The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เรื่องวันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ความรู้เรื่องวันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา

ความรู้เรื่องวันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา

Keywords: อีบุ๊ค



เน้ือหา

วนั อาสาฬหบชู า.................................................................................................................................................1
เหตุการณ์สาคัญที่เกดิ ในวันอาสาฬหบชู าในพระพุทธประวตั ิ หลงั จากไดต้ รัสร้เู ป็นพระสมั มาสัมพุทธเจ้าในวันข้ึน ๑๕ ค่า เดอื น
๖ ณ ตา่ บลอรุ เุ วลาเสนานคิ มแล้ว พระองค์ได้ประทับเสวยวิมตุ ตสิ ขุ อยู่บริเวณสตั ตมหาสถานโดยรอบตน้ พระศรมี หาโพธเิ์ ป็นเวลาถึง
7 สัปดาห์ และในขณะทรงนงั ประทบั เสวยวิมตุ ติสุขในสัปดาห์ที 5 หลังการตรัสรู้ ภายใตต้ น้ อชปาลนโิ ครธ ใกลฝ้ ง่ั แม่น่้าเนรัญชรา
ไดท้ รงมานังคา่ นึงวา่ สิงทีพระองคต์ รสั รู้น้นั เปน็ ของลกึ ซ้ึง คนจะรู้และเข้าใจตามไดย้ าก ตามความในมชั ฌมิ นิกาย มัชฌิมปณั ณาสก์
ว่า....................................................................................................................................................................3

พรหมอาราธนา...........................................................................................................................................3
หาผรู้ ับปฐมเทศนา .....................................................................................................................................4
เสด็จสู่พาราณสี-โปรดปญั จวคั คีย์..................................................................................................................4
ประกาศพระสจั ธรรม-แสดงปฐมเทศนา ..........................................................................................................5
สถานทีส่ าคญั เนอื่ งดว้ ยวนั อาสาฬหบชู า .............................................................................................................6
สารนาถหลงั พทุ ธกาล..................................................................................................................................7
จดุ แสวงบุญและสภาพของสารนาถในปจั จุบนั .................................................................................................8
จุดท่ีเกดิ เหตกุ ารณ์สาคัญในวันอาสาฬหบูชา (ธรรมเมกขสถูป) ...........................................................................9
หลกั ธรรมในวนั อาสาฬหบชู า..........................................................................................................................10
สิ่งท่ีไมค่ วรเสพสองอยา่ ง............................................................................................................................10
มัชฌิมาปฏปิ ทา (ทางสายกลาง) .................................................................................................................11
อรยิ สัจสี่ .................................................................................................................................................11
วนั อาสาฬหบูชาในปฏิทินสรุ ยิ คติไทย ...........................................................................................................12
พระราชพิธี .............................................................................................................................................13
พิธสี ามญั ................................................................................................................................................13
การจดั เฉลิมฉลองอาสาฬหบูชาในต่างประเทศ...............................................................................................14
วันเข้าพรรษา ..................................................................................................................................................15
วนั เข้าพรรษา ..............................................................................................................................................15
มลู เหตทุ ่พี ระพุทธเจา้ อนญุ าตการจาพรรษาแกพ่ ระสงฆ์...................................................................................16
ขอ้ ยกเวน้ การจาพรรษาของพระสงฆ์ ...........................................................................................................17



อานิสงส์การจาพรรษาของพระสงฆ์ทีจ่ าครบพรรษา .......................................................................................18
การถือปฏบิ ตั กิ ารเขา้ พรรษาของพระสงฆไ์ ทยในปจั จบุ นั ..................................................................................18
ประเพณีเนอื่ งดว้ ยการเขา้ พรรษาในประเทศไทย................................................................................................20
ประเพณีถวายผา้ อาบนาฝน (กอ่ นเข้าพรรษา)...............................................................................................21
พระศาสดาทรงอนุญาตพร ๘ ประการคือ ....................................................................................................22
พระราชพธิ ี .............................................................................................................................................23
วันเขา้ พรรษาในประเทศอ่ืน ๆ ....................................................................................................................24

1

วนั อาสาฬหบูชา (บาลี: อาสาฬหปชู า; อักษรโรมนั : Āsāḷha Pūjā) เป็นวันส่าคัญทางศาสนาพุทธนกิ าย

เถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย ค่าว่า อาสาฬหบชู า ย่อมาจาก "อาสาฬหปูรณมีบชู า" แปลว่า "การ
บชู าในวันเพญ็ เดือนอาสาฬหะ" อนั เป็นเดือนทสี ตี ามปฏทิ นิ ของประเทศอนิ เดีย ตรงกบั วันเพ็ญ เดอื น ๘ ตาม
ปฏิทนิ จันทรคติของไทย ซึงมักจะตรงกับเดือนกรกฎาคมหรอื เดือนสงิ หาคม แต่ถา้ ในปีใดมเี ดอื น ๘ สองหนก็ให้
เลือนไปในวันเพญ็ เดือน ๘ หลังแทน

วันอาสาฬหบูชาไดร้ บั การยกย่องเปน็ วันสา่ คญั ทางพระพุทธศาสนาเนืองจากเหตุการณ์ส่าคญั ทเี กดิ ขึ้น
เมอื ๔๕ ปี กอ่ นพุทธศักราช ในวนั ข้ึน ๑๕ คา่ เดือน ๘ คือวันอาสาฬหปรุ ณมดี ถิ ี หรือวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ณ
ป่าอิสปิ ตนมฤคทายวนั เมืองพาราณสี แคว้นกาสี อนั เปน็ วันทพี ระพุทธเจา้ ทรงแสดงปฐมเทศนาคือ ธัมมจักกปั ปวัต
ตนสตู รแกป่ ัญจวคั คยี ์ การแสดงธรรมครงั้ นนั้ ทา่ ให้พราหมณโ์ กณฑัญญะ ๑ ในปญั จวคั คีย์ ประกอบด้วย โกณ
ฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอสั สชิ เกดิ ความเลือมใสในพระธรรมของพระพทุ ธเจ้า จนไดด้ วงตาเห็น
ธรรมหรอื บรรลุเป็นพระอรยิ บุคคลระดับโสดาบัน ท่านจึงขออุปสมบทในพระธรรมวินยั ของพระพทุ ธเจ้า ดว้ ยวธิ ี
เอหิภิกขุอุปสัมปทา พระอัญญาโกณฑัญญะจึงกลายเปน็ พระสาวกและภกิ ษุองคแ์ รกในโลก และทา่ ให้ในวนั น้นั มี
พระรัตนตรยั ครบองคส์ ามบริบูรณ์เปน็ ครง้ั แรกในโลก คือ มที ัง้ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม และพระสงฆ์ ดว้ ยเหตนุ ีจ้ ึง
ท่าใหว้ ันนีถ้ ูกเรยี กวา่ "วันพระธรรม" หรอื วันพระธรรมจักร อันไดแ้ กว่ ันทีลอ้ แห่งพระธรรมของพระพุทธเจา้ ได้หมนุ
ไปเปน็ ครัง้ แรก และ "วนั พระสงฆ์" คือวันทมี ีพระสงฆ์เกิดขึ้นเป็นครั้ง
แรกและจดั วา่ เปน็ “วันพระรัตนรัยอกี ดว้ ย”

2

เดมิ นั้นไม่มกี ารประกอบพธิ ีการบูชาในเดือน ๘ หรือวนั อาสาฬหบูชาในประเทศพุทธเถรวาทมาก่อน จน
มาในปี พ.ศ. ๑๕๐๑ การบูชาในเดอื น ๘ หรอื วันอาสาฬหบูชาจงึ ไดเ้ รมิ มีข้ึนในประเทศไทย ตามทคี ณะสงั ฆมนตรี
ได้ก่าหนดให้วันนี้เปน็ วนั สา่ คญั ทางพระพุทธศาสนาของประเทศไทยอยา่ งเป็นทางการเมือ พ.ศ. ๒๕๐๑โดย
คณะสงั ฆมนตรีได้มีมติใหเ้ พิมวันอาสาฬหบูชาเปน็ วันส่าคัญทางศาสนาพุทธในประเทศไทย ตามค่าแนะนา่ ของ
พระธรรมโกศาจารย์ (ชอบ อนุจาร)ี โดยคณะสังฆมนตรีได้ออกเปน็ ประกาศสา่ นักสังฆนายกเมือวนั ที ๑๔กรกฎาคม
พ.ศ.๒๕๐๑ก่าหนดใหว้ นั อาสาฬหบูชาเปน็ วันส่าคัญทางพทุ ธศาสนาพรอ้ มทั้งก่าหนดพิธีอาสาฬหบชู าขน้ึ อย่างเปน็
ทางการเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยมีพิธปี ฏิบัติเทยี บเท่ากบั วนั วิสาขบูชาอันเปน็ วันส่าคญั ทางพระพุทธศาสนา
สากล อยา่ งไรก็ตาม วนั อาสาฬหบชู าถือเปน็ วันสา่ คัญทีกา่ หนดให้กับวันหยุดของรัฐเพยี งแตใ่ นประเทศไทยเท่านัน้
สว่ นในตา่ งประเทศทนี ับถือพุทธศาสนานกิ ายเถรวาทอืน ๆ ยงั ไม่ไดใ้ ห้ความส่าคัญกบั วันอาสาฬหบูชาเทียบเทา่ กบั
วันวิสาขบชู า

ความสาคญั

วนั อาสาฬหบูชา หรอื วันขน้ึ ๑๕ ค่า เดอื น ๘ เป็นวนั ทพี ระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมทีตรัสรูเ้ ปน็ ครัง้
แรก จงึ ถือไดว้ ่าวันน้เี ปน็ วนั เริมตน้ ประกาศพระพุทธศาสนาแก่ชาวโลก และดว้ ยการทีพระพุทธเจ้าทรงสามารถ
แสดง เปดิ เผย ทา่ ใหแ้ จ้ง แกช่ าวโลก ซงึ พระธรรมทีตรัสรู้ได้ จึงถือไดว้ า่ พระองค์ได้ทรงกลายเปน็ สมเด็จพระบรม
ศาสดาสัมมาสัมมาพุทธเจ้าโดยสมบูรณ์คือทรงส่าเรจ็ ภารกิจแห่งการเปน็ พระพุทธเจ้าผู้เป็น "สัมมาสมั พทุ ธะ" คือ
เปน็ พระพุทธเจ้าผสู้ ามารถแสดงสงิ ทีตรัสรู้ใหผ้ ้อู ืนรูต้ ามได้ ซงึ แตกต่างจาก "พระปจั เจกพุทธเจ้า" ทีแมจ้ ะตรสั รูเ้ อง
ไดโ้ ดยชอบ แตท่ ว่าไม่สามารถสอนหรือเปดิ เผยให้ผู้อนื รู้ตามได้ ดว้ ยเหตนุ ีว้ นั อาสาฬหบูชาจึงมีชือเรยี กว่า"วันพระ
ธรรม"

วนั อาสาฬหบูชา เป็นวนั ทีท่านโกณฑัญญะไดบ้ รรลุธรรมสา่ เร็จพระโสดาบนั เปน็ พระอริยบุคคลคนแรก
และไดร้ บั ประทานเอหิภกิ ขุอุปสมบทเป็นภิกษุองค์แรกในพระศาสนา และด้วยการทีท่านเปน็ พระอรยิ สงฆ์องค์แรก
ในโลกดงั กล่าว พระรัตนตรยั จึงครบองคส์ ามบรบิ ูรณ์เปน็ ครงั้ แรกในโลก ด้วยเหตุนีว้ ันอาสาฬหบูชาจึงมีชือเรียกวา่
"วนั พระสงฆ์" ดังนน้ั วันอาสาฬหบูชาจงึ ถกู จัดขนึ้ เพอื เปน็ การระลกึ ถึงวนั คล้ายวนั ทีเกดิ เหตุการณส์ ่าคัญของ
พระพทุ ธศาสนาดังกล่าว ซงึ ควรพิจารณาเหตผุ ลโดยสรปุ จากประกาศส่านกั สังฆนายกเรืองกา่ หนดพิธีอาสาฬหบชู า
ทีไดส้ รปุ เหตกุ ารณ์สา่ คัญทเี กิดขนึ้ ในวนั อาสาฬหบูชาไวโ้ ดยยอ่ ดังน้ี

๑.เปน็ วนั แรกทีพระโคตมพทุ ธเจา้ ทรงประกาศศาสนาพุทธ

๒.เป็นวันแรกทพี ระบรมศาสดาทรงแสดงพระธรรมจักร ประกาศสจั ธรรม อนั เปน็ องค์แหง่ พระสัมมสัมโพธิ
ญาณ

๓.เป็นวนั ทพี ระอริยสงฆส์ าวกองคแ์ รกบังเกดิ ข้นึ ในโลก คือ พระอัญญาโกณฑญั ญะ ได้รบั ประทาน
เอหภิ กิ ขุอปุ สมั ปทาในวันนนั้

๔.เปน็ วันแรกทีบังเกิดสังฆรตั นะ สมบรู ณเ์ ป็นพระรัตนตรัย คือ พระพุทธรตั นะ พระธรรมรัตนะ พระสังฆ
รตั นะ

3

เห ตุ ก า ร ณ์ ส า คั ญ ที่ เกิ ด ใน วั น อ า ส า ฬ ห บู ช า ใน พ ร ะ พุ ท ธ ป ร ะ วั ติ

หลังจากได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๖ ณ ต่าบลอุรุเวลาเสนานิคมแล้ว พระองค์ได้
ประทับเสวยวิมุตติสุขอยู่บริเวณสัตตมหาสถานโดยรอบต้นพระศรีมหาโพธิ์เป็นเวลาถึง 7 สัปดาห์ และในขณะทรง
นงั ประทับเสวยวมิ ตุ ตสิ ขุ ในสัปดาห์ที 5 หลงั การตรสั รู้ ภายใตต้ ้นอชปาลนโิ ครธ ใกล้ฝ่ังแมน่ ่า้ เนรัญชรา ไดท้ รงมานัง
ค่านึงว่าสิงทีพระองค์ตรัสรู้นั้นเป็นของลึกซ้ึง คนจะรู้และเข้าใจตามได้ยาก ตามความในมัชฌิมนิกาย มัชฌิม
ปัณณาสกว์ า่

... บัดนี้ ไมส่ มควรทีเราจะประกาศธรรมทเี ราตรัสรู้ เพราะธรรมทเี ราตรสั รนู้ น้ั เปน็ สงิ ทคี นทัวไป ทถี ูกราคะ
โทสะครอบงา่ อยู่จะไม่สามารถมองเหน็ ไดโ้ ดยงา่ ย, คนทถี ูกราคะย้อมไว้ ถกู กองมืด (คืออวชิ ชา) หุ้มไว้มดิ ทงั้ หลาย
ยอ่ มไมส่ ามารถทจี ะเข้าใจธรรมะของเราทเี ปน็ สงิ ทวนกระแส (อวิชชา) ทมี ีสภาพลกึ ซ้ึง ละเอียดเช่นนี้ไดเ้ ลย...

