The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เป็นฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการเกี่ยวกับดาวเทียมสำรวจทรัพยากร การสำรวจข้อมูลระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบนำทางด้วยดาวเทียม วงโคจรดาวเทียมไทยโชต แผนที่แสดงชั้นความสูง ในการจุดประกายความคิดทางด้านวิทยาศาสตร์ให้กับผู้รับบริการ โดยผู้รับบริการสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันด้วยวิธีการทดลองกับสื่อการเรียนรู้จริง ทำให้ผู้รับบริการเห็นความสำคัญของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ

เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เป็นฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการเกี่ยวกับดาวเทียมสำรวจทรัพยากร การสำรวจข้อมูลระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบนำทางด้วยดาวเทียม วงโคจรดาวเทียมไทยโชต แผนที่แสดงชั้นความสูง ในการจุดประกายความคิดทางด้านวิทยาศาสตร์ให้กับผู้รับบริการ โดยผู้รับบริการสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันด้วยวิธีการทดลองกับสื่อการเรียนรู้จริง ทำให้ผู้รับบริการเห็นความสำคัญของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน

Keywords: เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ

เอกสารการเรียนรู้

อุทยานการเรียนรู้จังหวัดสระแก้ว
ฐานการเรียนรู้

เรือง เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ

ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื การศึกษาสระแก้ว

สาํ นักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธกิ าร


คำนำ

เอกสารการเรียนรู้อุทยานการเรียนรจู้ ังหวัดสระแก้วน้ี จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมผ่านนิทรรศการ ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ
การศึกษาสระแกว้ ฐานการเรียนรู้เทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ และข้นั ตอนการจดั กจิ กรรม พัฒนาข้ึน
โดยใช้รปู แบบการจัดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ กศน. (ONIE SCI ACTIVITY MODEL) ทเ่ี น้นการเรียนรู้อย่างมีส่วน
ร่วม ความรับผดิ ชอบ ความคิดสรา้ งสรรค์ และคำนึงถึงผรู้ บั บริการเปน็ สำคญั

คณะผู้จัดทำขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำเอกสารการเรียนรู้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
นอกจากประโยชน์ของผู้ปฏิบตั ิงานของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษาสระแก้วโดยตรงแล้ว จะเป็นประโยชน์
ต่อผู้ที่สนใจ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจการเรียนรู้โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมผ่าน
นิทรรศการได้เปน็ อย่างดี

(นายประพรรณ์ ขามโนนวดั )
ผอู้ ำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาสระแกว้

กรกฎาคม 2564



สารบญั

หน้า

คำนำ............................................................................................................................. ................................ก
สารบัญ............................................................................................................................. .............................ข
แนวคิด.............................................................................................. ............................................................. 1
วตั ถุประสงค์............................................................................................................................. ......................1
เน้ือหา...................................................................................................................................................... ......1
ข้นั ตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้..................................................................................................................1
สอ่ื วัสดอุ ุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้............................................................................................................2
นิทรรศการฐานการเรยี นรู.้ .............................................................................................................................3
การวัดและประเมินผล............................................................................................................................. .......17
ผจู้ ัดทำ............................................................................................................................................................18

หน้า |1

ฐานการเรยี นรู้
เรือ่ ง เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ

แนวคิด
เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เป็นฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการเกี่ยวกับดาวเทียมสำรวจ

ทรัพยากร การสำรวจข้อมูลระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบนำทางด้วยดาวเทียม วงโคจรดาวเทียม
ไทยโชต แผนที่แสดงชั้นความสูง และข้อมูลเกี่ยวกับจิสด้า (Gistda) ในการจุดประกายความคิดทางด้าน
วิทยาศาสตร์ให้กับผู้รับบริการ โดยผู้รับบริการสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันด้วยวิธีการทดลองกับสื่อการ
เรยี นรู้จริง ทำใหผ้ ู้รับบรกิ ารเห็นความสำคัญของการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรท์ ี่สอดคล้องกบั ชวี ิตประจำวัน

วตั ถุประสงค์ เมือ่ สิน้ สดุ แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้นู ี้แล้ว ผ้รู บั บรกิ ารสามารถ
แลกเปล่ียนเรียนรู้และทดลองเกี่ยวกับดาวเทียมสำรวจทรัพยากร การสำรวจข้อมูลระยะไกล ระบบ

สารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบนำทางด้วยดาวเทียม วงโคจรดาวเทียมไทยโชต แผนที่แสดงชั้นความสูง และข้อมูล
เก่ียวกับจสิ ด้า (Gistda)

เนอื้ หา
1. ดาวเทยี มสำรวจทรพั ยากร
2. การสำรวจขอ้ มลู ระยะไกล
3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
4. ระบบนำทางดว้ ยดาวเทยี ม
5. วงโคจรดาวเทยี มไทยโชต
6. แผนท่ีแสดงชัน้ ความสูง
7. ขอ้ มูลเก่ยี วกับจสิ ด้า (Gistda)
8. กิจกรรม/เกม (ชุดนทิ รรศการเคล่ือนที่)

