The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เทคโนโลยีอวกาศในชีวิตประจำวัน เป็นการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการเกี่ยวกับ เทคโนโลยี 3S ในชีวิตประจำวัน การประยุกต์ใช้ดาวเทียมกับทรัพยากรธรรมชาติ เครื่องตรวจวัดสภาพภูมิอากาศ และบทเรียนออนไลน์ ในการจุดประกายความคิดทางด้านวิทยาศาสตร์ให้กับผู้รับบริการ โดยผู้รับบริการสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันด้วยวิธีการทดลองกับสื่อการเรียนรู้จริง ทำให้ผู้รับบริการเห็นความสำคัญของการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เทคโนโลยีอวกาศในชีวิตประจำวัน

เทคโนโลยีอวกาศในชีวิตประจำวัน เป็นการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการเกี่ยวกับ เทคโนโลยี 3S ในชีวิตประจำวัน การประยุกต์ใช้ดาวเทียมกับทรัพยากรธรรมชาติ เครื่องตรวจวัดสภาพภูมิอากาศ และบทเรียนออนไลน์ ในการจุดประกายความคิดทางด้านวิทยาศาสตร์ให้กับผู้รับบริการ โดยผู้รับบริการสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันด้วยวิธีการทดลองกับสื่อการเรียนรู้จริง ทำให้ผู้รับบริการเห็นความสำคัญของการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน

Keywords: เทคโนโลยีอวกาศในชีวิตประจำวัน


คำนำ

เอกสารการเรียนรู้อุทยานการเรียนรู้จังหวัดสระแกว้ นี้ จดั ทำข้ึนเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมผ่านนิทรรศการ ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ
การศึกษาสระแก้ว ฐานการเรียนรู้เทคโนโลยีอวกาศในชีวิตประจำวัน และขั้นตอนการจัด พัฒนาขึ้นโดยใช้
รูปแบบการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ กศน. (ONIE SCI ACTIVITY MODEL) ที่เน้นการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม
ความรบั ผดิ ชอบ ความคิดสรา้ งสรรค์ และคำนงึ ถงึ ผู้รบั บรกิ ารเป็นสำคัญ

คณะผู้จัดทำขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำเอกสารการเรียนรู้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
นอกจากประโยชน์ของผู้ปฏิบตั งิ านของศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาสระแก้วโดยตรงแล้ว จะเป็นประโยชน์
ต่อผู้ที่สนใจ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจการเรียนรู้โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมผ่าน
นทิ รรศการได้เป็นอย่างดี

(นายประพรรณ์ ขามโนนวัด)
ผูอ้ ำนวยการศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาสระแกว้

พฤษภาคม 2564



สารบญั

หนา้

คำนำ......................................................................................................... ....................................................ก
สารบัญ............................................................................................................................. .............................ข
แนวคิด........................................................................................................................................................... 1
วตั ถปุ ระสงค์............................................................................................................................. ......................1
เนอ้ื หา............................................................................................................................... .............................1
ขนั้ ตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้..................................................................................................................2
สื่อ วัสดุอปุ กรณ์ และแหล่งการเรยี นรู้............................................................................................................2
นิทรรศการฐานการเรยี นรู้..............................................................................................................................3
การวดั และประเมินผล............................................................................................................................. ......11
ผจู้ ัดทำ...........................................................................................................................................................12

หน้า |1

ฐานการเรยี นรู้
เร่ือง เทคโนโลยอี วกาศในชวี ิตประจำวัน
แนวคิด

เทคโนโลยีอวกาศในชีวิตประจำวัน เป็นการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการเกี่ยวกับ เทคโนโลยี 3S ใน
ชีวิตประจำวัน การประยุกต์ใช้ดาวเทียมกับทรัพยากรธรรมชาติ เครื่องตรวจวัดสภาพภูมิอากาศ และบทเรียน
ออนไลน์ ในการจุดประกายความคิดทางด้านวิทยาศาสตร์ให้กับผู้รับบริการ โดยผู้รับบริการสามารถแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ร่วมกันด้วยวิธีการทดลองกับสื่อการเรียนรู้จริง ทำให้ผู้รับบริการเห็นความสำคัญของการเรียนรู้ด้าน
วทิ ยาศาสตรท์ ่ีสอดคลอ้ งกับชวี ิตประจำวนั