– มชั ฌมิ นกิ าย มชั ฌิมปัณณาสก์ ทรงท้อพระทัยในการแสดงธรรม

พรหมอาราธนา

ตามความในคัมภรี ม์ ัชฌิมนิกาย เมือพระพุทธองคด์ า่ ริจะไม่แสดงธรรมเช่นน้ี ปรากฏวา่ ท้าวสหมั บดีพรหม
ไดท้ ราบความดงั กล่าวจงึ คิดวา่ "โลกจะฉิบหายละหนอ เพราะจติ ของพระตถาคตอรหนั ตสัมมาสมั พุทธเจ้านอ้ มไป
เพอื ความเป็นผูม้ ีความขวนขวายน้อย ไมน่ ้อมไปเพอื แสดงธรรม" ท้าวสหมั บดพี รหม จึงเสดจ็ ลงจากพรหมโลกเพือ
มาอาราธนาให้พระพทุ ธองค์ทรงตัดสินใจทีจะทรงแสดงพระธรรมทีตรัสรแู้ กค่ นทง้ั หลาย โดยทา้ วสหมั บดีพรหมได้
กล่าววา่ "ขา้ แตพ่ ระองค์ผ้เู จรญิ ขอพระผมู้ ีพระภาคจงทรงแสดงธรรมแกข่ ้าพระองค์เถิด ขอพระสุคตจงทรงแสดง
ธรรมเถิด สตั วท์ ้งั หลาย ผมู้ กี เิ ลสดุจธุลีในจกั ษุนอ้ ยมีอยู่ ยอ่ มจะเสือมเพราะไม่ได้ฟังธรรม สัตวท์ ั้งหลายผรู้ ทู้ วั ถึง
ธรรมจักยังมีอยู่" จากนน้ั ท้าวสหมั บดีพรหม ได้กล่าวอาราธนาเปน็ นพิ นธค์ าถาอีก ใจความโดยสรุปว่า

... ขณะน้ี ธรรมะทีไม่บริสุทธไิ์ ด้เกิดขึ้นในแคว้นมคธมาเนินนาน. ขอให้พระองค์เปิดประตูนิพพานอันไม่
ตาย เพือสัตว์ท้ังหลายจักได้ฟังธรรมและตรัสรู้ตามเถิด, คนยืนบนยอดเขา ย่อมเห็นได้โดยรอบฉันใด. ข้าแต่
พระองค์ พระองค์ย่อมเห็น! พระองค์เห็นเหล่าสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทจี มอยู่ในความทกุ ข์โศกทั้งปวง ถูกความเกดิ แก่
เจ็บตายครอบง่าอยู่ไหม!. ลุกขึ้นเถิดพระองค์ผู้กล้า! พระองค์ผู้ชนะสงคราม (คือกิเลส) แล้ว!... ขอพระองค์เสด็จ
จารกิ ไปในโลกเถดิ , ขอพระองคจ์ งทรงแสดงธรรมเถดิ สัตว์ทีจะรู้ทัวถึงธรรมของพระองค์ มีอยูแ่ น่นอน!

– มั ช ฌิ ม นิ ก า ย มั ช ฌิ ม ปั ณ ณ า ส ก์ ค า ถ า พ ร ห ม อ า ร า ธ น า

บุคคลเปรียบบวั สามเหลา่ -ตดั สินใจแสดงธรรม

หลังจากพระพุทธองค์ทรงพิจารณาตามค่าเช้ือเชิญของสหัมบดีพรหมทีเชิญให้พระองค์แสดงธรรม พระ
พุทธองค์จึงทรงพิจารณาตรวจสัตว์โลกดว้ ยพุทธจกั ษุ และทรงเห็นว่า สัตว์โลกทียังสอนได้มีอยู่ เปรียบด้วยดอกบัว
๓ จา่ พวก พวกทจี ักสอนให้รูต้ ามพระองค์ไดง้ ่ายก็มี พวกทสี อนได้ยากก็มี ฯลฯ ดังความตอ่ ไปน้ี

... ครั้นอาตมภาพทราบว่าท้าวสหัมบดีพรหมอาราธนา และอาศัยความกรุณาในสัตว์ท้ังหลาย จึงตรวจดู
โลกด้วยพุทธจักษุ. เมืออาตมภาพตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ ก็ได้เห็นหมู่สัตว์ซงึ มีกิเลสดุจธุลีในจักษุน้อยก็มี มีกิเลส
ดุจธุลีในจักษุมากก็มี มีอินทรีย์แก่กล้าก็มี มีอินทรีย์อ่อนก็มี มีอาการดีก็มี มีอาการเลวก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ง่ายก็มี

4

จะพึงสอนให้รู้ได้ยากก็มี บางพวกมีปกติเห็นโทษในปรโลกโดยเป็นภัยอยู่ก็มี เปรียบเหมือนในกอบัวขาบ ในกอบัว
หลวง หรอื ในกอบัวขาว ดอกบวั ขาบ ดอกบัวหลวง หรอื ดอกบัวขาว ซึงเกดิ ในน้่า เจริญในน่า้ บางเหล่ายังไม่พน้ น้่า
จมอยู่ในน้่า น้่าหล่อเลี้ยงไว้ บางเหล่า ตั้งอยู่เสมอน้่า บางเหล่า ต้ังขึ้นพ้นน่า้ น้่าไม่ติด ฉันใด ดูกรราชกุมาร เมืออา
ตมภาพตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ ก็ฉันนั้น ไดเ้ ห็นหมู่สัตว์ซึงมกี ิเลสดุจธุลีในจักษนุ ้อยก็มี มีกิเลสดุจธุลีในจักษมุ ากก็
มี มีอินทรีย์แก่กล้าก็มี มีอินทรีย์อ่อนก็มี มีอาการดีก็มี มีอาการเลวก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ง่ายก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้
ย า ก ก็ มี บ า ง พ ว ก มี ป ก ติ เ ห็ น โ ท ษ ใ น ป ร โ ล ก โ ด ย เ ป็ น ภั ย อ ยู่ ก็ มี . . .

– มัชฌมิ นกิ าย มัชฌมิ ปณั ณาสก์ ทรงเปรยี บบุคคลด้วยดอกบวั ๓ เหลา่

ด้วยเหตุทีพระพุทธองค์พิจารณาบุคคลเปรียบด้วยบัวสามเหล่าดังกล่าว พระพุทธองค์จึง ทรงตัดสินใจทีจะแสดง
ธรรม เพราะทรง อาศัยบุคคลทีสามารถตรัสรู้ธรรมตามพระองค์ได้เป็นหลัก ดังความทีปรากฏใน อังคุตตรนิกาย
ติกนบิ าต วา่

... บคุ คลบางคนในโลกน้ี ได้เห็นพระตถาคต ไดฟ้ ังธรรมวนิ ัยทพี ระตถาคตประกาศแล้ว จงึ หยงั ลงสูค่ วาม
แน่นอนมนั คงและความถูกต้องในกุศลธรรมท้ังหลาย เมอื ไม่ไดเ้ หน็ ไม่ได้ฟงั ย่อมไมห่ ยังลงสู่ความแนน่ อนมันคง
และความถกู ต้อง ดูก่อนภกิ ษทุ ัง้ หลาย บรรดาบุคคล ๓ จา่ พวกนั้น เพราะเห็นแก่ บคุ คลผ้ไู ด้เห็นพระตถาคต ได้
ฟังธรรมวนิ ยั ทีพระตถาคตประกาศแลว้ จึงหยังลงสคู่ วามแนน่ อนถกู ต้องในกุศลธรรม เมือไม่ไดเ้ หน็ ไม่ไดฟ้ ัง ย่อมไม่
หยังลง เราจงึ อนญุ าตการแสดงธรรมไว้ และกเ็ พราะ อาศัยบคุ คลเหลา่ น้เี ปน็ หลกั อีกเหมอื นกัน จงึ จ่าตอ้ งแสดง
ธรรมแกบ่ คุ คลประเภทอนื ดว้ ย...

องั คตุ ตรนิกาย ติกนบิ าต คิลานสตู ร สูตรที ๒

หาผรู้ ับปฐมเทศนา

หลังจากทรงตั้งพระทัยทีจะน่าสิงทีพระองค์ตรัสรู้มาสอนแก่มนุษย์ทั้งหลาย พระองค์ได้ทรงพิจารณาหา
บุคคลทีสมควรจะแสดงธรรมทีพระองค์ได้ตรัสรู้โปรดก่อนเป็นบุคคลแรก ในครั้งแรกพระองค์ทรงระลึกถึง อาฬา
รดาบส กาลามโคตร และ อุทกดาบส รามบุตร ก่อน ซึงท้ังสองท่านเป็นพระอาจารย์ทีพระองค์ได้เข้าไปศึกษาใน
ส่านักของท่านก่อนปลีกตัวออกมาแสวงหาโพธิญาณด้วยพระองค์เอง ก็ทรงทราบว่าทง้ั สองท่านได้เสียชีวิตแล้ว จึง
ได้ทรงระลึกถึงปัญจวัคคีย์ทั้งห้า ผู้ทีเคยอุปัฏฐากพระองค์ในระหว่างทีทรงบ่าเพ็ญทุกรกิริยา และทรงทราบด้วย
พระญาณว่า ปญั จวัคคีย์พา่ นักอยู่ทีป่าอิสปิ ตนมฤคทายวนั แขวงเมืองพาราณสี พระองคจ์ ึงตั้งใจเสด็จไปยังป่าอิสิป
ตนมฤคทายวนั เพอื แสดงธรรมโปรดปญั จวัคคยี ์ทงั้ หา้ เปน็ คร้ังแรก

เสด็จสพู่ าราณสี-โปรดปัญจวัคคีย์

พระพทุ ธองคใ์ ช้กว่า ๑๑ วนั เปน็ ระยะทางกว่า ๒๖๐ กิโลเมตร เพือเสดจ็ จากต่าบลอรุ เุ วลา ตา่ บลทตี รสั รู้
ไปยังทีพกั ของเหล่าปัญจวคั คีย์ (สถานทแี ห่งนีช้ าวพุทธในยุคหลงั ได้สร้างสถูปขนาดใหญไ่ ว้ ปัจจุบนั เหลอื เพยี งซาก
กองอฐิ มหมึ า เรียกว่า เจาคันธีสถูป) เมือพระองคเ์ สด็จไปถึงทีอยู่ของเหล่าปัญจวคั คีย์ในวนั เพ็ญเดือน ๘ (อาสาฬ
หมาส) ขณะทีพระองค์ก่าลังเสดจ็ เข้าไปทีพักของเหลา่ ปัญจวคั คีย์ ปัญจวัคคีย์ได้เห็นพระพุทธเจา้ มาแต่ไกล ด้วย
เหตุทปี ัญจวคั คีย์รงั เกียจวา่ "เจ้าชายสิทธัตถะผูไ้ ดเ้ ลิกการบา่ เพ็ญทุกขกิริยาหันมาเสวยอาหารเปน็ ผู้หมดโอกาส
บรรลธุ รรมไดเ้ สด็จมา" จึงได้นดั หมายกนั และกันวา่ "พวกเราไม่พงึ อภวิ าท ไม่พงึ ลุกขน้ึ ต้อนรับพระองค์ ไม่พงึ รบั

5

บาตรจวี รของพระองค์ แต่พึงวางอาสนะไว้ ถา้ พระองคป์ รารถนาจะนังกจ็ ักประทับนังเอง"ครนั้ พระพุทธเจ้าเสด็จ
เขา้ ไปถงึ กลุ่มพระปัญจวัคคีย์ พระปญั จวคั คียน์ ้นั กลับลืมขอ้ ตกลงทตี ง้ั กนั ไว้แต่แรกเสียสน้ิ ต่างลุกขึน้ มาตอ้ นรบั
พระพุทธเจา้ รปู หนงึ รบั บาตรจวี รของพระผมู้ ีพระภาค รูปหนึงปอู าสนะ รปู หนึงจัดหาน่้าลา้ งพระบาท รูปหนงึ
จดั ตงั้ ตังรองพระบาท รปู หนงึ น่ากระเบื้องเชด็ พระบาทเขา้ ไปถวาย พระพทุ ธเจ้าจงึ ประทบั นังบนอาสนะที
พระปัญจวัคคีย์จัดถวายไว้