ขั้นตอนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

ขั้นตอนท่ี 1 กจิ กรรมการเรียนรปู้ ระสบการณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ (S : Science Experience Activity)
1. ผู้จัดกิจกรรมทักทายผูเ้ ข้ารับบริการและแนะนำตนเองกับผู้รับบริการ และชี้แจงวัตถปุ ระสงค์

ของฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการ เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ซึ่งฐานการการเรียนรู้ผ่าน
นิทรรศการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับบริการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองเกี่ยวกับดาวเทียมสำรวจทรัพยากร
การสำรวจขอ้ มูลระยะไกล ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ ระบบนำทางด้วยดาวเทียม วงโคจรดาวเทยี มไทยโชต แผน
ท่ีแสดงชน้ั ความสงู และขอ้ มลู เกยี่ วกบั จสิ ด้า (Gistda)

หน้า |2

2. ผู้จดั กิจกรรมแจกเอกสารประกอบการชมนิทรรศการ
3. ผู้จัดกิจกรรมแนะนำรายละเอียดภาพรวมของเนื้อหาในฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการ เรื่อง
เทคโนโลยอี วกาศและภูมสิ ารสนเทศ ตามใบความรสู้ ำหรับผูจ้ ัดกิจกรรม “แนะนำรายละเอียดภาพรวมของเนื้อหา
ในฐานการเรียนรู้ผ่านนทิ รรศการ เรือ่ ง เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ”

ข้ันตอนท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรท์ ่ีทา้ ทาย (C : Challenge Learning Activity)
1.ผู้จัดกิจกรรมบรรยายให้ความรู้ และอธิบายวิธีการใช้เครื่องมือผ่านนิทรรศการ เรื่อง

ดาวเทียมสำรวจทรัพยากร การสำรวจข้อมูลระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบนำทางด้วยดาวเทียม
วงโคจรดาวเทียมไทยโชต แผนทแี่ สดงชั้นความสงู และข้อมูลเก่ียวกับจสิ ด้า (Gistda)

2. เปดิ โอกาสให้ผูร้ ับบริการพูดคยุ ซักถาม ทดลอง และแลกเปล่ยี นเรียนรู้ร่วมกนั
3. ผู้จดั กจิ กรรมและผูร้ ับบริการสรุปสิง่ ทเ่ี รียนร่วมกนั

ขั้นตอนที่ 3 กิจกรรมการสรุปผลการนำวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน (I : Implementation
Conclusion Activity)

1. ผู้จัดกิจกรรมสุมผู้รับบริการจำนวน 1-2 คน ที่สมัครใจ ให้ตอบคำถามในประเด็นที่ท่านได้รับรู้
อะไรบา้ งผ่านนทิ รรศการในฐานการเรียนรู้ เร่อื ง เทคโนโลยอี วกาศและภูมิสารสนเทศ และทา่ นคิดว่าจะนำความรู้
ทางวิทยาศาสตร์ท่ไี ดร้ ับ

2. ผู้จัดกจิ กรรมและผู้รับบริการสรุปส่งิ ท่เี รียนร่วมกนั
3. ผจู้ ดั กิจกรรมให้ผูร้ บั บรกิ ารประเมินความพงึ พอใจท่ีมีต่อฐานกจิ กรรมการเรียนร้ผู า่ นส่ือนทิ รรศการ
เรื่อง เทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ

สอ่ื วัสดอุ ุปกรณ์ และแหลง่ การเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการชมนิทรรศการ
2. ฐานการเรยี นรู้ เร่อื ง เทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ

หน้า |3

ฐานการเรียนรู้
เรือ่ ง เทคโนโลยอี วกาศและภมู ิสารสนเทศ

1. ชุดนิทรรศการดาวเทยี มสำรวจทรัพยากร

ดาวเทยี มสำรวจทรัพยากรดวงแรกของไทย
ดาวเทียมไทยโชต (Thaichote) หรือดาวเทียมธีออส (THEOS) เป็นดาวเทียมสำรวจทรัพยากรดวงแรก

ของไทย โดยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลฝรั่งเศส ดำเนินงานโดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยี
อวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทอภ. หรือ GISTDA) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับ บริษัท อี เอ ดี
เอส แอสเตรียม (EADS Astrium) ประเทศฝรั่งเศส ได้ทะยานขึ้นสู่อวกาศในวันพุธที่ 1 ตุลาคม 2551 โดยจรวด
นำส่ง “เนปเปอร์” (Dnepr) จากฐานส่งจรวดเมืองยาสนี (Yasny) ประเทศรัสเซีย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ พระราชทานชอ่ื ดาวเทยี มธีออส (THEOS) ว่า “ดาวเทยี มไทยโชต”