วัตถุประสงค์

แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองเกี่ยวกับเทคโนโลยี 3S ในชีวิตประจำวัน การประยุกต์ใช้ดาวเทียมกับ
ทรพั ยากรธรรมชาติ เครือ่ งตรวจวัดสภาพภมู ิอากาศ และบทเรียนออนไลน์

เนอ้ื หา

1. เทคโนโลยี 3S ในชีวติ ประจำวัน
1.1 เทคโนโลยี 3S ด้านการเกษตร Agricultural
1.2 เทคโนโลยี 3S ด้านภยั พิบตั ิ Disaster

2. การประยุกต์ใช้ดาวเทยี มกับทรัพยากรธรรมชาติ
2.1 ดา้ นบุกรกุ ปา่
2.2 ดา้ นมลพษิ ส่งิ แวดลอ้ ม
2.3 ด้านการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่
2.4 ด้านการจดั การทรพั ยากรน้ำ

3. เคร่อื งตรวจวดั สภาพภมู อิ ากาศ
3.1 การทำงานของเคร่ืองตรวจวดั สภาพภมู ิอากาศ
3.2 ทิศทางลม
3.3 ความเร็วลม
3.4 อณุ หภูมิ
3.5 ปริมาณฝนที่ตกภายใน 24 ชั่วโมง
3.6 ปริมาณฝนสะสม
3.7 ความกดอากาศ
3.8 การแผ่รงั สีดวงอาทิตย์
3.9 ระดับความเขม้ ของรังสี
3.10 การคายระเหย
3.11 ความช้ืนสัมพัทธ์

หน้า |2

4. บทเรยี นออนไลน์
4.1 พื้นฐานเกี่ยวกบั ดาวเทยี ม
4.2 เซ็นเซอร์
4.3 การประมวลข้อมลู ภาพถ่ายดาวเทยี ม
4.4 การใช้ประโยชน์

ขั้นตอนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

ขน้ั ตอนท่ี 1 กจิ กรรมการเรยี นรู้ประสบการณท์ างวทิ ยาศาสตร์ (S : Science Experience Activity)
1. ผู้จัดกิจกรรมทักทายและแนะนำตัวเองกับผู้รับบริการ และชี้แจงวัตถุประสงค์ของฐานการเรียนรู้ผ่าน
นิทรรศการ เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศในชีวิตประจำวัน ซึ่งฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้
ผู้รับบริการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองเกี่ยวกับเทคโนโลยี 3S ในชีวิตประจำวัน การประยุกต์ใช้ดาวเทียมกับ
ทรพั ยากรธรรมชาติ เครื่องตรวจวัดสภาพภมู ิอากาศ และบทเรยี นออนไลน์
2. ผ้จู ดั กจิ กรรมแจกเอกสารประกอบการชมนทิ รรศการ
3. ผู้จดั กิจกรรมแนะนำรายละเอยี ดภาพรวมของเนื้อหาในฐานการเรยี นรู้ผ่านนทิ รรศการ เร่ือง เทคโนโลยี
อวกาศในชีวิตประจำวัน ตามใบความรสู้ ำหรับผจู้ ัดกจิ กรรม เรือ่ ง “แนะนำรายละเอียดภาพรวมของเนื้อหาในฐาน
การเรยี นรู้ผา่ นนิทรรศการ เร่อื ง เทคโนโลยอี วกาศในชวี ิตประจำวัน”