พระพทุ ธองค์ตรสั วา่ "เราตถาคตเป็นอรหนั ต์ ตรสั รู้เองโดยชอบ พวกเธอจงเงยี โสตสดบั เราได้บรรลุอมฤต
ธรรมแลว้ เราจะสังสอน จะแสดงธรรม พวกเธอปฏบิ ัติอยู่ตามทเี ราสงั สอนแล้ว ไมช่ ้าสักเท่าไร 'จกั ทา่ ให้เขา้ ใจแจ้ง
ซึงคณุ อนั ยอดเยียม อันเป็นทีสดุ แห่งพรหมจรรย์' ทีคนทั้งหลายผ้พู ากนั ออกบวชจากเรือนต้องการ ดว้ ยปญั ญาอนั
ยงิ ด้วยตนเอง" แรกทเี ดียวพระปัญจวัคคยี ์ยังไมเ่ ชือวา่ พระพทุ ธองค์ทรงเป็นอรหันต์ ตรัสร้เู องโดยชอบ จึงคา้ นถึง
สามคร้งั วา่ "แม้ด้วยจริยานั้น แมด้ ้วยปฏปิ ทาน้ัน แมด้ ้วยทุกกรกริ ยิ านั้น พระองคก์ ย็ ังไม่ไดบ้ รรลุอุตตรมิ นสุ สธรรม
อนั เปน็ ความรู้ความเหน็ พิเศษ อย่างประเสรฐิ อยา่ งสามารถ (อตุ ตรมิ นสุ สธรรมอลมริยญาณทสั สนวเิ สส) ก็บัดนี้
พระองค์เปน็ ผู้มักมาก คลายความเพียรเวยี นมาเพือความเปน็ คนมักมาก ไฉนจักบรรลุอุตตริมนสุ สธรรมอนั เปน็
ความรู้ความเหน็ พเิ ศษอย่างประเสรฐิ อยา่ งสามารถได้เล่า"
พระพทุ ธองคต์ รัสวา่ "พวกเธอยังจ่าไดห้ รือวา่ เราไดเ้ คยพดู ถ้อยค่าเชน่ นม้ี าก่อน" และตรสั วา่

... ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ตถาคตเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ท่านทั้งหลายจงเงียโสตลงเถิด เราจะ
สงั สอนอมตธรรมทีเราบรรลแุ ล้ว เราจะแสดงธรรม เมือท่านท้ังหลายปฏิบัตติ ามทเี ราสังสอนอยู่ ไม่ช้าเท่าไรกจ็ ักท่า
ให้แจ้งซึงทีสุดพรหมจรรย์ อันไม่มีธรรมอืนยิงไปกว่า ทีกุลบุตรทั้งหลายออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตโดยชอบ
ต้องการ ด้วยปัญญาอนั ยงิ เองในปจั จบุ นั แล้วเขา้ ถงึ อยู่...

– มชั ฌมิ นกิ าย มชั ฌิมปัณณาสก์
ด้วยพระด่ารสั ดงั กลา่ ว พระปัญจวัคคยี จ์ ึงได้ยอมเชือฟังพระพุทธองค์ เงียโสตสดับ ตั้งจติ เพอื รู้ยิง

ประกาศพระสัจธรรม-แสดงปฐมเทศนา

เมือปัญจวัคคีย์ตั้งใจเพือสดบั พระธรรมของพระองคแ์ ลว้ พระพุทธองค์ทรงจงึ ทรงพาเหลา่ ปญั จวคั คียไ์ ปสู่
ปา่ อิสิปตนมฤคทายวันอนั ร่มรืน แล้วทรงแสดง ธมั มจักกัปปวตั ตนสูตร (ฟัง) ซึงเรยี กว่า "ปฐมเทศนา"เปน็ การยัง
ธรรมจกั รคอื การเผยแผพ่ ระธรรมใหเ้ ป็นไปเปน็ คร้ังแรกในโลก พระพุทธองคท์ รงกลา่ วสรปุ ถึงเนอ้ื หาของการแสดง
พระปฐมเทศนาไวใ้ นสจั จวภิ งั คสูตร มชั ฌิมนกิ าย อปุ ริปัณณาสก์ วา่

... ภิกษทุ ง้ั หลาย! ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมมาสมั พุทธเจา้ ได้ประกาศอนตุ ตรธรรมจักรให้เป็นไปแลว้ ทปี ่า
อิสิปตนมฤคทายวนั ใกล้นครพาราณสี, เป็นพระธรรมจักรทสี มณะพราหมณ์, เทพ มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลก
จะต้านทานให้หมนุ กลับไม่ได้ (คอื ความจริงทีไมม่ ผี ู้ใดปฏิเสธได)้ ขอ้ น้ีคอื การบอก การแสดง การบัญญตั ิ การ
แต่งตงั้ การเปิดเผย การจ่าแนก และการทา่ ใหง้ า่ ย ซงึ ความจรงิ อันประเสริฐสีประการ: สปี ระการนน้ั ไดแ้ ก่ ความ
จริงอนั ประเสรฐิ คือความทกุ ข์, ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื เหตใุ หเ้ กดิ ทุกข์, ความจริงอันประเสรฐิ คอื ความดบั ไมเ่ หลือ
แหง่ ทุกข์,และความจริงอนั ประเสรฐิ คือทางทที ่าใหผ้ ู้ปฏบิ ัติตามลถุ ึงความดับไมเ่ หลอื แห่งทกุ ข์...

6

เมอื พระพุทธองค์ตรัสแสดงพระปฐมเทศนานอ้ี ยู่ ดวงตาเห็นธรรมได้เกดิ ขน้ึ แก่ท่านพระโกณฑัญญะวา่ "สิง
ใดสงิ หนงึ มคี วามเกดิ ขึ้นเปน็ ธรรมดา สงิ น้ันทัง้ มวล ลว้ นมคี วามดับไปเปน็ ธรรมดา" ท่านโกณฑญั ญะได้สา่ เรจ็ เปน็
พระอรยิ บคุ คลแล้ว พระพุทธองค์ทรงทราบความทีพระโกณฑัญญะเป็นผู้ได้ดวงตาเหน็ ธรรม มคี วามเข้าใจอย่าง
แจ่มแจ้งในคา่ สอนของพระองคจ์ ึงทรงเปลง่ พระอุทานว่า "อญญฺ าสิ วต โภ โกณฑฺ ญโฺ ญ" ทา่ นผู้เจริญ ทา่ นโกณ
ฑญั ญะ รแู้ ล้วหนอ เพราะเหตนุ ้ัน ค่าวา่ "อัญญา" นี้ จึงได้เปน็ ค่านา่ หน้าชือของท่านพระโกณฑญั ญะ เมอื ทา่ นพระ
โกณฑัญญะไดบ้ รรลโุ สดาบันแลว้ จึงไดก้ ราบทูลขอบรรพชาอุปสมบทพระพุทธองค์จงึ ทรงประทานเอหภิ กิ ขุอปุ สัม
ปทา ว่า "เธอจงเป็นภิกษมุ าเถิด ธรรมอนั เรากลา่ วดแี ลว้ เธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพือท่าทสี ุดทุกข์โดยชอบเถดิ "
ทา่ นพระอญั ญาโกณฑญั ญะจึงนับเป็น "พระสงฆ์อรยิ สาวกองคแ์ รก" ในพระพุทธศาสนา1 ซึงวันนนั้ เป็นวนั เพ็ญ
กลางเดือนอาสาฬหะ หรือเดือน ๘ เป็น วันทพี ระรตั นตรัยครบบริบูรณ์ บังเกดิ ข้นึ ในโลกเปน็ คร้งั แรกคอื มี"พระ
พุทธพระธรรมพระสงฆ์"ครบบรบิ รู ณ์
ปัจจบุ นั สถานทีพระพุทธเจ้าประกาศพระอนตุ ตรสจั ธรรมเป็นคร้ังแรก และสถานทีบังเกิดพระสงฆ์องคแ์ รกในโลก
อยใู่ นบรเิ วณทตี ้ังของ ธรรมเมกขสถปู (แปลวา่ : สถปู ผเู้ หน็ ธรรม) ภายในอิสปิ ตนมฤคทายวัน หรือ สารนาถใน
ปจั จบุ ัน

สถานทีส่ าคญั เน่อื งด้วยวันอาสาฬหบชู า

เหตกุ ารณส์ า่ คัญทเี กดิ ในวนั อาสาฬหบชู า เกิดในบรเิ วณทีตั้งของ กลุ่มพุทธสถานสารนาถ ภายในอาณา
บริเวณของป่าอิสปิ ตนมฤคทายวนั ๙ กิโลเมตรเศษ ทางเหนอื ของเมืองพาราณสี อันเปน็ เมืองศูนย์กลางทางศาสนา
ของศาสนาพราหมณ์ สมัยน้ันแถบนี้อยู่ใน แคว้นมคธ ชมพูทวีป ในสมยั พุทธกาล (ในปจั จบุ ันอยู่ในรฐั พหิ ารประเทศ
อินเดีย) ปจั จบุ ัน สารนาถ จัดเปน็ พุทธสังเวชนยี สถานแหง่ ที ๓ (๑ ใน ๔ แหง่ ของชาวพุทธ) เหตทุ ไี ด้ชือว่าสารนาถ
เนอื งมาจากสถานทีแหง่ นเี้ ป็นสถานทพี ระพุทธเจ้าทรงเริมต้นประกาศพระพุทธศาสนาเพือเปน็ ทีพึงแกม่ หาชน
ทั้งหลาย แตบ่ า้ งกว็ า่ มาจากศพั ทว์ า่ สารงฺค+นารถ = ทีอย่ขู องสตั ว์จา่ พวกกวาง ภายในอาณาบริเวณสารนาถมี
ธรรมเมกขสถูป เป็นพุทธสถานขนาดใหญ่ทีสดุ และส่าคญั ทีสุด สนั นษิ ฐานว่าบริเวณทีต้งั ของธรรมเมกขสถูป เป็น
สถานทีพระพุทธเจา้ ทรงแสดงปฐมเทศนาประกาศพระสจั จธรรมเปน็ ครง้ั แรกทนี ี และ เจาคันธสี ถปู อยู่ไม่ไกลจาก
สารนาถ เป็นมหาสถูปทสี ร้างข้ึนเพือระลึกถึงสถานทีพ่านักของเหล่าปญั จวัคคยี ์ และสถานทพี ระพทุ ธเจา้ เสดจ็ มา
ทรงพบกับเหลา่ ปัญจวัคคีย์คร้ังแรก ณ จดุ น้ี กอ่ นทีจะพาไปแสดงปฐมเทศนาในสารนาถ

ความสาคญั และสภาพสารนาถในสมัยพุทธกาล

สารนาถในสมยั พุทธกาล เรยี กกันว่า ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แปลวา่ เขตป่าอภยั ทานแกส่ ตั ว์ทีเปน็ ที
บา่ เพญ็ ตบะของฤษี เปน็ สถานทีสงบและเป็นทีชุมนมุ ของเหลา่ ฤษีและนักพรตต่าง ๆ ทีมาบ่าเพญ็ ตบะและโยคะ
เพือเขา้ ถงึ พรหมมันตามความเชือในคัมภีร์อุปนิษทั ของพรามหณ์ ท่าให้เหล่าปจั จวคั คยี ท์ ีปลีกตวั มาจากเจ้าชาย
สิทธัตถะ ภายหลังจากทีพระองค์ทรงเลิกบ่าเพ็ญทุกขกริยา ได้มาบ่าเพ็ญตบะทีนีแทน หลงั จากพระพุทธเจา้ ทรง
แสดงปฐมเทศนา และเทศน์โปรดปญั วคั คยี จ์ นสา่ เร็จเปน็ พระอรหันต์ท้ังหมดแลว้ ได้ทรงพักจา่ พรรษาแรก ณ ป่า
อสิ ิปตนมฤคทายวัน พร้อมกับเหล่าปัญจวคั คยี ์ ซึงในระหว่างจา่ พรรษาแรก พระองคไ์ ดส้ าวกเพมิ กว่า ๕๔ องค์
โดยเฉพาะอย่างยิงพระยสะ และบริวารของท่าน ๕๔ องค์ ซึงรวมถึงบดิ ามารดาและภรรยาของพระยสะ ทีได้มา

7

ฟังพระธรรมเทศนาของพระพุทธองค์และไดย้ อมรบั นบั ถือเป็นอบุ าสกอบุ าสิกาทีถึงพระรัตนตรยั เปน็ สรณะคู่แรกใน
โลกดว้ ยทา่ ใหใ้ นพรรษาแรกทีพระพุทธเจ้าทรงจ่าพรรษาทปี ่าอิสปิ ตนมฤคทายวัน มีพระอรหนั ต์ในโลกรวม ๖๐
องค์ และองค์พระพุทธเจ้า นอกจากน้ี ในบริเวณสารนาถ ยงั เป็นสถานทีสา่ คัญทีพระพุทธองค์ทรงประกาศเริมตน้
ส่งใหพ้ ระสาวกกลมุ่ แรกออกไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาหลังจากทรงจา่ พรรษาแรกแลว้ (เชอื กันว่าเป็นจดุ ที
เดียวกับทีพระพุทธองคท์ รงแสดงปฐมเทศนา คือธรรมเมกขสถปู ) ดงั ปรากฏความตอนน้ีใน สงั ยุตตนิกาย
สคาถวรรควา่

...ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเทียวจาริกไปเพือประโยชน์เกื้อกูลแก่ชนหมู่มาก เพือความสุขแก่ชน
หมู่มาก เพืออนุเคราะห์โลก เพือประโยชน์ เพือเก้ือกูล เพือความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย เธอท้ังหลาย
อย่าได้ไปด้วยกัน ๒ รูป โดยทางเดียวกัน ดูกรภิกษุท้ังหลาย เธอทั้งหลายจงแสดงธรรม งามในเบ้ืองต้น งามใน
ท่ามกลาง งามในทีสุด จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมท้ังอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ บริสุทธ์ิบริบูรณ์สิ้นเชิง...
– สังยุตตนกิ าย สคาถวรรค ทตุ ยิ ปาสสูตรที ๕

และด้วยเหตุทั้งหลายดังกล่าวมาน้ี สารนาถจึงได้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งศูนย์กลางพระพุทธศาสนาแห่งแรกมา
ต้ังแต่น้ันซึงในช่วงหลังจากพระพุทธองค์เสด็จออกจากสารนาถหลังประกาศส่งพระสาวกออกเผยแพร่ ศาสนานั้น
ไม่ปรากฏในหลักฐานในพระไตรปฎิ กว่ามีการสรา้ งอารามหรอื สงิ กอ่ สร้างในปา่ สารนาถแห่งนี้ ทา่ ใหส้ ันนษิ ฐานได้ว่า
สงิ กอ่ สรา้ งใหญ่โตคงจะไดม้ าเรมิ สรา้ งข้ึนกนั ในชว่ งหลงั ทพี ระพทุ ธศาสนาได้รงุ่ เรอื งมันคงในแคว้นมคธแลว้

