูเด็กปฐมวยั เปน็ รายข้อในแตล่ ะด้าน

ประเด็นการประเมนิ ระดบั ความคิดเห็น ( N = 24 )
 S.D. ระดับการประเมนิ
ดา้ นการประกอบอาชพี
1. ปฏบิ ัตงิ านได้ถูกตอ้ งตามหลักวิชาชีพ 4.67 0.48 ดีมาก
2. นาไปปรับตาแหนง่ ให้สูงข้ึน 4.33 0.87 ดี
3. มชี อ่ งทางในการประกอบอาชีพมากข้นึ 4.63 0.71
4. นาไปพัฒนาตนเองให้เปน็ ผ้ทู ีม่ ีลกั ษณะที่นายจ้าง 4.63 0.58 ดมี าก
ต้องการ ดีมาก
5. สามารถทางานร่วมกับผ้อู ่ืนได้อยา่ งมีความสขุ
6. แกป้ ัญหาเก่ียวกบั การประกอบอาชพี 4.75 0.53 ดมี าก
7. สรา้ งสรรค์สิ่งใหมๆ่ ในงานทตี่ นเองทา 4.75 0.44 ดีมาก
ดา้ นการพัฒนาคุณภาพชวี ิต 4.83 0.38 ดีมาก
8. พัฒนาตนเองและครอบครัวให้มคี ุณภาพชีวิตทีด่ ี
9. พฒั นาจติ ใจให้เป็นผทู้ มี่ ีคุณธรรมจริยธรรม 4.58 0.58 ดมี าก
10. เหน็ คณุ ค่าของการอย่รู ว่ มกันแบบพ่งึ พาอาศัย 4.75 0.44 ดีมาก
11. มีความมน่ั คงในอารมณ์และมีเหตผุ ลมากข้นึ 4.71 0.46 ดมี าก
12. นาความรู้ไปเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพกายและใจใหเ้ ขม้ แขง็ 4.58 0.58 ดมี าก
สมบูรณ์ 4.67 0.48 ดมี าก
13. ฝึกฝนตนเองใหเ้ ปน็ ผูท้ ี่มีความรอบคอบในการ
ทางาน 4.71 0.46 ดีมาก

จากตารางที่ 5 แสดงว่าการนาความรู้ไปใช้ของผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย
ประเภทการศึกษาต่อเน่ือง วิธีเรียนทางไกล ด้านการประกอบอาชีพ แต่ละข้อนาความรู้ไปใช้ได้ดีมาก ข้อท่ี
คะแนนเฉล่ยี สูงสุด คือ ขอ้ ท่ี 7 สร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ๆ ในงานท่ีตนเองทา (  = 4.83) ยกเว้น ข้อที่ 2 นาไป
ปรับตาแหน่งให้สูงข้ึน ที่ผู้สาเร็จการศึกษามีความคิดเห็นว่านาความรู้ไปใช้ได้ดี (  = 4.33) ด้านการพัฒนา
คณุ ภาพชวี ิต แต่ละข้อนาความรู้ไปใชไ้ ดด้ มี าก ข้อท่ีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ ข้อที่ 9 พัฒนาจิตใจให้เป็นผู้ท่ีมี
คุณธรรมจรยิ ธรรม (  = 4.75)

15

ตอนที่ 4 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม

ผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรการเล้ียงดูเด็กปฐมวัย จานวน 2 คน ได้แสดงความคิดเห็นและ
ข้อเสนอแนะเพ่ือนาไปปรับปรงุ การจดั การเรียนการสอนหลักสตู รการเล้ียงดเู ด็กปฐมวยั วิธเี รียนทางไกล ดังน้ี

- เหมาะสม ท้ังเวลาและความรทู้ ีไ่ ดร้ บั
- การจัดหลักสตู รการเลยี้ งดเู ด็กปฐมวัย การศึกษาทางไกล เปน็ การศึกษาทดี่ ีและมีประโยชนต์ อ่
ผู้เรียนเป็นอย่างมาก

สรุปผล
จากการติดตามผลผสู้ าเร็จการศึกษาหลักสูตรการเลี้ยงดูเด็กปฐมวยั ปี พ.ศ. 2562 สรปุ ผลได้ดังน้ี
ความคิดเห็นของผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรการเล้ียงดูเด็กปฐมวัย ต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้