ขนั้ ตอนท่ี 2 กิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรท์ ที่ ้าทาย (C : Challenge Learning Activity)
1. ผู้จดั กิจกรรมบรรยายใหค้ วามรู้ และอธิบายวิธีการใชเ้ ครื่องมือผ่านนิทรรศการ เรอื่ ง เทคโนโลยีอวกาศ
ในชีวติ ประจำวนั ตามใบความรู้สำหรบั ผจู้ ดั กจิ กรรม เรือ่ ง เทคโนโลยอี วกาศในชีวิตประจำวนั
2. เปิดโอกาสให้ผรู้ บั บรกิ ารพูดคุย ซักถาม ทดลอง และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้รว่ มกัน
3. ผจู้ ดั กจิ กรรมและผู้รับบรกิ ารสรปุ สง่ิ ที่ไดเ้ รยี นรรู้ ่วมกนั

ขั้นตอนที่ 3 กิจกรรมการสรุปผลการนำวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน (I : Implementation
Conclusion Activity)

1. ผู้จัดกจิ กรรมสุม่ ผรู้ ับบริการ จำนวน 1 - 2 คน ที่สมัครใจ ใหต้ อบคำถามในประเด็น “ทา่ นได้รับความรู้
อะไรบ้างผ่านนิทรรศการในฐานการเรียนรู้ เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศในชีวิตประจำวัน นี้” และ“ท่านคิดว่าจะนำ
ความร้ทู างวิทยาศาสตร์ทีไ่ ดร้ บั ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ของทา่ นไดอ้ ยา่ งไร”

2. ผู้จดั กจิ กรรมและผรู้ ับบริการสรปุ สิง่ ทไ่ี ด้เรียนรู้ร่วมกนั
3. ผู้จัดกิจกรรมให้ผู้รับบริการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการ
เรื่อง เทคโนโลยอี วกาศในชวี ิตประจำวนั

สื่อ วัสดุอุปกรณ์ และแหลง่ เรียนรู้

1. เอกสารประกอบการชมนิทรรศการ
2. ฐานการเรยี นรู้ เร่อื ง เทคโนโลยอี วกาศในชวี ิตประจำวัน

หน้า |3

ฐานการเรยี นรู้
เรอื่ ง เทคโนโลยีอวกาศในชวี ิตประจำวัน

1. เทคโนโลยี 3S ในชวี ติ ประจำวนั
เทคโนโลยี 3S ประกอบด้วยองค์ความรู้ ได้แก่ RS การรับรู้ระยะไกล (Remote Sensing) GNSS ระบบ

นำทางด้วยดาวเทียม (Global Navigation Satellite System) GIS (Geographical Information System)
ระบบภมู สิ ารสนเทศ

เทคโนโลยี 3S ด้านการเกษตร Agricultural ข้อมูลจากเทคโนโลยี 3S มีความสำคัญมากเกี่ยวกับด้าน
การเกษตร เนื่องจากข้อมูลจากดาวเทียมสามารถใช้เพื่อมาวิเคราะห์ วางแผนและประเมินผลผลิตที่จะเกิดขึ้นได้
ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลต่างๆ คือ ข้อมูลการคาดการณ์สภาพอากาศ ข้อมูลการประเมินผลผลิตของเกษตรกร ข้อมูล
ปริมาณน้ำ พื้นที่เพาะปลูกรายแปลง ข้อมูลการเกิดศัตรูพืช และข้อมูลราคาการซื้อขายสินค้าทางการเกษตรที่
เกี่ยวข้อง

เทคโนโลยี 3S ด้านภยั พบิ ตั ิ Disaster ขอ้ มูลภาพถ่ายดาวเทียมใช้ในการจัดทำแผนท่ีแสดงขอบเขตการใช้
ท่ีดนิ แต่ละประเภทการศึกษา และการเปล่ยี นแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ในรูปแบบต่างๆ คือ ดินถล่ม แผ่นดินไหว
ภัยแลง้ นำ้ ทว่ ม ไฟปา่ สนึ ามิ

หน้า |4

2. การประยกุ ตใ์ ชด้ าวเทยี มกบั ทรัพยากรธรรมชาติ

2.1 ดา้ นบุกรกุ ป่า
ป่าไม้ (Forest) หมายถึง บริเวณที่มีต้นไม้หลายชนิด ขนาดต่างๆขึ้นอยู่อย่างหนาแน่นและกว้างใหญ่
พอที่จะมีอิทธิพลตอ่ สิ่งแวดลอ้ มในบรเิ วณนัน้ เช่น ความเปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
และน้ำ มสี ตั วป์ ่าและสิ่งมีชีวติ อน่ื ซง่ึ มคี วามสัมพนั ธซ์ ่งึ กันและกัน