“ดาวเทียมไทยโชต” ชื่อภาษาอังกฤษว่า “Thaichote” ซึ่งแปลว่า ดาวเทียมที่ทำให้ประเทศไทยรุ่งเรือง
ดาวเทยี มไทยโชต ถูกออกแบบใหเ้ ป็นดาวเทียมขนาดเล็ก มีน้ำหนักประมาณ 750 กโิ ลกรมั วงโคจรสัมพันธ์กับดวง
อาทิตย์อยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 820 กิโลเมตร จะโคจรกลับมาที่จุดเดิมทุกๆ 26 วัน ทำงานโดยอาศัยแหล่ง
พลงั งานจากดวงอาทติ ย์ สามารถบันทึกภาพไดค้ รอบคลมุ พืน้ ทท่ี ่วั โลก มีอายกุ ารใชง้ านอยา่ งนอ้ ย 5 ปี

หน้า |4
ประโยชนข์ องดาวเทยี มไทยโชต

1. ภาพจากดาวเทียมสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งน้ำ และสามารถนำไปใช้ในการติดตามและประเมิน
ความเสียหายจากอทุ กภยั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

2. ใช้ในการสำรวจศึกษาหาพื้นที่ป่าไม้ หาพื้นที่ป่าถูกบุกรุกทำลาย ถูกไฟไหม้ การสำรวจหาพื้นที่สวนป่า
และหาชนดิ ปา่

3. ใชใ้ นการสำรวจหามลพิษจากคราบน้ำมันในทะเล หาแหล่งนำ้ หาพื้นที่ประสบภัยจากคล่นื ยกั ษ์สนึ ามิ
4. ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู การจัดทำแผนทภ่ี ูมิประเทศ แผนท่ีธรณีวิทยา ธรณสี ณั ฐานของประเทศไทย
5. ใช้ในการศึกษาหาพื้นที่เพาะปลูก การคาดการณ์ผลผลิต ประเมินความเสียหายจากภัยธรรมชาติและ
ศัตรพู ชื ตลอดจนการวางแผนกำหนดเขตเพาะปลกู พืชเศรษฐกิจ
6. ใช้ในการสำรวจศึกษาและติดตามการเปลย่ี นแปลงพ้นื ที่ป่าไมอ้ ย่างต่อเนอ่ื ง
7. ใช้ในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของชุมชน อีกทั้งสามารถเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิเคราะห์ เพ่ือ
วางแผนพัฒนาการวางผังเมอื ง และการพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐาน
8. ภาพถ่ายจากดาวเทียมไทยโชตสามารถนำมาขายเพอ่ื สรา้ งรายได้ให้แกป่ ระเทศไทย
2. ชุดนทิ รรศการการสำรวจขอ้ มูลระยะไกล (Remote Sensing : RS)

การสำรวจข้อมลู ระยะไกล Remote Sensing : RS
เป็นการสำรวจข้อมูลด้วยหลักการทำงานอาศัยการสะท้อนแสง หรือพลังงานคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า

ที่ตกกระทบกับวัตถหุ รือพื้นผิวโลก แล้วสะท้อนกลบั เขา้ สู่เครื่องรับสัญญาณ จะบันทึกพลังงานคล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้
ในช่วงคลื่นที่แตกต่างกัน ในเวลาเดียวกันเพื่อบ่งบอก จำแนกหรือวิเคราะห์ว่าวัตถุนั้นคืออะไร โดยปราศจากการ
สัมผสั วตั ถเุ ป้าหมาย

หน้า |5

การสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศหลาย
ด้าน ซง่ึ สามารถประยกุ ต์ใช้ในงานต่างๆ เชน่

1. การประยุกต์ใชก้ ับท่ีดนิ
- ใช้แปลรปู แบบการใชท้ ่ดี นิ ประเภทต่างๆ และนำผลลัพธท์ ไ่ี ดม้ าจดั ทำแผนที่การใชท้ ีด่ นิ
- ใช้สนับสนุน ติดตามและประเมินแนวโน้มการใช้ทีด่ ินประเภทต่างๆ เช่น ด้านการเกษตร พื้นท่ี

ปา่ ไม้ เป็นตน้
2. การเกษตร
- ภาพถ่ายจากดาวเทียมใช้สำรวจบริเวณพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น พื้นที่ปลูกข้าว ปาล์ม

น้ำมัน ยางพารา สัปปะรด ออ้ ย ขา้ วโพด ฯลฯ
- ผลลัพธ์จากการแปลภาพใช้ประเมินการเปลี่ยนแปลงการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในแง่ปริมาณ

ราคา ช่วงเวลา ฯลฯ
- ตดิ ตามขอบเขตและความอุดมสมบูรณข์ องพื้นท่ปี า่ และเขตอนุรักษ์พนั ธุ์ไม้
- ประเมินบริเวณพนื้ ที่ที่เหมาะสม (มีศักยภาพ) ในการปลูกพชื ต่าง ๆ เช่น ข้าว ปาล์มน้ำมัน