สารนาถหลงั พทุ ธกาล

หลังพุทธกาล ประมาณ ๓๐๐ ปี พระเจ้าอโศกมหาราชได้เสด็จมาทีสารนาถในปี พ.ศ.๒๙๕คร้ังน้ัน
พระองค์ได้พบว่ามีสังฆารามใหญ่โตทีสารนาถแล้ว ในคร้ังน้ันพระองค์ได้ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์ในการบูรณะและ
ก่อสร้างศาสนสถานเพิมเติมในสารนาถคร้ังใหญ่ โดยพระองค์ได้สร้างสถูปและสิงต่าง ๆ มากมายในบริเวณกลุ่ม
สถานทีพระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมธรรมเทศนาและพระธรรมเทศนาอืน ๆ แก่เบญจวัคคีย์ และหมู่คันธกุฎีของ
พระพุทธเจ้า ในบริเวณสารนาถ เพือถวายเป็นอนุสรณียสถานแก่พระพุทธเจ้า กลุ่มพุทธสถานเหล่านี้ได้
เจริญรุ่งเรืองต่อมาจนถึงขีดสุดในสมัยราชวงศ์คุปตะ ตามบันทึกของพระถังซ่าจ๋ัง (Chinese traveler Hiuen-
Tsang) ซึงได้จารกิ มาราว พ.ศ. ๑๒๘๐ ท่านได้กล่าวไว้ในบันทึกของท่านว่า ท่านได้พบสังฆารามใหญ่โต มีพระอยู่
ประจ่า ๑,๕๐๐รูป ภายในก่าแพงมีวิหารหลังหนึงสูงกว่า ๓๓ เมตร มีบันไดทางขึ้นปูด้วยแผ่นหินกว่า ๑๐๐ขั้น
ก่าแพงบันไดก่อด้วยอิฐเป็นขั้น ๆ ประดับด้วยพระพุทธรูปปางปฐมเทศนา ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของวิหารมี
สถูปหินอ่อนสูง ๗๐ ฟุต (เสาอโศก) บนยอดเสามีรูปสิงห์สีตัวเป็นมันวาวราวกับหยกใสสะท้อนแสง มหาสถูป
(ธรรมเมกขสถปู ) มพี ระพุทธรปู ทองคา่ ประดิษฐานอยทู่ ุกช่อง ฯลฯ

กลุ่มพุทธสถานสารนาถได้เจรญิ รุ่งเรืองสลบั กับความเสือมเปน็ ช่วง ๆ ต่อมา จนในทสี ุดได้ถกู กองทัพมุสลิม
เตอร์กบุกเข้ามาท่าลายในปี พ.ศ. ๑๗๓๗ ท่าให้มหาสังฆารามและพุทธวิหารในสารนาถถูกท่าลายล้างและถูกทิ้ง
ร้างไปอย่างสิ้นเชิงในระยะต่อมากว่า ๗๐๐ ปี เหลือเพียงกองดินและมหาสถูปใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิงธรรมเมกข
สถปู และเจาคันธีสถูป ทีเป็นกองสถปู อิฐใหญ่โตมาก สภาพของสารนาถหลังจากนนั้ กลายเป็นกองดนิ กองอิฐมหมึ า
ทา่ ใหห้ ลงั จากนั้น ชาวบ้านได้เข้ามารอื้ อิฐจากสารนาถไปกอ่ สร้างอาคารในเมืองพาราณสีเป็นระยะ ๆ ซึงเหตุการณ์

8

ทีส่าคัญคือเหตุการณ์ทีราชาเชตสิงห์ (Chait Singh) มหาราชาแห่งเมืองพาราณสี ได้สังให้ชคัตสิงห์อ่ามาตย์ไปร้ือ
อิฐเก่าจากสารนาถเพือน่าไปสร้างตลาดในเมืองพาราณสี (ปัจจุบันตลาดน้ีเรียกว่า ชคันคุนช์) โดยได้รื้อมหาธรรม
ราชิกสถูป ทีสร้างโดยพระเจ้าอโศกมหาราชลง และได้พบกับผอบศิลาสีเขียวสองช้ัน ช้ันในมีไขม่ ุก พลอยและแผ่น
เงินทองอยู่ปนกับขี้เถ้าและอัฐิ ๓ ช้ิน ซึงเป็นพระบรมสารีริกธาตุทีพระเจ้าอโศกมหาราชบรรจุไว้ แต่คชัตสิงห์กลับ
น่ากระดูกไปลอยทิ้งทีแม่น่้าคงคา เพราะเชอื ว่าเจ้าของกระดูกในผอบคงจะไม่ไดข้ ึ้นสวรรค์เพราะไม่ได้น่ากระดกู ไป
ลอยน้่าตามธรรมเนียมฮินดู ในปี พ.ศ. ๒๓๓๗ จนเมืออินเดียตกไปอยู่ในความปกครองของอังกฤษในปี พ.ศ.
๒๔๒๐ ท่าให้รัฐบาลอังกฤษต้องตั้งเจ้าหน้าทีมาขุดค้นอย่างถูกตอ้ งตามหลักโบราณคดี โดยสานงานต่อจากพันเอก
แมคแคนซี ทีเข้ามาดูแลการขุดค้นตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๓๕๘ ซึงใช้เวลากว่าร้อยปีจึงจะขุดค้นส่าเร็จในปี พ.ศ. ๒๔๖๕
ในสมัยทีท่าน เซอร์ อเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม เป็นหัวหน้ากองโบราณคดีอินเดีย จนช่วงหลังทีท่านอนาคาริก
ธรรมปาละ ชาวศรีลังกา ได้มาบูรณะฟ้ืนฟูสารนาถให้เป็นศูนย์รวมจิตใจชาวพุทธขึ้นใหม่อีกครั้ง โดยท่านได้ซ้ือที
เพือสร้างวัดมูลคันธกุฏีวิหารใหม่ ซึงนับเป็นวัดพระพุทธศาสนาแห่งแรกในบริเวณสารนาถหลังจากถูกท่าลาย
หลังจากนั้นเป็นต้นมา สารนาถได้รับการบูรณะจากรัฐบาลอินเดียเรือยมา ท่าให้สารนาถกลายเป็นจุดหมาย
ปลายทางในการแสวงบุญทีสา่ คญั แห่งหนงึ ของชาวพุทธทัวโลกมาจนถึงปัจจุบัน

จดุ แสวงบุญและสภาพของสารนาถในปจั จุบนั

ปัจจุบัน สถานทีแสวงบุญในบรเิ วณสารนาถไดร้ ับการขุดคน้ บา้ งเป็นบางสว่ น บางสว่ นก็ยังคงจมอยใู่ ต้ดนิ
แตซ่ ากพทุ ธสถานสา่ คัญ ๆ ส่วนใหญ่ในพทุ ธประวัตกิ ไ็ ดร้ ับการขดุ คน้ ขึน้ มาหมดแลว้ เช่น

ธรรมเมกขสถปู สถานทีพระพุทธเจา้ แสดงปฐมเทศนาและประกาศสง่ พระสาวกไปเผยแพร่พระศาสนา
ยสสถูป สถานทพี ระพุทธเจา้ ทรงพบทา่ นยสะ ซงึ ต่อมาได้บรรลเุ ป็นพระอรหันตสาวกองคท์ ี ๖ ในโลก
รากฐานธรรมราชิกสถปู สถานทีพระพุทธเจ้าทรงแสดงอนัตตลักขณะสตู ร และสถานทีเคยประดิษฐานพระบรม
สารีรกิ ธาตุ
พระมลู คนั ธกุฏี พระคันธกุฏที ปี ระทบั จ่าพรรษาของพระพุทธองค์ในพรรษาแรก
ซากเสาพระเจ้าอโศกมหาราช ซงึ หกั เป็น ๕ ทอ่ น ในอดีตเสาน้ีเคยมีความสงู ถงึ ๗๐ ฟตุ และบนยอดเสา
มรี ปู สงิ ห์ 4 หวั อีกด้วย ปจั จุบนั สิงห์ ๔ หัว ได้เหลือรอดจากการทา่ ลายและรฐั บาลอินเดียได้เก็บรักษาไวท้ ี
พพิ ธิ ภณั ฑ์สารนาถ โดยสงิ ห์ ๔ หวั น้ี ไดถ้ ูกนา่ มาเปน็ สญั ลักษณ์ของประเทศอนิ เดยี และข้อความจารึกของพระเจา้

อโศกมหาราชทจี ารึกไว้ใต้รปู สงิ ห์ดังกล่าวคอื "สตยฺ เมว ชยเต" (เทวนาคร:ี सत्यमेव जयते) หมายถึง "ความ
จรงิ ชนะทกุ สิง"และได้ถูกนา่ มาเป็นค่าขวญั ประจา่ ชาตขิ องประเทศอนิ เดียอีกด้วย
บริเวณโดยรอบสถานทีสา่ คญั ดงั กลา่ ว มหี มู่พุทธวิหารและซากสถูปมากมายอยหู่ นาแน่น แสดงถงึ ความศรัทธาของ
คนในอดีตไดเ้ ปน็ อยา่ งดี และนอกจากสถานทสี รา้ งข้นึ เพือระลึกถงึ เหตุการณใ์ นพุทธประวัตแิ ล้ว ผมู้ าแสวงบุญยงั
นิยมมาเยียมชมวัดมูลคนั ธกฏุ ีวหิ ารใหม่ ทสี รา้ งโดยทา่ นอนาคาริก ธรรมปาละ พระสงฆช์ าวศรีลงั กา ผฟู้ นื้ ฟพู ุทธ
สถานสารนาถให้กลายเป็นสถานทีแสวงบุญสา่ คัญเหมือนในอดตี วัดแห่งนี้เป็นสถานทปี ระดิษฐานพระบรม
สารีรกิ ธาตุทไี ดร้ ับมอบจากรฐั บาลอินเดยี และวดั น้ียงั มีภาพจติ รกรรมฝาผนงั ทีสวยงามมากภายในพทุ ธวิหารอีกดว้ ย
และใกล้กับสารนาถ เป็นทีตั้งของพพิ ธิ ภัณฑส์ ารนาถ เป็นสถานทีเกบ็ รวบรวมโบราณวตั ถุทีขุดค้นได้ภายในบรเิ วณ

9

สารนาถ ซึงโบราณวัตถุทีสา่ คัญคอื ยอดหวั สงิ ห์พระเจ้าอโศก และพระพุทธรปู ปางแสดงปฐมเทศนา ซงึ มผี ยู้ กย่อง
ว่ามีความสวยงามมากทีสดุ องค์หนึงของโลก

จดุ ท่เี กิดเหตุการณ์สาคัญในวันอาสาฬหบูชา (ธรรมเมกขสถปู )

ปจั จบุ ัน สามารถสันนิษฐานไดว้ า่ จดุ ทเี กิดเหตุการณส์ า่ คัญในวันอาสาฬหบชู า คือทตี ั้งของธรรมเมกขสถูป
เพราะแม้ในพระไตรปิฎกจะไมร่ ะบุว่าจดุ ใดคอื ทีตงั้ ของสถานทีทรงแสดงปฐมเทศนา และแม้สารนาถจะถูกท่าลาย
และถูกทอดท้ิงไปนานกว่าเจด็ ร้อยปี แต่ด้วยหลักฐานบนั ทึกของสมณทูตจนี ทีบันทึกไว้และชอื เรยี กของสถูปแห่งนี้ที
มนี ามว่า ธรรมเมกขะ ทีแปลว่า "ผู้เหน็ ธรรม" บอกชัดเจนว่าสถานทีนี้เปน็ สถานทแี สดงปฐมเทศนา (ซงึ ธรรม
เมกขะ เป็นศัพท์จากภาษาบาลีว่า ธมฺม (ธรรม) + อกิ ข (เห็น) แปลได้ว่า เห็นธรรม หรือสถปู ทีอุทศิ ให้แด่ผเู้ หน็
ธรรม ซงึ ก็ไดแ้ ก่พระอัญญาโกณฑญั ญะ ทีไดด้ วงตาเห็นธรรมเป็นคนแรกในโลกนันเอง)
สถปู ธรรมเมกขะในปจั จุบันเป็นโบราณสถานทมี ีขนาดใหญโ่ ตมากทสี ดุ ในสารนาถ แม้สถปู แห่งนจี้ ะถูกผู้บุกรุก
พยายามรื้อถอนทา่ ลายอย่างเปน็ ระบบหลายครั้ง แต่มหาสถปู องคน์ ก้ี ย็ งั คงต้งั อยู่ เปน็ โบราณสถานทเี ด่นทสี ุดใน
สารนาถจนปจั จุบนั ปจั จุบนั หลังโบราณสถานสารนาถได้รบั การบูรณะ รัฐบาลอินเดยี ได้มกี ารเทพนื้ ซีเมนต์รอบ
ธรรมเมกขสถปู และตกแต่งบริเวณโดยรอบเปน็ สวนหยอ่ ม เป็นทีสัปปายะ เหมาะแก่การเจรญิ จิตภาวนาและปฏบิ ัติ
ธรรม