2.2 ดา้ นมลพษิ สิ่งแวดลอ้ ม
ติดตามมลพิษอากาศ สามารถใชด้ าวเทียมในการหาความลกึ เชิงแสงของฝุ่นละอองจากการวัดภาคพื้นดิน
เนื่องจากฝนุ่ ละอองมกี ารกระเจิงรังสดี วงอาทติ ย์ออกไปส่นู อกอวกาศ ดาวเทียมสามารถวดั การกระเจิงดงั กลา่ วได้

2.3 ด้านการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั
ในอดีตการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเลจะเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามกระบวนการเปลี่ยนแปลงตาม
ธรรมชาติ และจะปรับสภาพชายฝั่งให้เข้าอยู่ในสมดุลตลอดเวลา เรียกว่า สมดุลพลวิติ (Dynamic equilibrium)
การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเลเป็นปรากฎการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในรูปแบบของการกัดเซาะ ( Erosional
Coast) โดยมีสาเหตุมาจากปัจจัยแวดล้อมหลายประการทั้งสาเหตุจากธรรมชาติและสาเหตุจาการกระทำของ
มนุษย์ ซงึ่ มคี วามแตกต่างในแตล่ ะพน้ื ที่ สง่ ผลกระทบใหพ้ นื้ ท่ีบรเิ วณชายฝั่งมกี ารเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็

หน้า |5

2.4 ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำ
การจัดการทรัพยากรน้ำ หมายถึง การดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกันเกี่ยวกับ
ทรัพยากรในลุ่มน้ำ เพื่อจัดหาการจัดสรรน้ำและใช้ทรัพยากรน้ำ การอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ำรวมทั้งการแก้ไข
ปญั หาเกีย่ วกับทรพั ยากรนำ้
ทรัพยากรน้ำ หมายถึง แหล่งต้นตอของน้ำที่เป็นประโยชน์หรือมีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่
มนษุ ย์ ทรพั ยากรนำ้ มีความสำคัญเน่ืองจากน้ำเปน็ สิ่งจำเป็นต่อการดำรงชวี ิตของสิ่งมีชวี ติ มีการนำน้ำมาใช้ในด้าน
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม บ้านเรอื น นนั ทนาการและกจิ กรรมตา่ งๆรวมทงั้ ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม

3. เคร่ืองตรวจวดั สภาพภูมิอากาศ
3.1 การทำงานของเครอ่ื งตรวจวัดสภาพภมู ิอากาศ (Weather Station System-WSS)
เครอื่ งตรวจวัดสภาพภมู อิ ากาศ

รับสง่ ข้อมูลผ่านสญั ญาณวทิ ยุ

อปุ กรณ์แสดงผล

สง่ ขอ้ มูลไปยงั ระบบปนะมวลผล

ซอฟตแ์ วร์แสดงผล และวิเคราะห์ขอ้ มูล
3.2 แสดงทิศทางลม (Wind Direction)

เม่ือลมเคลือ่ นท่ีผ่านเครอื่ งตรวจวดั สภาพภูมอิ ากาศ สามารถแสดงทิศทางลมเปน็ องศาโดยเทียบจากทิศเหนอื

3.3 แสดงคา่ ความเรว็ ลม (Wind Speed) มีหนว่ ยเปน็ กิโลเมตรตอ่ ช่วั โมง (km/h)

- ลมสงบ คา่ ความเร็วลม 1 km/h

- ลมปานกลาง ค่าความเร็วลม 20-28 km/h

- ลมจดั ค่าความเรว็ ลม 39-49 km/h

- พายุ คา่ ความเรว็ ลม 89-102 km/h

หน้า |6

3.4 แสดงค่าอุณหภูมิ (Temperature) มีหนว่ ยเปน็ องศาเซลเซียส (°C)