มนั สำปะหลงั ออ้ ย เปน็ ตน้
3. ปา่ ไม้
- ติดตามการเปลยี่ นแปลงพืน้ ทีป่ ่าไมจ้ ากการแปลภาพถา่ ยจากดาวเทียม เชน่ ป่าดงดิบ ปา่ ดิบชน้ื

ป่าเตง็ รงั ปา่ ชายเลน เป็นต้น
- ผลลัพธ์จากการแปลสภาพพื้นที่ป่า เพื่อสำรวจพื้นที่ป่าอุดมสมบูรณ์และป่าเสื่อมโทรม ใช้

สำหรบั ติดตามพนื้ ท่ไี ฟปา่ และความเสียหายจากไฟป่า
- ประเมินพื้นทท่ี ี่เหมาะสมสำหรับปลกู ปา่ ทดแทนบรเิ วณทีถ่ ูกบุกรุกหรอื โดนไฟปา่

4. ธรณวี ทิ ยา
- ใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียมแปลสภาพพน้ื ที่เพอ่ื จดั ทำแผนทธี่ รณีวทิ ยาและโครงสรา้ งทางธรณี

ซึ่งเป็นข้อมูลที่ต้องใช้เวลาและงบประมาณในการสำรวจ และนำมาสนับสนุนในการพัฒนาประเทศ เช่น เพื่อการ
ประเมนิ หาแหลง่ แร่ แหลง่ เช้อื เพลงิ ธรรมชาติ แหล่งนำ้ บาดาล การสรา้ งเข่อื น เป็นตน้

- สนบั สนนุ การจัดทำแผนที่ภมู ิประเทศ
5. การวางผังเมือง

- ภาพถ่ายจากดาวเทยี มรายละเอียดสูง เพือ่ ใช้ติดตามการขยายตัวของเมอื ง
- ภาพถ่ายจากดาวเทียมช่วยให้ตดิ ตาม การเปลยี่ นแปลงลกั ษณะ/รูปแบบ/ประเภทการใชท้ ่ีดิน
ใช้ภาพถ่ายรายละเอยี ดสูง ติดตามระบบสาธารณูปโภค เชน่ ระบบคมนาคมขนสง่ ทางบก ทางน้ำ เปน็ ตน้

หน้า |6
- ผลลัพธจ์ ากการแปลภาพถ่ายจากดาวเทยี มนำมาใช้ในระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์วเิ คราะห์การ
พัฒนาสาธารณูปการ เช่น การจัดสร้าง/ปรับปรุง สถานศึกษา โรงพยาบาล สถานีตำรวจ ดับเพลิง ไปรษณีย์
หอ้ งสมุด สนามเดก็ เลน่ สวนสาธารณะ เปน็ ต้น
6. สง่ิ แวดล้อม
- ใช้แปลสภาพทรัพยากรชายฝั่งที่เปลี่ยนแปลง เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาวิเคราะห์การจัดการ
ทรัพยากรชายฝั่ง เช่น การพังทลายของดินชายฝั่ง การทำลายป่าชายเลน การทำนากุ้ง การอนุรักษ์ปะการัง เป็น
ตน้
- ภาพถ่ายจากดาวเทียมในช่วงคลื่น visible ช่วยในการ ศึกษา/ติดตาม/ตรวจสอบความ
เปลย่ี นแปลงของคณุ ภาพน้ำ
- ผลลัพธ์จากการแปลภาพนำมาประกอบระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในการวิเคราะห์ความ
รุนแรงของปญั หาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมทางด้านนำ้ อากาศ เสียง ขยะ และสารพิษรีโมทเซนซงิ จึงชว่ ยสนบั สนนุ การ
วางแผนพัฒนาคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม
3. ชดุ นิทรรศการระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (Geographic Information System ; GIS)

ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ Geographic Information System ; GIS
เป็นระบบทางคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการนำเข้าจัดเก็บข้อมูลที่อ้างอิงตำแหน่งทางภูมิศาสตร์และสามารถ

วเิ คราะหข์ อ้ มูลซ่ึงจะแสดงออกมาในรูปของแผนทรี่ ูปภาพ และรายงานได้

หน้า |7

ลกั ษณะขอ้ มลู ในระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์
โลกมีความสลับซับซ้อนมากเกินกว่าที่จะเก็บข้อมูล ทั้ งหมดเกี่ยว กับโล กไว้ในรูปข้อมูล ด้วย ร ะบบ

คอมพิวเตอร์ จึงต้องเปลี่ยนปรากฏการณ์บน ผิวโลกจัดเก็บในรูปของตัวเลขเชิงรหัส (digital form) โดยแทน
ปรากฏการณเ์ หล่าน้นั ดว้ ยลักษณะทางภูมศิ าสตรท์ เี่ รียกวา่ Feature
ประเภทของ Feature