กจิ กรรมทพี่ ุทธสานกิ ชนพึงปฏบิ ัติในวนั อาสาฬหบูชา

วันอาสาฬหบชู า พทุ ธศาสนิกชนชาวไทยนยิ มทา่ บญุ ตักบาตรในตอนเช้า และตลอดวนั จะมกี ารบา่ เพ็ญบญุ กุศล
ความดีอืน ๆ เชน่ ไปวดั รบั ศลี งดเวน้ การทา่ บาปทงั้ ปวง ถวายสังฆทาน ให้อสิ ระทาน (ปลอ่ ยนกปล่อยปลา) ฟัง
พระธรรมเทศนา และไปเวยี นเทยี นรอบโบสถใ์ นเวลาเย็น โดยกอ่ นท่าการเวยี นเทยี นพทุ ธศาสนกิ ชนควรรว่ มกัน
กลา่ วคา่ สวดมนต์และค่าบชู าในวนั อาสาฬหบูชา โดยปกติตามวัดตา่ ง ๆ จะจดั ให้มีการท่าวตั รสวดมนตก์ อ่ นท่าการ
เวยี นเทยี น ซงึ สว่ นใหญ่นิยมท่าการเวยี นเทียนอย่างเปน็ ทางการ (โดยมีพระภกิ ษสุ งฆ์นา่ เวียนเทียน) ในเวลา
ประมาณ ๒๐.๐๐ น. โดยบทสวดมนต์ทพี ระสงฆ์นยิ มสวดในวนั อาสาฬหบชู าก่อนท่าการเวียนเทียนนยิ มสวด (ทั้ง
บาลแี ละค่าแปล) ตามล่าดับดังน้ี

๑.บทบชู าพระรัตนตรัย (บทสวดบาลีทขี นึ้ ตน้ ด้วย:อรหงั สัมมา ฯลฯ)
๒.บทนมสั การนอบน้อมบูชาพระพุทธเจา้ (นะโม ฯลฯ ๓ จบ)
๓.บทสรรเสริญพระพุทธคุณ (บทสวดบาลที ีขน้ึ ต้นดว้ ย:อติ ปิ ิโส ฯลฯ)
๔.บทสรรเสรญิ พระพุทธคุณ สวดท่านองสรภญั ญะ (บทสวดสรภัญญะทีข้ึนตน้ ดว้ ย:องคใ์ ดพระสัมพทุ ธ
ฯลฯ
๕.บทสรรเสริญพระธรรมคณุ (บทสวดบาลีทีข้ึนต้นด้วย:สวากขาโต ฯลฯ)
๖.บทสรรเสรญิ พระธรรมคณุ สวดท่านองสรภญั ญะ (บทสวดสรภญั ญะทขี น้ึ ตน้ ดว้ ย:ธรรมมะคือ คุณากร
ฯลฯ)

๗.บทสรรเสรญิ พระสงั ฆคุณ (บทสวดบาลที ขี ้นึ ตน้ ดว้ ย:สุปฏิปันโน ฯลฯ)
๘.บทสรรเสริญพระสงั ฆคุณ สวดท่านองสรภญั ญะ (บทสวดสรภญั ญะทีขน้ึ ต้นด้วย:สงฆใ์ ดสาวกศาสดา

10

ฯลฯ
๙.บทสวดพระธรรมจกั กปั ปวัตตนสตู รบาลี (บทสวดบาลีทีขน้ึ ต้นดว้ ย:เอวมั เม สตุ งั เอกัง ฯลฯ) (ฟัง)
๑๐.บทสวดบชู าเนืองในวนั อาสาฬหบูชา (บทสวดบาลที ีขึ้นต้นดว้ ย:ยะมมั หะ โข มะยงั ฯลฯ)

จากนนั้ จดุ ธปู เทยี นและถอื ดอกไมเ้ ปน็ เครอื งสักการบูชาในมือ แลว้ เดนิ เวียนรอบปูชนยี สถาน ๓ รอบ โดยขณะที
เดินน้ันพงึ ต้งั จติ ใหส้ งบ พร้อมสวดระลึกถงึ พระพทุ ธคุณ ดว้ ยการสวดบทอิตปิ ิโส (รอบทีหนึง) ระลกึ ถึงพระ
ธรรมคุณ ดว้ ยการสวดสวากขาโต (รอบทีสอง) และระลกึ ถึงพระสังฆคณุ ดว้ ยการสวดสปุ ะฏปิ ันโน (รอบทสี าม)
จนกวา่ จะเวยี นจบ ๓ รอบ จากนั้นน่าธปู เทยี นดอกไม้ไปบชู าตามปูชนยี สถานจงึ เปน็ อนั เสร็จพิธี

หลักธรรมในวนั อาสาฬหบชู า

เนืองด้วย วนั อาสาฬหบูชา มีความเกียวข้องอยา่ งมากกบั พระธัมมจกั กัปปวัตตนสตู ร ซึงเป็นพระสูตรแรก
ทพี ระพทุ ธเจ้าไดท้ รงแสดงขนึ้ ในโลก และได้ทรงแสดงเป็นคร้งั แรกในวันอาสาฬหบชู านี้ หลกั ธรรมส่าคญั ในพระ
สูตรบทนจี้ ึงเป็นธรรมะสา่ คัญทพี ทุ ธศาสนิกชนควรน่าไปพิจารณาและท่าความเข้าใจ และอาจจะเรียกไดว้ ่า
หลกั ธรรมในพระสตู รดงั กลา่ วเปน็ หลักธรรมสา่ คญั ในวันอาสาฬหบูชา ซึงเน้ือหาในพระธัมมจักกัปปวัตตนสตู ร มี ๓
ตอน ดงั นี้

สงิ่ ทีไ่ ม่ควรเสพสองอย่าง

สว่ นแรกทพี ระพุทธเจา้ ทรงแสดง คอื กามสขุ ัลลิกานุโยค และ อัตตกลิ มถานโุ ยค กล่าวคือทรงแสดงสิงทไี ม่
ควรเสพสองอย่าง อันไดแ้ ก่ การปฏิบัตติ นย่อหย่อนสบายกายเกนิ ไป (กามสุขลั ลกิ านุโยค) และการปฏิบตั ิตนจน
ทรมานกายเกินไป (อตั ตกิลมถานโุ ยค) คือทรงแสดงการปฏิเสธลกั ษณะของลัทธทิ งั้ ปวงทีมีในสมยั นน้ั ดงั นี้
"ดูกรภกิ ษุท้งั หลาย ทสี ดุ สองอย่างนี้อนั บรรพชิตไม่ควรเสพ คอื

การประกอบตนให้พัวพันด้วยกามสุขในกามทงั้ หลาย เปน็ ธรรมอนั เลว เปน็ ของชาวบ้าน เป็นของปุถชุ น
ไมใ่ ชข่ องพระอริยะ ไมป่ ระกอบด้วยประโยชน์ ๑ การประกอบความเหนด็ เหนือยแก่ตน เปน็ ความลา่ บาก ไมใ่ ช่
ของพระอรยิ ะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑"

– พระไตรปฎิ ก เล่มที ๔ พระวินัยปิฎก เลม่ ที ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธมั มจกั กัปปวตั ตนสูตร

การทีพระพุทธองค์ตรัสปฏิเสธแนวทางสองอย่างดังกล่าวมาในขณะเริมปฐมเทศนา เพือแสดงให้รู้ว่า
พระพุทธศาสนาไม่ใช่ศาสนาทีสอนให้พ้นจากทุกข์ด้วยการแก้ปัญหานอกกายคือ หนีความทุกข์ด้วยการมัวแต่
แสวงหาความสุข (หนีความทุกข์อย่างไม่ยังยืน เพราะต้องแสวงหามาปรนเปรอตัณหาไม่สิ้นสุด) หรือหาทางพ้น
ทุกข์ด้วยการกระท่าตนให้ล่าบาก (สู้หรืออยู่กับความทุกข์อย่างโง่เขลา ขาดปัญญา ท่าตนให้ล่าบากโดยใช่เหตุ)
เพือทีจะทรงขับเน้นหลักการทีพระพุทธองค์จะทรงแสดงต่อไปว่า มีความแตกต่างโดยส้ินเชิงจากแนวคิดพ้นทุกข์
เดิม ๆ ซึง เปน็ การประกาศแนวทางพ้นทุกข์ใหม่แก่โลก อันไดแ้ ก่การแก้ทุกขท์ ีตวั ต้นเหตุ คือ แก้ทภี ายในใจของเรา
เอง คอื มชั ฌิมาปฏปิ ทา ของพระพทุ ธองค์

11

มัชฌิมาปฏิปทา (ทางสายกลาง)

สิงทพี ระพทุ ธองค์ทรงแสดงในปฐมเทศนาต่อมาคอื มชั ฌิมาปฏิปทา คือ หลังจากทรงกล่าวปฏเิ สธแนวทาง
พน้ ทุกข์แบบเดิม ๆ แล้ว ไดท้ รงแสดงเสนอแนวทางพ้นทุกขใ์ หมแ่ กโ่ ลก คอื มัชฌิมาปฏิปทา หรอื ทางสายกลาง
คือ การปฏบิ ัติทไี ม่สดุ ตึงดา้ นใดดา้ นหนึง อนั ไดแ้ ก่การด่าเนินตามมรรคมีองค์ 8 ซงึ ควรพิจารณาจากข้อความจาก
พระโอษฐ์โดยตรง ดังนี้
"ปฏิปทาสายกลาง ไมเ่ ข้าไปใกล้ทสี ดุ สองอย่างนนั้ นันตถาคตไดต้ รสั รู้แล้วดว้ ยปัญญาอันยงิ ทา่ ดวงตาใหเ้ กิด ท่า
ญาณให้เกิด ย่อมเป็นไปเพอื ความสงบ เพอื ความรยู้ ิง เพือความตรัสรู้ เพือนิพพาน ดูกรภกิ ษุทัง้ หลาย กป็ ฏิปทา
สายกลางทตี ถาคตไดต้ รัสร้แู ล้วด้วยปญั ญาอนั ยิง ทา่ ดวงตา ใหเ้ กิด ทา่ ญาณใหเ้ กิด ย่อมเป็นไปเพือความสงบ เพือ
ความรู้ยิง เพือความตรัสรู้ เพือนพิ พาน นัน้ เปน็ ไฉน?
ปฏปิ ทาสายกลางน้นั ได้แก่อริยมรรค มีองค์ ๘ นแ้ี หละ คือปัญญาอันเหน็ ชอบ ๑ ความด่าริชอบ ๑ เจรจาชอบ ๑
การงานชอบ ๑ เลยี้ งชวี ิตชอบ ๑ พยายามชอบ ๑ ระลึกชอบ ๑ ตัง้ จติ ชอบ ๑"
ดูกรภิกษุทั้งหลาย น้ีแลคือปฏิปทาสายกลางนนั้ ทีตถาคตได้ตรัสรู้แล้วดว้ ยปญั ญาอันยงิ ท่าดวงตาให้เกดิ ท่าญาณ
ใหเ้ กดิ ย่อมเป็นไปเพือความสงบ เพือความรยู้ ิง เพือความตรสั รู้ เพอื นพิ พาน.

– พระไตรปิฎก เล่มที ๔ พระวินัยปฎิ ก เลม่ ที ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธัมมจกั กัปปวตั ตนสตู ร

อรยิ สจั ส่ี

สดุ ท้ายทรงแสดงสงิ ทที ่าให้พระองค์ตรสั รู้ คอื ทรงแสดงอริยสัจ 4 ประการ และ "กิจ" ทีควรทา่ ในอริยสัจ
๔ ประการ เพือการหลุดพ้นจากทกุ ข์ โดยแก้ทีสาเหตุของทุกข์ กลา่ วคือ ทุกข์ ควรรู้ สมทุ ัย ควรละ นิโรธ ควรท่าให้
แจ้ง มรรค ลงมือปฏบิ ัติ
โดยข้อแรกคือ ทกุ ข์ ในอริยสัจท้ังสขี อ้ น้นั ทรงกล่าวถงึ สงิ เป็นความทกุ ข์ท้งั ปวงในโลกไว้ดังน้ี

"ดูกรภกิ ษทุ งั้ หลาย ข้อนี้แลเป็นทกุ ขอริยสจั คือ ความเกิด กเ็ ป็นทกุ ข์ ความแก่ ก็เป็นทุกข์ ความเจ็บไข้ ก็
เปน็ ทุกข์ ความตาย กเ็ ปน็ ทุกข์ การเจอสิงทีไม่เป็นทรี ัก ก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิงเป็นทรี กั กเ็ ปน็ ทุกข์
ปรารถนาสงิ ใดไม่ไดส้ ิงน้นั ก็เปน็ ทกุ ข์ โดยยน่ ย่อ อุปาทานขนั ธ์ ๕ เป็นทกุ ข"์

– พระไตรปิฎก เลม่ ที ๔ พระวนิ ัยปิฎก เลม่ ที ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธัมมจกั กัปปวตั ตนสูตร

จากน้ั น พ ระพุ ท ธองค์ต รัสว่าก าร ยึด ถือ ใน สิงท้ั งป วงนั น เอ งเป็ น "ส าเห ตุ แห่ งค วาม ทุ กข์ " คื อ
"ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขสมุทัยอริยสัจ คือ "ตัณหา" อันท่าให้เกิดอีก ประกอบด้วยความ

ก่าหนัดด้วยอ่านาจความเพลิน มีปกติเพลิดเพลินในอารมณ์น้ันๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา."
– พระไตรปฎิ ก เลม่ ที ๔ พระวนิ ัยปฎิ ก เลม่ ที ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธัมมจกั กปั ปวตั ตนสูตร

จากน้ัน พระพุทธองค์ตรัสว่าทุกข์สามารถดับไปได้ โดยการ ดับทีตัวสาเหตุแห่งทกุ ข์ คือ ไมย่ ดึ ถือวา่ มคี วามทุกข์
หรอื เราเปน็ ทุกข์ กลา่ วคือ สละถอนเสยี ซงึ การถือวา่ มีตัวตน อนั เปน็ ทตี ั้งของความทุกข์ (เมือไม่มีการยึดมนั ถือมัน
ในใจว่าตนนั้นมี "ตัวตน" ทีเป็นทตี งั้ ของความทุกข์ ทุกขย์ อ่ มไม่มที ยี ดึ จึงไม่มีความทุกข์ ดังนี้

"ดูกรภกิ ษุทง้ั หลาย ข้อนแี้ ลเป็นทุกขนโิ รธอริยสัจ คือ ตัณหานันแลดับ โดยไม่เหลือด้วยมรรคคือ "หมด
ราคะ" "สละ" "สละคืน" "ปลอ่ ยไป" "ไม่พัวพัน"."