- DEW (Dew Point temperature) แสดงค่าอุณหภูมจิ ุดนำ้ คา้ ง
- Out (Outside Temperature) แสดงคา่ อณุ หภูมขิ องอากาศภายนอก
- Chill (Wide Chill) แสดงคา่ ความเย็นทร่ี ่างกายรูส้ ึก เน่อื งมาจากผลของลม
- Heat (Heat Index) แสดงค่าความร้อนทรี่ า่ งกายรสู้ กึ เนื่องมาจากผลของความชน้ื
3.5 แสดงคา่ ปรมิ าณฝนท่ีตกภายใน 24 ชวั่ โมง (Current Rain) มหี น่วยเปน็ มลิ ลเิ มตร (mm)
- ฝนเล็กนอ้ ย ปรมิ าณฝน 0.1-10.0 mm
- ฝนปานกลาง ปริมาณฝน 10.1-35.0 mm
- ฝนหนกั ปรมิ าณฝน 35.1-90.0 mm
- ฝนตกหนัก ปรมิ าณฝน >90.1 mm
3.6 แสดงคา่ ปรมิ าณฝนสะสม (Total Rain) มหี นว่ ยเป็นมลิ ลิเมตร (mm)

- Month แสดงค่าปริมาณฝนสะสมรายเดือน
- Year แสดงคา่ ปริมาณฝนสะสมรายปี
3.7 แสดงค่าความกดอากาศ (Barometer) มีหนว่ ยเป็นมิลลเิ มตรปรอท (mmHg)
ความกดอากาศ คือ แรงทกี่ ระทำต่อพื้นผิวโลกอนั เนอ่ื งน้ำหนักของอากาศ ณ จดุ ใดจดุ หนึ่ง ตัง้ แต่
พน้ื ผิวโลกขึน้ ไปจนถึงเขตสูงสุดของบรรยากาศ

หน้า |7
3.8 แสดงคา่ การแผร่ ังสดี วงอาทติ ย์ (Solar Radiation) มหี นว่ ยเป็นเป็นวัตตต์ ่อตารางเมตร (W/m2)
เปน็ พลังงานทป่ี ลอ่ ยออกมาจากดวงอาทติ ย์ท่ตี กกระทบช้ันบรรยากาศมาถึงพ้ืนผิวโลก

3.9 แสดงค่าระดับความเข้มของรงั สี (UV Radiation Index) UV แสดงค่าระดับความเข้มของรังสี
อลั ตราไวโอเลตท่ีแผก่ ระจายจากดวงอาทติ ย์มายังโลก

- UV Index 1-2 ระดบั ความเขม้ ต่ำ
- UV Index 3-5 ระดับความเข้มปานกลาง
- UV Index 6-7 ระดับความเขม้ สงู
- UV Index 8 ขนึ้ ไป ระดับความเขม้ สงู มาก
3.10 แสดงคา่ การคายระเหย (Evapotranspiration) ET มหี น่วยเปน็ มิลลิเมตร (mm)

- Day แสดงคา่ การคายระเหยสะสมรายวนั
- Month แสดงค่าการคายระเหยสะสมรายเดอื น
- Year แสดงคา่ การคายระเหยสะสมรายปี
3.11 แสดงค่าความชน้ื สมั พัทธ์ (Humidity) มีหน่วยเปน็ เปอร์เซน็ ต์ (%)
- In (Inside Humidity ) แสดงค่าความชืน้ สมั พัทธข์ องอากาศบริเวณพืน้ ที่ติดต้ังเคร่ืองรับขอ้ มูล
- Out (Out Humidity) แสดงคา่ ความชน้ื สัมพทั ธ์ของอากาศบริเวณ
พ้ืนที่ติดต้ังเคร่ืองตรวจวัดอากาศ

หน้า |8

4. บทเรยี นออนไลน์ โดยแบง่ ตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ดงั นี้

4.1 พื้นฐานเกีย่ วกับดาวเทียม
เมฆ การรับรู้ระยะไกล การจัดทำแผนที่ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมกับชีวิตประจำวัน ดาวเทียม
สำรวจโลก การพยากรณอ์ ากาศจากภาพถา่ ยดาวเทียม