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นตัวแทนของปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์บนโลกแผนที่กระดาษบันทึก
ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์และแทนสิ่งต่างๆ บนโลกที่เป็นลายเส้นและพื้นที่ด้วยสัญลักษณ์แบบ จุด เส้น พื้นที่และ
ตัวอักษร ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จะใช้ feature ประเภทต่างๆ ในการแทนปรากฏการณ์โดยแบ่งออกเป็น
3 กลมุ่ ดังน้ี จดุ (Point) เส้น (Arc) พนื้ ท่ี (Polygon)

1. จุด (Point) ลกั ษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีตำแหน่งท่ีตง้ั เฉพาะเจาะจง หรอื มเี พียงอย่างเดียว สามารถแทน
ไดด้ ว้ ยจุด (Point Feature)

- หมุดหลักเขต
- บ่อน้ำ
- จุดชมววิ
- จดุ ความสูง
- อาคาร ตกึ สง่ิ กอ่ สรา้ ง
2. เส้น (Arc) ลักษณะทางภมู ิศาสตร์ท่ีวางตัวไปตามทางระหว่างจุด 2 จุด จะแทนดว้ ยเส้น (Arc Feature)
ตัวอยา่ งลกั ษณะทางภูมศิ าสตร์ท่เี ป็นเสน้
- ลำนำ้
- ถนน
- โครงข่ายสาธารณูปโภค
- เสน้ ชนั้ ความสูง
3. พื้นที่ (Polygon) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีพื้นที่เดียวกันจะถูกล้อมรอบด้วยเส้นเพื่อแสดงขอบเขต
ตัวอย่างข้อมูลทเี่ ปน็ พน้ื ท่ี
- เขตตำบล อำเภอ จังหวัด
- ขอบเขตอทุ ยานแหง่ ชาติ
- เขตนำ้ ท่วม

หน้า |8
4. ชดุ นิทรรศการระบบนำทางดว้ ยดาวเทยี ม (Global Navigation Satellite System : GNSS)

ระบบนำทางด้วยดาวเทียม Global Navigation Satellite System
เป็นระบบดาวเทียมที่ใช้ในการระบุตำแหน่ง หรือพิกัดบนผิวโลก โดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

เปน็ ตัวรบั สัญญาณคลื่นวทิ ยทุ ส่ี ่งมาจากดาวเทยี ม เพื่อคำนวณและแสดงพกิ ดั ตำแหนง่ ณ จดุ ที่ตวั รบั สญั ญาณต้ังอยู่
นอกจากข้อมูลตำแหนง่ แลว้ ยังรับข้อมูลเวลาท่ีมีความแมน่ ยำ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานด้านต่างๆ เช่น
การนำทาง การติดตาม

โดยมีระบบดาวเทียม GPS ที่เราคุ้นเคยเป็นส่วนหนึ่งในระบบดาวเทียม GNSS นี้ด้วยในปัจจุบนั
ไดม้ ีระบบดาวเทียมของประเทศอน่ื ๆทโ่ี คจรและใหบ้ ริการอย่เู ชน่ กัน ประกอบดว้ ย

1. GPS (Global Positioning System) ของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วยดาวเทียม 31 ดวง โคจรอยู่ใน
6 ระนาบ ท่รี ะดับความสูงประมาณ 20,200 กิโลเมตร

2. GLONASS ของสหพันธรัฐรัสเซีย ประกอบด้วยดาวเทียม 24 ดวงและสำรองอีก 2 ดวง โคจรอยู่ใน
3 ระนาบ ทรี่ ะดับความสูงประมาณ 19,100 กโิ ลเมตร

3. Galileo ของสหภาพยุโรป ประกอบด้วยดาวเทียม 24 ดวงและสำรองอีก 6 ดวง โดยโคจรอยู่ใน
3 ระนาบ ทร่ี ะดับความสูงประมาณ 23,000 กิโลเมตร

4. BeiDou หรือ BDS ของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยปัจจุบันกำลังขยายระบบดาวเทียมให้ครอบคลมุ
ท่วั โลกใหม้ ีจำนวนดาวเทยี ม 35 ดวงภายในปี 2020 โคจรท่ีระดับความสงู ประมาณ 21,100 กโิ ลเมตร

5. IRNSS (Regional navigation Satellite System) ของประเทศอินเดีย เป็นระบบดาวเทียมระดับ
ภูมิภาคซึ่งให้บริการเฉพาะประเทศอินเดียและพื้นที่ใกล้เคียงในระยะ 1,500 กิโลเมตร ประกอบด้วยดาวเทียม
7 ดวง

หน้า |9
6. Quasi-Zenith Satellite System (QZSS) ของประเทศญี่ปุ่น เป็นระบบดาวเทียมระดับภูมิภาค ท่ี
ครอบคลุมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและโอเชียเนยี (Oceania) ขณะนี้มีดาวเทียม 4 ดวงที่โคจรอยู่เหนือพื้นโลก
และมีแผนจะเพ่ิมเป็น 7 ดวงภายในปี 2024
5. วงโคจรดาวเทียมไทยโชต