12

– พระไตรปิฎก เล่มที ๔ พระวินัยปฎิ ก เล่มที ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธัมมจักกปั ปวตั ตนสตู ร
เมือพระพุทธองคต์ รสั ถงึ ผลของการปฏิบัติกิจในศาสนาแล้ว จึงไดต้ รัสแสดงมรรค คือวิธีปฏิบตั ติ ามทางสายกลาง
ตามลา่ ดับ ๘ ขนั้ เพือหลดุ พ้นทุกข์โดยสิ้นเชิง คือ
ดูกรภกิ ษทุ ้ังหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขนโิ รธคามินีปฏิปทาอริยสัจ คือ อรยิ มรรคมีองค์ ๘ นีแ้ หละ คือ ปญั ญาอัน
เหน็ ชอบ ๑ ความดา่ รชิ อบ ๑ เจรจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑ เล้ียงชวี ติ ชอบ ๑พยายามชอบ ๑ ระลกึ ชอบ ๑ ตง้ั จติ
ชอบ ๑

– พระไตรปิฎก เล่มที ๔ พระวินัยปิฎก เลม่ ที ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธมั มจกั กัปปวัตตนสูตร

โดยสรปุ พระพุทธองค์ตรัสเรียงวธิ แี ก้ทุกข์ โดยแสดงให้เห็นปญั หา (ทกุ ข)์ สาเหตขุ องปัญหา (สมุทัย) และ
จดุ มงุ่ หมายในการแก้ปญั หาคือการดบั ทกุ ข์ (นโิ รธ) โดยทรงแสดงวธิ ปี ฏิบตั ิ (มรรค) ไวท้ า้ ยสุด เพือให้ผู้ปฏิบตั ิได้
ทราบจดุ มงุ่ หมายของการปฏิบัติกอ่ น เพือการเข้าใจไม่ผิด และจะได้ปฏิบัติโดยม่งุ ไปยังจุดม่งุ หมายทีตั้งไว้โดยไม่
คลาดเคลือน

การประกอบพธิ อี าสาฬหบูชาในประเทศไทย

การก่าหนดใหว้ นั อาสาฬหบชู าเปน็ วนั ส่าคญั ทางพุทธศาสนาในประเทศไทยพระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี)
ผเู้ สนอใหม้ กี ารจดั งานวันอาสาฬหบชู าเปน็ คร้ังแรกในประเทศไทย วนั อาสาฬหบชู าไดร้ บั การก่าหนดใหเ้ ป็นวนั
ส่าคัญทางพระพทุ ธศาสนาของประเทศไทยในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ โดยคณะสงั ฆมนตรี (มหาเถรสมาคม) ในสมยั น้นั ได้
มมี ติให้เพมิ วันอาสาฬหบชู าเปน็ วนั ส่าคญั ทางพทุ ธศาสนา (ในประเทศไทย) ตามคา่ แนะนา่ ของ พระธรรมโกศา
จารย์ (ชอบ อนุจาร)ี โดยคณะสังฆมนตรีได้ออกเปน็ ประกาศสา่ นักสงั ฆนายก ก่าหนดให้วันอาสาฬหบูชาเปน็ วนั
สา่ คญั ทางพุทธศาสนาพรอ้ มทั้งกา่ หนดพิธีอาสาฬหบชู าขึ้น เมอื วนั ที ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๑ ไม่ปรากฏ
หลักฐานในประเทศไทยว่าในสมยั กอ่ น พ.ศ. ๒๕๐๑ เคยมกี ารประกอบพิธอี าสาฬหบูชามาก่อน ทา่ ให้การ
ก่าหนดให้วันอาสาฬหบชู าเป็นวันส่าคัญทางพระพทุ ธศาสนาของสา่ นักสังฆนายกในครั้งน้ี เปน็ คร้งั แรกทีมีการ
กา่ หนดแบบแผนการประกอบพิธนี ี้อย่างเปน็ ทางการ โดยหลังจากปี พ.ศ. ๒๕๐๑ ซึงเปน็ ปแี รกทีเรมิ มีการรณรงค์
ให้มีการประกอบพธิ ีอาสาฬหบูชา พทุ ธศาสนิกชนชาวไทยไดร้ ่วมใจกันประกอบพิธีนก้ี ันอย่างกว้างขวางและ
แพร่หลายไปทกุ จงั หวดั จนกลายเปน็ พิธีสา่ คัญของพุทธศาสนิกชนไทยต้งั แตน่ ั้นมา ดังน้ันในวันที ๖ มิถนุ ายน พ.ศ.
๒๕๐๕ คณะรัฐมนตรนี า่ โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต์ นายกรัฐมนตรใี นสมยั นั้น จึงได้ลงมติให้ประกาศก่าหนดเพิม
ให้วันอาสาฬหบูชา หรือวันข้ึน ๑๕ คา่ เดือน ๘ (สา่ หรับปไี มม่ ีอธิกมาส) และวนั ขึ้น ๑๕ คา่ เดือน ๘ หลงั (ในปมี ี
อธิกมาส) เป็นวันหยดุ ราชการประจา่ ปอี ีก ๑ วนั เพอื เป็นการให้ความสา่ คญั กบั วนั ส่าคัญยิงของชาวพุทธนี้และเพือ
อา่ นวยความสะดวกแก่พุทธศาสนกิ ชนทีจะไปประกอบพธิ กี รรมทางพระพทุ ธศาสนาด้วยอีกประการหนงึ

วันอาสาฬหบชู าในปฏิทนิ สุริยคตไิ ทย

อย่างไรก็ตาม บางประเทศทีนับถือพุทธศาสนาอาจก่าหนดวันไม่ตรงกับของไทยในบางปี เนืองจากประเทศ
เห ล่ า นั้ น อ ยู่ ใน ต่ า แ ห น่ ง บ น โล ก ที ต่ า ง ไป จ า ก ป ร ะ เท ศ ไท ย ท่ า ให้ วั น เว ล า ค ล า ด เค ลื อ น ไป
การประกอบพิธีทางศาสนาในวันอาสาฬหบชู าในประเทศไทย

13

พระราชพิธี

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุยเดชทรงบ่าเพ็ญพระราชกุศลเนอื งในวันส่าคัญทางพระพุทธศาสนา ณ
วัดพระศรีรัตนศาสดารามการพระราชพิธีบ่าเพ็ญพระราชกุศลเนืองในวันอาสาฬหบูชานี้มีชือเรียกเป็นทางการว่า
พระราชพิธีทรงบ่าเพ็ญพระราชกุศล เนืองในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา ซึงเดิมก่อน พ.ศ. ๒๕๐๑
เรียกเพียง การพระราชพิธีทรงบ่าเพ็ญพระราชกุศล เนืองในวันเข้าพรรษา แต่หลังจากมีการก่าหนดให้วัน
อาสาฬหบูชาเป็นวันส่าคัญทางพระพุทธศาสนาในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ แล้ว ส่านักพระราชวังจึงได้ก่าหนดเพิมวัน
อาสาฬหบูชาเพิมเติมข้ึนมาการพระราชพิธีน้ีโดยปกติมี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นองคป์ ระธานในการพระ
ราชพิธีบ่าเพ็ญพระราชกุศลและบางคร้ังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์เสด็จแทน โดยสถานที
ประกอบพระราชพิธีหลักจะจัดในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดบวรนิเวศวิหาร และภายในพระบรมมหาราชวัง
การส่าคัญของพระราชพิธีคือการถวายพุ่มเทียนเครืองบูชาแก่พระพุทธปฏิมาและพระราชาคณะ รวมท้ังการ
พระราชทานภัตตาหารแก่พระราชาคณ ะ ฐานานุกรม เปรียญ ซึงรับอาราธนามารับบิณ ฑบาตใน
พระบรมมหาราชวังจ่านวน ๑๕๐ รูป ทุกปี เป็นต้น ซึงการพระราชพิธีนี้เป็นการแสดงออกถึงพระราชศรัทธาอัน
แน่นแฟ้นในพระพุทธศาสนา ขององค์พระมหากษัตริย์ไทยผู้ทรงเป็นเอกอัครพุทธศาสนูปถัมภกม์ าตั้งแตอ่ ดีตจนถึง
ปัจจบุ นั

พธิ สี ามญั

ชาวพุทธนิยมเวียนเทยี นในวันอาสาฬหบชู า เพือเปน็ การปฏิบตั ภิ าวนารา่ ลึกถงึ คุณทีพระพุทธเจา้ ทรง
ประกาศพระธรรมทตี รัสรูแ้ ก่ชาวโลกเป็นคร้งั แรกในวันน้ี การประกอบพิธที างพระพทุ ธศาสนาเนอื งในวนั
อาสาฬหบูชาของประชาชนทัวไปน้ี พทุ ธศาสนิกชนชาวไทยโดยทวั ไปนยิ มทา่ บญุ ตกั บาตร ฟังพระธรรมเทศนา
เวยี นเทียนรอบอุโบสถหรือสถูปเจดียพ์ ทุ ธสถานต่าง ๆ ภายในวดั เพอื เป็นการระลกึ ถงึ วันคล้ายวันทเี กดิ เหตุการณ์
ส่าคัญของพระพทุ ธศาสนาในวนั ขึ้น ๑๕ คา่ เดอื น ๘โดยแนวปฏิบัตใิ นการประกอบพธิ ีในวนั อาสาฬหบชู าตาม
ประกาศส่านักสงั ฆนายก ทีคณะสงฆ์ไทยได้ถือเปน็ แบบแผนมาจนถงึ ปัจจบุ นั น้คี ือ ให้คณะสงฆแ์ ละพุทธศาสนกิ ชน
จดั เตรยี มสถานทีก่อนถึงวันอาสาฬหบชู า โดยมีการท่าความสะอาดวดั และเสนาสนะต่าง ๆ จดั ตัง้ เครืองพุทธบชู า
ประดับธงธรรมจักร และเมอื ถึงวันขึน้ ๑๕ ค่า เดือน ๘ ก็ใหจ้ ัดการแสดงพระธรรมเทศนาตลอดทั้งวนั เมือถึงเวลา
คา่ ใหม้ ีการท่าวัตรสวดมนตแ์ ละสวดบทพระธรรมจกั กปั ปวัตตนสูตร มีการแสดงพระธรรมเทศนาในเน้ือหาเรืองใน
พระธรรมจกั กัปปวตั ตนสูตร นา่ สวดบทสรภัญญะบูชาคณุ พระรตั นตรัย และให้พระสงฆ์น่าเวยี นเทียนบชู าพระพุทธ
ปฏิมา อโุ บสถ หรือสถูปเจดีย์ เมือเสร็จการเวียนเทียนอาจใหม้ กี ารเจริญจิตตภาวนา สนทนาธรรม แตก่ ิจกรรม
ทั้งหมดน้คี วรให้เสร็จสน้ิ ก่อนเวลา ๒๔.๐๐ น. ของวันนั้น เพือพักผ่อนเตรยี มตวั ก่อนเริมกิจกรรมวันเข้าพรรษา (วัน
แรม ๑ คา่ เดอื น ๘) ในวนั รุง่ ขึน้ ต่อไป การประกอบพธิ วี นั อาสาฬหบชู าในปจั จุบันนี้นอกจากการเวยี นเทยี น ท่าบุญ
ตักบาตรฯ ในวันส่าคญั แลว้ ยังมีหน่วยงานภาครฐั องค์กรทางศาสนา และภาคประชาชน รว่ มกันจัดกิจกรรมตา่ ง ๆ
ขน้ึ มากมาย เพือเป็นการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาและประชาสัมพนั ธ์กจิ กรรมทางพระพทุ ธศาสนาตา่ ง ๆ ใหแ้ ก่
ประชาชน เช่น กิจกรรมสัปดาห์เผยแผ่พระพทุ ธศาสนาวนั อาสาฬหบูชา เป็นตน้