หลักสูตรการเลีย้ งดูเดก็ ปฐมวัย ในด้านอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ และส่ือการเรียนการ
สอน มีความเหมาะสมดีมาก ท้ังนี้เน่ืองจาก ผู้เรียนเข้าใจวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง ในรูปแบบการเรียน
ทางไกล ท่ีเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านส่ือ และมีอิสระในการวางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซ่ึงสอดคล้องกับ
หลักการของการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียนในลักษณะของการศึกษาต่อเนื่อง ที่เป็นการจัดการศึกษาที่ยืดหยุ่น
สอดคล้องกับศักยภาพท่ีแตกต่างกันของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมท่ีหลากหลาย
เหมาะสมกับสภาพของผู้เรยี น อีกทั้งกลมุ่ งานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต ได้จัดให้มีอาจารย์ท่ีปรึกษา 1 คน
ต่อผู้เรียน 5 คน และมีผู้ดูแลระบบไลน์กลุ่ม “ปฐมวัยรุ่นที่ 23” เพ่ือดูแลช่วยเหลือผู้เรียน คอยตอบข้อ
ซักถามท่ีผู้เรียนสอบถามเข้ามาโดยทันที รวมทั้งบริการแจ้งข่าวสารต่างๆ เช่น การส่งงาน การส่ง
แบบทดสอบ การส่งวฒุ บิ ัตร เปน็ ต้น

การนาความรไู้ ปใช้ของผูส้ าเร็จการศกึ ษาหลกั สูตรการเล้ียงดเู ด็กปฐมวัย ในภาพรวมนาความรู้ไปใช้ได้
ดีมาก ท้ังด้านการประกอบอาชีพ และด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้เนื่องจาก ผู้สาเร็จการศึกษาส่วน
ใหญ่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานการดูแลเด็กปฐมวัย 1- 3 ปี ส่งผลให้เห็นความสาคัญของการพัฒนา
คุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน ซึ่งสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษานอกโรงเรียนประเภท
การศึกษาต่อเนื่อง เพ่ือตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้เพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการทางานของ
บุคคล และหลักการของการจัดการศึกษาเพ่ือสนองความต้องการเรียนรู้ตลอดชีวิต สนองตอบความต้องการ
ในการดารงชีวิตของประชาชน ใหท้ ันกับการเปลี่ยนแปลงของโลกปจั จุบนั

ข้อสังเกต
1. การรบั รู้ขา่ วสารการจัดการเรยี นการสอนหลักสตู รการเลย้ี งดเู ด็กปฐมวัย สว่ นใหญ่ได้รับข่าวสาร
จาก เฟซบุ๊ก /เพจหลักสตู รการเล้ยี งดูเด็กปฐมวยั มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 33.33 รองลงมา คือ เพอื่ น
(ร้อยละ 29.17) แสดงใหเ้ หน็ วา่ ส่ือออนไลน์ เฟซบุ๊ก /เพจหลักสูตรการเลี้ยงดูเด็กปฐมวยั มอี ิทธพิ ลในการ
กระจายข่าวการเปดิ รับสมัครเรยี นได้อยา่ งแพร่หลาย

16

2. เม่อื กลุ่มงานพัฒนาการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ไดจ้ ดั ต้งั ไลน์กล่มุ สาหรบั ผเู้ รียน ทาให้การติดต่อส่ือสาร
ทางโทรศัพทร์ ะหว่างอาจารย์ท่ีปรกึ ษากบั ผูเ้ รยี นลดนอ้ ยลง ผู้เรยี นสอบถามในไลน์กลุ่มมากขึน้ อาจารยท์ ่ี
ปรึกษาจะมบี ทบาทหนา้ ที่ในการตดิ ตามทวงถามงานของผู้เรียนทส่ี ง่ ไม่ครบหรือไมท่ นั ตามกาหนดเท่านั้น

3. กลุ่มงานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต ใช้ระบบการตรวจงาน (สมุดบันทึกกิจกรรม) ของผู้เรียน
โดยให้อาจารย์ที่รับผิดชอบรายวิชาใด ให้ตรวจสมุดบันทึกกิจกรรมของผู้เรียนในรายวิชานั้นๆ ด้วย แล้วจึงให้
อาจารย์ที่ปรึกษาแต่ละคนรวมคะแนนของผู้เรียนที่รับผิดชอบ สาหรับแบบทดสอบ ให้อาจารย์ที่รับผิดชอบ
ออกขอ้ สอบรายวิชาใดเปน็ ผตู้ รวจรายวิชานน้ั ๆ ในสว่ นของสมดุ แฟม้ สะสมงานยังคงตรวจในรูปคณะกรรมการ
เพื่อใหเ้ กดิ ความถูกต้องและยุตธิ รรมสาหรับผู้เรียนทุกคน

17

ภำคผนวก

18

ไลน์กลุ่ม “ปฐมวัยรุ่นท่ี 23”

19

20

ผจู้ ดั ทา

ที่ปรกึ ษา ผูอ้ านวยการสถาบนั กศน. ภาคตะวันออก
นายวราวุธ พยัคฆพงษ์ หวั หนา้ กลุ่มงานพัฒนาการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต
นางกลุ ธดิ า รัตนโกศล

วเิ คราะห์ข้อมูลและเขียนรายงาน
นางสาวสุปรีดา แหลมหลัก

พิมพ์และรปู เลม่
นางสาวสุปรดี า แหลมหลัก
นางชนมณี เซี่ยงป๋อง
นางสาวอุบล นามงาม
นายทองดี บุญสม

กลมุ่ งานพัฒนาการเรียนรูต้ ลอดชีวิต

สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก


Click to View FlipBook Version