4.2 เซน็ เซอร์
ภาพถ่าย ภาพถ่ายมัลติสเปกตรัม การรับรู้แสงผ่านอินฟาเรด ภาพถ่ายไฮเฟอร์สเปกตรัม การรับรู้
ระยะไกลด้วยคลื่นไมโครเวฟ VIIRS

4.3 การประมวลขอ้ มลู ภาพถา่ ยดาวเทียม
การใช้งานข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม FY-2E การใช้ภาพถ่ายดาวเทียม HJ-1A การแยกแยะวัตถุจาก
ภาพถา่ ยดาวเทยี ม ประมวลผล FY-2E การประมวลผลภาพของดาวเทียม HJ-1A

4.4 การใช้ประโยชน์
การประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียมร่วมกับระบบภูมิสารสนเทศ การประยุกต์ใช้งานข้อมูลดาวเทียมด้าน
ภัยพิบัติ การประยุกต์ใช้งานด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียมด้าน
การเกษตร

หน้า |9
ระบบการเรยี นรู้เทคโนโลยอี วกาศแบบออนไลน์ ผา่ นกจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปนี้

1. เรยี นรู้ (Learn) มาเรม่ิ เรยี นรู้กนั ดีกว่า ว่าเราใช้ประโยชน์จากดาวเทียมกันอย่างไร (การแยกแยะวัตถุ
จากภาพถ่ายดาวเทยี ม การวเิ คราะห์เมฆ)

2. เล่น (Interact) ลองมาวัดความสามารถกนั ดูสิ (เกมการแยกแยะวัตถุจากภาพถ่ายดาวเทียม เกมการ
วเิ คราะหเ์ มฆ)

3. ฝกึ ฝน (Practice) มาลองฝึกฝนเพอ่ื แยกแยะวัตถุจากภาพถ่ายดาวเทียมรปู แบบตา่ งๆ

ห น ้ า | 10

4. ใช้งาน (Apply) ตัวอย่างการนำโดรนไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ (สำรวจช้างป่า จ.ประจวบคีรีขันธ์
พื้นท่ีการเกษตรภาคตะวนั ออก สำรวจพน้ื ทีช่ ายฝั่ง จ.เพชรบรุ ี ติดตามสถานการณไ์ ฟปา่ ห้วยขาแข้ง)

ห น ้ า | 11

การวดั และประเมนิ ผล

1. สงั เกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ ม ความต้ังใจ ความสนใจของผู้รบั บรกิ าร
2. ผลการประเมินความพึงพอใจตามมาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั

ห น ้ า | 12

ผู้จดั ทำ

ท่ปี รกึ ษา ผู้อำนวยการศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาสระแก้ว
นายประพรรณ์ ขามโนนวดั
ครู
คณะผู้จดั ทำ ครผู ู้ชว่ ย
1. นายมนสั ชัย โสคำภา นักวชิ าการศกึ ษา
2. นายศราวุฒิ ภมู าศ นกั วิชาการวิทยาศาสตร์ศึกษา
3. นายอำพร ทองอาจ นกั วิชาการวทิ ยาศาสตร์ศึกษา
4. นางสาวกนกวรรณ จิปิภพ นกั วิชาการวิทยาศาสตร์ศึกษา
5. นางสาวเดือนรตั น์ เฉลียวกิจ นกั วชิ าการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา
6. นางสาวเยาวลกั ษณ์ กลว้ ยนอ้ ย นักวชิ าการวิทยาศาสตร์ศึกษา
7. นางสาวสาวติ รี ไชยรัตน์
8. นางสาวสุกญั ญา ศรีภูมิ นกั วชิ าการวทิ ยาศาสตร์ศึกษา

ผู้รบั ผิดชอบฐานการเรยี นรู้ นักเทคโนโลยสี ารสนเทศ
นางสาวสุกัญญา ศรภี มู ิ

ผ้อู อกแบบปก
นางสาวนชุ นาถ นงคพ์ รมมา


Click to View FlipBook Version