14

การจดั เฉลมิ ฉลองอาสาฬหบชู าในต่างประเทศ

การทวี ันอาสาฬหบชู าเป็นวันสา่ คญั ทางศาสนาทีพึงถูกก่าหนดมาไม่นานนกั และถกู กา่ หนดโดยความ
เห็นชอบของคณะสงฆ์ไทยเท่านั้น ความนยิ มอย่างกว้างขวางของพุทธศาสนิกชนในการใหค้ วามส่าคญั กับการ
ประกอบพธิ ที างพระพุทธศาสนาในวนั นีจ้ ึงยงั คงมจี า่ กดั เฉพาะอยู่ในประเทศไทย
สว่ นในประเทศทีมีประชากรนบั ถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเป็นศาสนาหลักอนื ๆ เชน่ ศรีลงั กา พม่า ลาว
กัมพชู า ไมไ่ ดใ้ หค้ วามส่าคญั กับวันอาสาฬหบูชาในฐานะวันส่าคัญของรฐั หรอื วนั หยดุ ราชการของประเทศและไม่
นิยมปฏบิ ัติพธิ กี รรมทางศาสนาในวันน้โี ดยใหค้ วามส่าคัญเทียบเท่ากบั วนั วิสาขบชู าเลย แต่พุทธศาสนิกชนใน
ประเทศเหลา่ น้ันกไ็ ดถ้ ือวันนเ้ี ปน็ วันทางพระพุทธศาสนาตามปกติอยแู่ ล้ว เนอื งจากวนั อาสาฬหบชู าเป็นวันขึ้น ๑๕
ค่า เดือน ๘ อนั เปน็ วนั อโุ บสถ หรอื วนั พระใหญ่ตามปกตขิ องนิกายเถรวาท และโดยเฉพาะอยา่ งยงิ วนั น้ีเป็นวัน
สุดทา้ ยก่อนวนั เริมต้นเทศกาลเขา้ พรรษาตามปฏิทินจันทรคตขิ องพระสงฆเ์ ถรวาท พธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องพุทธศาสนิกชน
เถรวาทในประเทศเหล่านั้นจงึ ให้ความสา่ คญั ในวันนไี้ ปกบั การเตรยี มตวั เขา้ จ่าพรรษาของพระสงฆ์ เช่น ในประเทศ
ลาว วนั นจี้ ะเปน็ วนั สา่ คญั ทีพุทธศาสนิกชนจะไปทา่ บญุ ตักบาตรและมีการถวายเทียนพรรษาผา้ อาบน่า้ ฝนเปน็
พิเศษ ซึงตา่ งจากประเทศไทยทีพทุ ธศาสนิกชนจะจัดงานถวายเทียนพรรษาและผา้ อาบนา่้ ฝนแก่พระสงฆ์ในวนั แรม
๑ คา่ เดอื น ๘ หรอื วันเขา้ พรรษาโดยตรง แมว้ ่าชาวพทุ ธในประเทศอืนจะไม่ให้ความสา่ คัญกับการจัดงานวัน
อาสาฬหบูชาในฐานะเป็นวนั ทีพระพทุ ธเจา้ เริมประกาศพระศาสนาและเป็นวันทเี กิดพระรัตนตรัยครบองค์ 3 แต่
ปรากฏว่าในปจั จุบันการจัดพิธเี ฉลมิ ฉลองวนั อาสาฬหบชู าในต่างประเทศ กม็ ีการจดั ข้นึ บ้างตามสถานทีต่าง ๆ ทวั
โลก โดยส่วนใหญจ่ ะจดั โดยคนไทยในวัดไทย ซงึ จะจดั ต่อเนอื งกนั ไปสองวัน คืองานวนั อาสาฬหบชู าตอ่ ด้วยงานวัน
เข้าพรรษาเชน่ เดียวกบั ในประเทศไทย การจดั งานจะมีการทา่ บุญใสบ่ าตร และมีการเวียนเทยี นรอบศาสนสถาน
ส่าคัญของวัดเหมือนประเทศไทย แตก่ ารเวยี นเทยี นส่วนใหญ่จะจัดในเวลากลางวนั ของวันอาสาฬหบูชา ซึงโดย
ส่วนใหญ่ตามวดั ไทยทยี ังไม่มีเจดียส์ ถานหรืออุโบสถ วหิ ารภายในวัดก็จะจัดพิธีเวียนเทียนรอบพระพุทธรูป หรือ
เดนิ เวียนรอบวัดหรือทีพกั สงฆแ์ ทน และอาจกล่าวได้ว่าการจัดงานดังกลา่ วตามวัดไทยในตา่ งประเทศสว่ นใหญ่เปน็
เพียงการจดั โดยคนไทยทจี ดั ขึ้นเพืออนุรักษ์ประเพณีและไม่คอ่ ยเปน็ ทีรจู้ ักกว้างขวางมากนกั ในหมู่ชาวตา่ งประเทศ
และผรู้ ว่ มพธิ ีจะเป็นกลุ่มชาวไทยและพทุ ธศาสนกิ ชนทีเคร่งครดั เทา่ นนั้

15

วันเข้าพรรษา (บาลี: วสฺส, สันสกฤต: วรฺษ, อังกฤษ: Vassa, เขมร: វស្សា,) เป็นวันส่าคัญในพุทธศาสนาวัน

หนึงทีพระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจ่าอยู่ ณ ทีใดทีหนึงตลอดระยะเวลาฤดูฝนทีมีก่าหนด
ระยะเวลา ๓ เดือนตามทีพระวนิ ัยบัญญัติไว้ โดยไมไ่ ปค้างแรมทอี ืน หรือภาษาปากว่า จา่ พรรษา ("พรรษา" แปลว่า
ฤดูฝน, "จ่า" แปลว่า พักอยู่) การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติส่าหรับพระสงฆ์โดยตรง พระสงฆ์จะไม่จ่าพรรษา
ไม่ได้ เนืองจากรูปใดไม่จ่าพรรษาถือว่าต้องอาบัติทุกกฎตามพระวินัย การเข้าพรรษาตามปกติเริมนับตั้งแต่วันแรม
๑ ค่า เดือน ๘ ของทุกปี (หรือเดือน ๘ หลัง ถ้ามีเดือน ๘ สองหน) และส้ินสุดลงในวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ หรือ
วันออกพรรษา

วันเขา้ พรรษา (วนั แรม ๑ คา่ เดือน ๘ หรอื ปีอธกิ มาส จะเลอื นเปน็ วนั แรม ๑ คา่ เดือน ๘ หลัง) หรือเทศกาล

เขา้ พรรษา (วันแรม ๑ คา่ เดือน ๘ ถึงวันขึน้ ๑๕ คา่ เดอื น ๑๑ หรอื ปีอธิกมาส จะเลือนเป็นวนั แรม ๑ คา่ เดือน ๘
หลงั ถึงวันข้ึน ๑๕ ค่า เดอื น ๑๑) ถือวา่ เป็นวนั และช่วงเทศกาลทางศาสนาพุทธทสี า่ คัญเทศกาลหนงึ ในประเทศ
ไทย โดยมรี ะยะเวลาประมาณ ๓ เดอื นในชว่ งฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันส่าคัญทางพระพุทธศาสนาทตี ่อ
เนืองมาจากวนั อาสาฬหบูชา (วันข้ึน ๑๕ คา่ เดือน ๘) ซงึ พุทธศาสนิกชนชาวไทยทัง้ พระมหากษัตริย์และคนทัวไป
ได้สบื ทอดประเพณีปฏบิ ัติการท่าบญุ ในวันเขา้ พรรษามาช้านานแล้วต้งั แต่สมยั สโุ ขทยั
สาเหตุทีพระพุทธเจา้ ทรงอนุญาตการจ่าพรรษาอยู่ ณ สถานทใี ดสถานทีหนึงตลอด ๓ เดือนแก่พระสงฆน์ ั้น มี
เหตผุ ลเพอื ให้พระสงฆ์ได้หยุดพกั การจาริกเพือเผยแพรศ่ าสนาไปตามสถานทีต่าง ๆ ซึงจะเป็นไปด้วยความ
ยากล่าบากในชว่ งฤดูฝน เพือปอ้ งกันความเสียหายจากการอาจเดนิ เหยยี บยา่ ธัญพืชของชาวบ้านทปี ลกู ลงแปลงใน
ฤดฝู น และโดยเฉพาะอยา่ งยงิ ช่วงเวลาจ่าพรรษาตลอด ๓ เดือนนั้น เปน็ ช่วงเวลาและโอกาสส่าคญั ในรอบปีที

16

พระสงฆจ์ ะได้มาอย่จู า่ พรรษารวมกนั ภายในอาวาสหรือสถานทีใดสถานทหี นึง เพือศึกษาพระธรรมวินัยจาก
พระสงฆ์ทที รงความรู้ ได้แลกเปลียนประสบการณ์และสร้างความสามัคคใี นหมู่คณะสงฆ์ด้วย
ในวันเข้าพรรษาและชว่ งฤดูพรรษากาลตลอดทั้ง ๓ เดือน พุทธศาสนิกชนชาวไทยถอื เป็นโอกาสอันดีทจี ะบา่ เพ็ญ
กศุ ลด้วยการเข้าวดั ทา่ บุญใส่บาตร ฟงั พระธรรมเทศนา ซึงสิงทีพเิ ศษจากวนั ส่าคัญอนื ๆ คือ มกี ารถวายหลอดไฟ
หรือเทยี นเขา้ พรรษา และผ้าอาบนา้่ ฝน (ผา้ วัสสิกสาฏก) แกพ่ ระสงฆ์ด้วย เพือส่าหรบั ให้พระสงฆ์ไดใ้ ชส้ า่ หรับการ
อย่จู ่าพรรษา โดยในอดีต ชายไทยทเี ป็นพุทธศาสนกิ ชนเมืออายคุ รบบวช (๒๐ ป)ี จะนยิ มถอื บรรพชาอปุ สมบทเปน็
พระสงฆ์เพืออยจู่ ่าพรรษาตลอดฤดูพรรษากาลท้ัง ๓ เดือน โดยพทุ ธศาสนิกชนไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบท
เพือจา่ พรรษาตลอดพรรษากาลว่า "บวชเอาพรรษา"
นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ รัฐบาลได้ประกาศใหว้ ันเข้าพรรษาเป็น "วันงดดมื สุราแหง่ ชาต"ิ โดยในปีถดั มา ยังได้
ประกาศใหว้ นั เขา้ พรรษาเป็นวนั ห้ามขายเครืองดมื แอลกอฮอลท์ ัวราชอาณาจักร ท้ังนีเ้ พือรณรงค์ให้ชาวไทยตัง้
สัจจะอธิษฐานงดการดืมสรุ าในวนั เขา้ พรรษาและในชว่ ง ๓ เดอื นระหวา่ งฤดเู ขา้ พรรษา เพือสง่ เสริมคา่ นยิ มทดี ี
ให้แกส่ งั คมไทย

ความสาคญั และประโยชนข์ องการเขา้ พรรษา

ช่วงเข้าพรรษานน้ั เป็นช่วงเวลาทีชาวบ้านประกอบอาชพี ทา่ ไร่นา ดงั นัน้ การก่าหนดใหภ้ ิกษสุ งฆ์หยุดการ
เดนิ ทางจารกิ ไปในสถานทตี า่ งๆ ก็จะชว่ ยให้พันธ์ุพืชของต้นกลา้ หรือสตั วเ์ ลก็ สัตว์น้อย ไมไ่ ดร้ ับความเสียหายจาก
การเดนิ ธุดงค์ หลงั จากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพทุ ธศาสนามาเป็นเวลา 8 - 9 เดอื น ช่วงเข้าพรรษาเปน็ ช่วงทีให้
พระภกิ ษสุ งฆ์ได้หยดุ พักผอ่ น เปน็ เวลาทีพระภกิ ษุสงฆ์จะได้ประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรมส่าหรับตนเอง และศกึ ษาเล่าเรียน
พระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสังสอนให้กบั ประชาชนเมือถงึ วนั ออกพรรษา เพือจะได้มโี อกาสอบรมสงั สอน
และบวชให้กบั กุลบตุ รผู้มีอายุครบบวช อนั เป็นก่าลงั สา่ คัญในการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาตอ่ ไป เพือให้
พทุ ธศาสนกิ ชน ได้มีโอกาสบ่าเพ็ญกุศลเปน็ การพเิ ศษ เช่น การท่าบญุ ตักบาตร หลอ่ เทียนพรรษา ถวายผา้ อาบ
น่า้ ฝน รักษาศลี เจริญภาวนา ถวายจตปุ ัจจยั ไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟงั พระธรรมเทศนา
ตลอดเวลาเขา้ พรรษา

มลู เหตุท่ีพระพทุ ธเจ้าอนุญาตการจาพรรษาแก่พระสงฆ์

ในสมยั ต้นพุทธกาล พระพุทธเจา้ ไม่ได้ทรงวางระเบยี บเรืองการเขา้ พรรษาไว้ แตก่ ารเขา้ พรรษาน้ันเป็นสิง
ทีพระพุทธองค์และพระสงฆ์สาวกปฏิบตั กิ นั มาโดยปกตเิ นืองดว้ ยพุทธจริยาวตั รในอนั ทจี ะไมอ่ อกไปจาริกตาม
สถานทตี า่ ง ๆ ในช่วงฤดฝู นอยู่แล้ว เพราะการคมนาคมมีความลา่ บาก และโดยเฉพาะอย่างยิงพระสงฆ์ในชว่ งตน้
พุทธกาลมีจา่ นวนน้อยและส่วนใหญ่เปน็ พระอริยะบุคคล จงึ ทราบดวี า่ สิงใดทีพระสงฆ์ควรหรอื ไม่ควรกระท่าต่อมา
เมอื มีพระสงฆม์ ากขนึ้ และดว้ ยพระพทุ ธจริยาทีพระพุทธเจ้าจะไม่ทรงบญั ญัตพิ ระวนิ ยั ล่วงหนา้ ท่าใหพ้ ระพุทธเจ้า
จงึ ไม่ได้ทรงบญั ญัติเรืองให้พระสงฆ์สาวกอยปู่ ระจา่ พรรษาไวด้ ว้ ย จึงเกดิ เหตกุ ารณ์กลมุ่ พระสงฆ์ฉัพพัคคีย์พากัน
ออกเดินทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทตี ่าง ๆ โดยไมย่ อ่ ท้อทง้ั ในฤดหู นาว ฤดรู ้อน และฤดฝู น ท่าให้ชาวบา้ นได้พา
กนั ตเิ ตียนว่า พวกพระสงฆใ์ นพระพทุ ธศาสนาไม่ยอมหยดุ พักสญั จรแม้ในฤดูฝน ในขณะทีนักบวชในศาสนาอนื พา

17

กันหยุดเดินทางในช่วงฤดูฝน การทีพระภิกษุสงฆ์จารกิ ไปในทตี า่ งๆ แม้ในฤดูฝน อาจเหยียบย่าข้าวกลา้ ของ
ชาวบ้านได้รับความเสยี หาย หรอื อาจไปเหยยี บย่าโดนสตั ว์เล็กสัตว์น้อยทีออกหากนิ จนถึงแกค่ วามตาย เมือ
พระพุทธเจา้ ทราบเรือง จงึ ได้วางระเบียบให้ภิกษปุ ระจ่าอยู่ ณ ทีใดทหี นึง เปน็ เวลา ๓ เดือนดงั กล่าว