ดาวเทียมไทยโชตเปน็ ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ การโคจรจะเคล่ือนท่ีไปในแนวดง่ิ จากเหนอื ไปใต้…
ถ้าทกุ ทา่ นทราบแล้วเรามาชว่ ยพาดาวเทยี มไทยโชต โคจรรอบโลกกันเลย
6. ชุดนทิ รรศการข้อมลู เกี่ยวกบั จสิ ด้า

GISTDA (จิสด้า) Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (Public
Organization) หรือ สำนักงานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน) สังกัด
กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ห น ้ า | 10
“นำคณุ คา่ จากอวกาศเพื่อพฒั นาประเทศชาติและสงั คม”
GISTDA เป็นหนว่ ยงานเดยี วในประเทศไทยทใ่ี ห้บรกิ ารขอ้ มูลจากดาวเทียมแบบครบวงจร
 มีสถานีควบคุมและรับสัญญาณดาวเทียมสำรวจโลกดวงแรกของประเทศไทย ณ อุทยานรังสรรค์
นวตั กรรมอวกาศ (SKP) อำเภอศรรี าชา จังหวัดชลบุรี
 มคี ลงั ขอ้ มลู จากดาวเทยี มท้งั รายละเอยี ดสงู ปานกลาง และต่ำ ซ่ึงบนั ทกึ ไวต้ ้งั แต่ปลายปี พ.ศ. 2524
 มกี ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู และผลิตเป็นแผนทเ่ี ฉพาะกจิ รวมท้ังจดั ทำขอ้ มลู ในลักษณะสารสนเทศภูมิศาสตร์
(GIS)
 มีศูนย์บริการขอ้ มูลซ่ึงทำหน้าที่จัดหาและให้บริการข้อมูลจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรแก่หน่วยงาน
ต่างๆท้ังภาครฐั และเอกชนภายในและภายนอกประเทศทว่ั โลก
 มกี ารจัดฝกึ อบรมสนบั สนุนทนุ วิจัย ดงู าน ประชุม สมั มนาท้งั ในระดบั ประเทศและนานาชาติ
7. ชดุ นิทรรศการแผนท่ีแสดงชน้ั ความสูง (Topography)

แผนทแี่ สดงชนั้ ความสงู (Topography Mapping)
เป็นการจำลองระดับความสงู ตำ่ ของภูมิประเทศแบบโต้ตอบกับผู้ใช้ โดยจะแสดงความตา่ งของระดบั ความ

สูงด้วยสีต่างกัน ซึ่งจะมีเส้นแสดงในแต่ละระดับความสูง โดยระยะห่างระหว่างเส้นจะแสดงถงึ ความสงู ชันของภูมิ
ประเทศ หากเส้นอยใู่ กล้ชิดกนั บง่ บอกถึงความชนั ในบริเวณพื้นที่นนั้ มมี าก
วิธีการเล่น

ทุกท่านสามารถปรับพ้ืนทใี่ ห้สงู - ตำ่ ได้ตามความต้องการ เช่น ขดุ ทรายเปน็ แม่นำ้ หรือทะเล ทำพ้ืนท่ีราบ
หรือก่อทรายเป็นภูเขาได้ตามจนิ ตนาการ

ห น ้ า | 11

กิจกรรม/เกม (ชุดนิทรรศการเคลื่อนที)่
เร่ือง เทคโนโลยีอวกาศและภมู สิ ารสนเทศ

1. ดวงตาท่แี ตกต่าง

วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ เข้าใจ และมีจินตนาการทางด้านการมองเห็นโดยเมือนการจำลอง

ตัวเองวา่ เปน็ ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรที่จะโคจรถ่ายภาพบนพน้ื โลก ซง่ึ ประกอบด้วยการมองเห็นเพ่ือแยกแยะส่ิง
ท่ีเหน็ บนภาพถา่ ยจากดาวเทยี ม เป็นสง่ิ ท่เี กิดข้ึนเองตามธรรมชาติ หรอื เป็นสิ่งทมี่ นุษยส์ ร้างขึ้น โดยใช้ภาพถา่ ยจาก
ดาวเทียมในการบ่งบอกถงึ ความแตกต่างของภาพถา่ ยจากดาวเทียม

อปุ กรณ์
1. ชุดเกมส์ 1 ชดุ
2. แผ่นแสดงภาพ จำนวน 40 ภาพ

วธิ ีการเล่น
1. วิทยากรระบุชื่อตำแหน่งหรือสถานที่ที่สำคัญ ได้แก่ สิ่งที่ธรรมชาติสร้างขึ้น และสิ่งที่มนุษย์

สร้างขน้ึ
2. ให้ผู้เล่นนำภาพถ่ายจากดาวเทียมที่มี จับคู่พร้อมนำไปวางตามลักษณะการเกิด ได้แก่ สิ่งท่ี

เกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ และสง่ิ ท่มี นษุ ย์สร้างข้ึน
3. วิทยากร เฉลยภาพถ่ายจากดาวเทียม จากการวิเคราะห์ตามลักษณะของสิ่งที่เกิดขึ้นเองตาม

ธรรมชาติ หรอื ส่งิ ท่ีมนุษย์สรา้ งข้ึน
4. ผู้เลน่ ไดท้ ราบถงึ ลกั ษณะภาพทแ่ี ตกตา่ งกนั ของภาพจากดาวเทียม

ห น ้ า | 12
ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั

ผู้เรียนเข้าใจและสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของภาพถ่ายจากดาวเทียม ตามลักษณะที่
เกิดขึ้นจริงทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งยังเป็นการฝึกสมาธิ และฝึกทักษะทาง
ประสาทดา้ นการสงั เกตและการจดจำ
2. รจู้ ักชนั้ ข้อมลู กับ GIS

วัตถุประสงค์
ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี น ไดเ้ รยี นรู้ และเข้าใจ ถึงลำดบั ชัน้ ของข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

(GIS) ผา่ นแบบจำลองลกั ษณะชัน้ ข้อมูล ซึ่งนำมาใช้ซอ้ นกัน
วธิ ีการเล่น
1. วิทยากรถา่ ยทอดองคค์ วามร้เู บื้องต้นเก่ยี วกบั ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) ไดแ้ ก่

องค์ประกอบของ GIS และลกั ษณะของช้นั ข้อมูลในงานด้าน GIS อีกทั้งความสำคัญของการซ้อนทบั ของชดุ จำลอง
ชน้ั ขอ้ มูล GIS จำนวน 3 ชน้ั ไดแ้ ก่

- ข้อมูลจดุ (Point) ได้แก่ บ้านเรอื น ท่ีตัง้ อาคาร ท่ีตงั้ สำนักงาน ทีต่ งั้ ศนู ย์บริการ
- เส้น (Line) ได้แก่ ถนน แม่นำ้ รางรถไฟ ทางด่วน
- พ้นื ทร่ี ูปปดิ (Polygon) ได้แก่ อ่างเก็บนำ้ หมูบ่ า้ น แปลงท่ีดิน พ้นื ท่ีป่าไม้ พน้ื ท่ขี อบเขตการ
ปกครอง
2. วทิ ยากรอธิบายถงึ การวางซอ้ นทับของชดุ จำลองชัน้ ข้อมูล GIS ทีถ่ ูกตอ้ ง
ประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ
ผ้เู รยี นเขา้ ใจถงึ ลำดบั ชั้นของข้อมูลในระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) ทถ่ี กู ตอ้ ง

ห น ้ า | 13

3. สำรวจโลกและอวกาศไปกบั ไทยโชต : Bingo Game

วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ เข้าใจ และจดจำ เรื่องของเทคโนโลยีการสำรวจจากระยะไกล

(Remote Sensing) การได้มาของภาพจากดาวเทียม รู้จักและเข้าใจในรูปแบบสถานที่ต่างๆ ทั้งในประเทศไทย
และต่างประเทศด้วยมุมมองภาพถ่ายจากดาวเทียม ลักษณะธรณีสัณฐาน ตลอดจนเข้าใจรูปร่างและคุณลักษณะ
ของดาวเทียมสำรวจทรัพยากร

อุปกรณ์
1. กระดานแผน่ ภาพถา่ ยดาวเทยี ม
2. ตัวแผ่นวางโลโก้ GISTDA
3. รูปภาพปริศนาจากภาพถ่ายจากดาวเทยี ม (วทิ ยากรสมุ่ เลอื ก)

วิธกี ารเลน่
1. แจกแผ่นกระดานเกมสบ์ งิ โกภาพถ่ายดาวเทยี ม ให้กลุ่มผเู้ ล่น กลุม่ ละ 1 แผน่
2. วิทยากรทำการจับสุ่มตวั ทายรูปภาพปริศนาจากภาพถ่ายจากดาวเทยี ม ขึน้ มาครง้ั ละ 1 แผน่
3. ผเู้ ล่นวางแผน่ โลโก้ GISTDA บนกระดานบิงโกที่ตรงกบั ภาพถา่ ยจากดาวเทยี มที่ถกู จับสุ่ม
4. เลน่ ซ้ำวนกันไปเร่อื ยๆ
5. กลุ่มที่สามารถวางแผ่นโลโก้ GISTDA ได้ตามแนวที่กำหนด เช่น แนวตั้ง แนวนอน แนวทแยง

ไดร้ วดเรว็ และถกู ตอ้ งทีส่ ดุ ถอื วา่ เปน็ “ผ้ชู นะ”

ห น ้ า | 14
รปู แบบการชนะเกมสบ์ ิงโก

แบง่ เกมส์/กลมุ่ ทช่ี นะจะตอ้ งวางแผน่ โลโก้ GISTDA ได้ตามรปู แบบใดรูปแบบหน่งึ ดังน้ี

ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั
ผู้เรยี น เขา้ ใจเรอื่ งของเทคโนโลยีการสำรวจจากระยะไกล (Remote Sensing) และทราบถึงการ

ได้มาของภาพถ่ายจากดาวเทียม รู้จักและเข้าใจในรูปแบบสถานที่ต่างๆทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ ด้วย
มุมมองภาพถ่ายจากดาวเทียม ลักษณะธรณีสัณฐาน ตลอดจนเข้าใจรูปร่างและคุณลักษณะของดาวเทียมสำรวจ
ทรพั ยากร อกี ทงั้ ยังเปน็ การฝกึ สมาธิ และฝกึ ทกั ษะทางประสาทด้านการมอง การฟงั และการจดจำ

ห น ้ า | 15

4. มหศั จรรย์สำรวจโลก

วตั ถุประสงค์
ส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ เข้าใจ ลักษณะของพื้นที่ต่างๆบนภาพถ่ายจากดาวเทียมในจังหวดั ท่ี

ศูนยเ์ รยี นรู้เทคโนโลยีอวกาศและภมู ิสารสนเทศต้ังอยู่ และไดเ้ รยี นรู้การวิเคราะหภ์ าพถ่ายจากดาวเทียม ตลอดจน
การแปลภาพดว้ ยสายตาเบอื้ งต้น

อุปกรณ์
1. ชุดแผ่นแสดงภาพถ่ายจากดาวเทียม LANDSAT-8 (บริเวณพื้นที่จังหวัดที่ศูนย์เรียนรู้

เทคโนโลยอี วกาศและภูมสิ ารสนเทศตัง้ อยู่)
1.1 แผ่นภาพแสดงคำถาม
1.2 แผ่นภาพเฉลยคำตอบ

2. ชุดกระดาษคำตอบ
วธิ ีการเล่น

1. วิทยากรจะเป็นผู้ตง้ั คำถามเก่ียวกับชื่อสถานทสี่ ำคัญต่างๆท่ีระบไุ ว้ตามหมายเลขบนแผ่นแสดง
ภาพถา่ ยจากดาวเทยี ม

2. แจกกระดาษคำตอบใหแ้ กผ่ ู้เรียน
3. ให้ผู้เรียนตอบคำถามในกระดาษคำตอบเป็นชอ่ื สถานที่ต่างๆ
4. วิทยากรเฉลย และอธิบายรายละเอียดของสถานที่บนแผ่นแสดงภาพข้อมูลภาพถ่ายจาก
ดาวเทียม และคุณลักษณะของดาวเทียมที่ถ่ายภาพตลอดจนสอดแทรกองค์ความรู้ของการแปลภาพถ่ายจาก
ดาวเทยี มโดยใช้สายตา

ห น ้ า | 16

ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั
ผู้เรียนเข้าใจ ลักษณะของสถานที่ หรือพื้นที่ต่างๆบนภาพถ่ายจากดาวเทียมในจังหวัดที่ศูนย์

เรียนรู้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศตั้งอยู่ และสามารถวิเคราะหภ์ าพถ่ายจากดาวเทียม ตลอดจนการแปล
ภาพด้วยสายตาในเบ้ืองตน้

ห น ้ า | 17

การวดั และประเมนิ ผล

1. สงั เกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ ม ความต้ังใจ ความสนใจของผู้รบั บรกิ าร
2. ผลการประเมินความพึงพอใจตามมาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั

ห น ้ า | 18

ผู้จดั ทำ

ท่ปี รกึ ษา ผู้อำนวยการศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาสระแก้ว
นายประพรรณ์ ขามโนนวดั
ครู
คณะผู้จดั ทำ ครผู ู้ชว่ ย
1. นายมนัสชัย โสคำภา นักวชิ าการศกึ ษา
2. นายศราวฒุ ิ ภมู าศ นกั วิชาการวิทยาศาสตร์ศึกษา
3. นายอำพร ทองอาจ นกั วิชาการวทิ ยาศาสตร์ศึกษา
4. นางสาวกนกวรรณ จิปิภพ นกั วิชาการวิทยาศาสตร์ศึกษา
5. นางสาวเดือนรตั น์ เฉลียวกิจ นกั วชิ าการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา
6. นางสาวเยาวลกั ษณ์ กลว้ ยนอ้ ย นักวชิ าการวิทยาศาสตร์ศึกษา
7. นางสาวสาวติ รี ไชยรัตน์
8. นางสาวสกุ ญั ญา ศรีภูมิ นกั วชิ าการวทิ ยาศาสตร์ศึกษา

ผู้รบั ผิดชอบฐานการเรยี นรู้ นักเทคโนโลยสี ารสนเทศ
นางสาวสกุ ญั ญา ศรีภมู ิ

ผ้อู อกแบบปก
นางสาวนชุ นาถ นงคพ์ รมมา


Click to View FlipBook Version