การเขา้ พรรษาของพระสงฆ์ตามพระวินยั ปิฎก ตามพระวนิ ัย พระสงฆร์ ูปใดไม่เข้าจ่าพรรษาอยู่ ณ ทีแหง่
ใดแหง่ หนงึ พระพุทธองคท์ รงปรบั อาบตั แิ ก่พระสงฆ์รปู นน้ั ด้วยอาบัติทุกกฎ และพระสงฆ์ทอี ธิษฐานรบั ค่าเข้าจา่
พรรษาแล้วจะไปคา้ งแรมทีอืนไม่ได้ แต่ถ้าหากเดนิ ทางออกไปแลว้ และไม่สามารถกลับมาในเวลาทีก่าหนด คือ กอ่ น
ร่งุ สว่าง กจ็ ะถือวา่ พระภิกษรุ ูปนั้น"ขาดพรรษา" และต้องอาบตั ทิ กุ กฎเพราะรบั คา่ น้ัน รวมท้ังพระสงฆร์ ปู น้นั จะ
ไมไ่ ด้รับอานสิ งส์พรรษา ไม่ได้อานสิ งสก์ ฐนิ ตามพระวินัย และทัง้ ยงั หา้ มไมใ่ หน้ บั พรรษาทีขาดนัน้ อีกด้วย

ประเภทของการเขา้ พรรษาของพระสงฆ์ การเขา้ พรรษาตามพระวินยั แบง่ ได้เปน็ ๒ ประเภท คือ
ปุรมิ พรรษา (เขียนอกี อยา่ งวา่ บุรมิ พรรษา) คอื การเข้าพรรษาแรก เรมิ ตั้งแต่วนั แรม ๑ ค่า เดอื น ๘ (ส่าหรบั ปี
อธกิ มาส คือ มเี ดือน ๘ สองหน จะเรมิ ในวันแรม ๑ ค่า เดือน ๘ หลัง) จนถึงวันขึ้น ๑๕ คา่ เดอื น ๑๑ หลังจาก
ออกพรรษาแลว้ พระทีอยู่จ่าพรรษาครบ ๓ เดือน ก็มีสิทธิทจี ะรบั กฐินซึงมีชว่ งเวลาเพียงหนึงเดือน นับตง้ั แต่วัน
แรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ ถงึ ขึน้ ๑๕ ค่า เดอื น ๑๒
ปัจฉมิ พรรษา คอื การเขา้ พรรษาหลัง ใช้ในกรณีทีพระภกิ ษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตสุ ดุ วสิ ยั ท่าใหก้ ลบั มา
เข้าพรรษาแรกในวันแรม ๑ ค่า เดือน ๘ ไมท่ ัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวนั แรม ๑ ค่า เดอื น ๙ แลว้ จะไปออก
พรรษาในวนั ขึน้ ๑๕ คา่ เดือน ๑๒ ซงึ เปน็ วนั หมดเขตทอดกฐินพอดี ดงั นนั้ พระภกิ ษุทีเข้าปจั ฉิมพรรษาจงึ ไม่มี
โอกาสได้รับกฐนิ แตก่ ็ได้พรรษาเช่นเดียวกบั พระทเี ข้าปุริมพรรษาเหมือนกนั

ขอ้ ยกเวน้ การจาพรรษาของพระสงฆ์

แม้การเขา้ พรรษานี้ถือเปน็ ข้อปฏบิ ตั ิส่าหรบั พระภกิ ษุโดยตรง ทจี ะละเวน้ ไม่ได้ ไม่ว่ากรณใี ด ๆ ก็ตาม แต่
ว่าในการจ่าพรรษาของพระสงฆใ์ นระหวา่ งพรรษานน้ั อาจมกี รณจี ่าเปน็ บางอย่าง ทา่ ให้พระภกิ ษุผ้จู ่าพรรษาตอ้ ง
ออกจากสถานทีจ่าพรรษาเพือไปค้างทีอืน พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ท่าไดโ้ ดยไม่ถือวา่ เปน็ การขาดพรรษาโดย
มีเหตุจ่าเปน็ เฉพาะกรณี ๆ ไป ตามทที รงระบไุ วใ้ นพระไตรปิฎก ซงึ สว่ นใหญจ่ ะเกียวกับการพระศาสนาหรือการอุ
ปัฏฐานบิดามารดา แตท่ ง้ั น้ีก็จะตอ้ งกลบั มาภายในระยะเวลาไม่เกนิ ๗ วนั การออกนอกทจี ่าพรรษาลว่ งวนั เชน่ น้ี
เรียกว่า "สัตตาหกรณยี ะ" ซงึ เหตทุ ีทรงระบุวา่ จะออกจากทีจ่าพรรษาไปไดช้ ัวคราวนนั้ เช่น

๑.การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภกิ ษุหรอื บิดามารดาทเี จ็บป่วย เป็นตน้ กรณีนที้ า่ ไดก้ ับสหธรรมิก ๕
และมารดาบิดา

๒.การไประงับภิกษสุ ามเณรทีอยากจะสกึ มิให้สึกได้ กรณีน้ีท่าได้กับสหธรรมิก ๕

๓.การไปเพือกจิ ธุระของคณะสงฆ์ เชน่ การไปหาอุปกรณ์มาซอ่ มกุฏิทชี ่ารุด หรือ การไปทา่ สงั ฆกรรม เชน่
สวดญตั ตจิ ตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เปน็ ต้น

๔.หากทายกนมิ นต์ไปท่าบุญ กไ็ ปให้ทายกได้ใหท้ าน รับศีล ฟงั เทสนาธรรมได้ กรณนี ้ีหากโยมไมม่ านิมนต์
ก็จะไปค้างไม่ได.้

ซึงหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณยี ะล่วงก่าหนด ๗ วนั ตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาดพรรษา
และเป็นอาบตั ิทุกกฎเพราะรับคา่ (รับค่าอธิษฐานเขา้ พรรษาแตท่ า่ ไม่ได้) ในกรณีทีพระสงฆส์ ัตตาหกรณยี ะและ

18

กลบั มาตามก่าหนดแล้ว ไมถ่ ือวา่ เป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจ่าพรรษาต่อเนืองไปได้ และหากมีเหตจุ า่ เปน็ ที
จะตอ้ งออกจากทีจ่าพรรษาไปไดต้ ามวินยั อีก ก็สามารถท่าได้โดยสัตตาหกรณียะ แตต่ อ้ งกลบั มาภายในเจ็ดวนั เพือ
ไม่ให้พรรษาขาดและไมเ่ ป็นอาบัตทิ กุ กฎดงั กลา่ วแล้ว

อานิสงส์การจาพรรษาของพระสงฆ์ที่จาครบพรรษา

เมอื พระสงฆ์จา่ พรรษาครบไตรมาสได้ปวารณาออกพรรษาและได้กรานกฐนิ แลว้ ยอ่ มได้รับอานิสงส์ หรอื
ขอ้ ยกเวน้ พระวินัย ๕ ข้อคือ

๑.เทยี วไปไหนไม่ตอ้ งบอกลา (ออกจากวดั ไปโดยไม่จา่ เปน็ ต้องแจ้งเจ้าอาวาสหรือพระสงฆร์ ูปอนื ก่อนได)้
๒.เทยี วไปไม่ต้องถือไตรจีวรครบสา่ รบั 3 ผนื
๓.ฉนั คณะโภชน์ได้ (ลอ้ มวงฉันได)้
๔.เกบ็ อดิเรกจวี รไว้ไดต้ ามปรารถนา (ยกเวน้ สกิ ขาบทข้อนิสสคั คิยปาจติ ตียบ์ างขอ้ )
๕.จวี รลาภอันเกดิ ในทีน้ันเปน็ ของภกิ ษุ (เมือมีผมู้ าถวายจวี รเกนิ กว่าไตรครองสามารถเกบ็ ไวไ้ ด้โดยไม่ตอ้ ง
สละเขา้ กองกลาง)

การถือปฏิบัตกิ ารเข้าพรรษาของพระสงฆไ์ ทยในปจั จบุ นั

การเข้าพรรษานัน้ ปรากฏในพระไตรปฎิ กเถรวาท ซงึ พระสงฆ์ในนิกายเถรวาททุกประเทศจะถือการ
ปฏิบตั กิ ารเข้าจ่าพรรษาเหมอื นกนั (แต่อาจมคี วามแตกต่างกันบา้ งในการใหค้ วามส่าคญั และรายละเอยี ดประเพณี
ปฏบิ ัตขิ องแต่ละท้องถิน)

การเตรยี มตวั เขา้ จ่าพรรษาของพระสงฆ์ในปจั จุบนั เมือถงึ วันเขา้ พรรษา พระสงฆใ์ นวัดจะรวมตัวกัน
อธษิ ฐานจา่ พรรษาภายในวหิ ารหรืออโุ บสถของวัดการเข้าจ่าพรรษาคือการตง้ั ใจเพืออยู่จา่ ณ อาวาสใดอาวาสหนงึ
หรอื สถานทใี ดสถานทีหนึงเป็นประจ่าตลอดพรรษา 3 เดือนดงั นั้นกอ่ นเขา้ จ่าพรรษาพระสงฆ์ในวัดจะเตรียมตวั โดย
การซอ่ มแซมเสนาสนะปัดกวาดเช็ดถูให้เรียบรอ้ ยก่อนถงึ วันเขา้ พรรษา

เมอื ถึงวันเขา้ พรรษา สว่ นใหญ่พระสงฆจ์ ะลงประกอบพิธอี ธษิ ฐานจา่ พรรษาหลงั สวดมนตท์ ่าวัตรเย็นเป็น
พธิ เี ฉพาะของพระสงฆ์ ซงึ ส่วนใหญ่จะลงประกอบพธิ ี ณ อุโบสถ หรือสถานทีใดตามแตจ่ ะสมควรภายในอาวาสที
จะจ่าพรรษา โดยเมือทา่ วตั รเยน็ ประจ่าวนั เสรจ็ แลว้ เจา้ อาวาสจะประกาศเรือง วัสสปู นายิกา คือการก่าหนดบอก
ให้ให้พระสงฆ์ท้ังปวงรูถ้ ึงข้อก่าหนดในการเข้าพรรษาโดยมีสาระส่าคญั ดงั น้ี

๑.แจง้ ให้ทราบเรืองการเข้าจ่าพรรษาแกพ่ ระสงฆ์ในอาราม
๒.แสดงความเป็นมาและเนือ้ หาของวสั สูปนายิกาตามพระวนิ ยั ปิฏก
๓.ก่าหนดบอกอาณาเขตของวดั ทีพระสงฆ์จะรักษาอรณุ หรือรกั ษาพรรษาใหช้ ดั เจน (รกั ษาอรณุ คือตอ้ ง
อยใู่ นอาวาสทกี า่ หนดกอ่ นอรุณข้นึ จึงจะไม่ขาดพรรษา)
๔.หากมีภิกษผุ ูเ้ ป็นเสนาสนคาหาปกะ ก็ท่าการสมมตุ เิ สนาสนคาหาปกะ (เจ้าหน้าทีสงฆ)์ เพือใหเ้ ป็นผู้
กา่ หนดใหพ้ ระสงฆร์ ูปใดจ่าพรรษา ณ สถานทใี ดในวดั
เมอื แจ้งเรืองดังกล่าวเสรจ็ แล้ว อาจจะมกี ารทา่ สามจี ิกรรม คือกลา่ วขอขมาโทษซงึ กนั และกัน เพอื เปน็ การ
แสดงความเคารพซึงกนั และกันระหวา่ งพระเถระและพระผู้นอ้ ย และเปน็ การสร้างสามัคคีกันในหมู่คณะดว้ ย
จากนัน้ จึงทา่ การอธษิ ฐานพรรษา เปน็ พิธกี รรมทีส่าคญั ทีสดุ โดยการเปล่งวาจาวา่ จะอยจู่ ่าพรรษาตลอดไตรมาส

19

โดยพระสงฆส์ ามเณรทั้งอารามกราบพระประธาน ๓ ครงั้ แลว้ เจ้าอาวาสจะน่าตั้งนโม ๓ จบ และนา่ เปล่งคา่
อธษิ ฐานพรรษาพร้อมกันเป็นภาษาบาลวี ่า อิมสฺมิ˚ อาวาเส อมิ ่ เตมาส่ วสสฺ ่ อเุ ปมิ
(ถ้ากล่าวหลายคนใช้: อุเปม)

หลังจากน้ี ในแต่ละวัดจะมขี ้อปฏิบตั ิแตกต่างกนั ไป บางวัดอาจจะมีการเจริญพระพุทธมนต์ต่อ และเมอื
เสร็จแล้วอาจจะมีการสกั การะสถูปเจดีย์ ตน้ พระศรีมหาโพธ์ิ ภายในวัดอีกตามแตจ่ ะเห็นสมควร เมือพระสงฆ์
สามเณรกลบั เสนาสนะของตนแล้ว อาจจะอธษิ ฐานพรรษาซ่า้ อกี เฉพาะเสนาสนะของตนก็ได้ โดยกล่าววาจา
อธิษฐานเป็นภาษาบาลีวา่ อิมสมฺ ิ˚ วหิ าเร อิม่ เตมาส่ วสสฺ ่ อเุ ปมิ (ถา้ กล่าวหลายคนใช้: อุเปม)
เป็นอนั เสรจ็ พิธอี ธิษฐานเข้าจ่าพรรษาสา่ หรับพระสงฆ์ และพระสงฆ์จะต้องรักษาอรณุ ไมใ่ หข้ าดตลอด ๓ เดือนนับ
จากน้ี โดยจะตอ้ งรกั ษาผา้ ไตรจีวรตลอดพรรษากาล คือ ต้องอยกู่ บั ผา้ ครองจนกว่าจะรงุ่ อรณุ ดว้ ย

การศึกษาพระธรรมวนิ ยั ของพระสงฆใ์ นระหวา่ งพรรษาในปัจจุบนั

ในอดีต การเข้าพรรษามีประโยชน์แกพ่ ระสงฆใ์ นด้านการศึกษาพระธรรมวนิ ัย โดยการทีพระสงฆ์จากที
ต่าง ๆ มาอยู่จ่าพรรษารวมกันในทีใดทีหนึง พระสงฆเ์ หล่านัน้ กจ็ ะมีการแลกเปลียนความรแู้ ละถ่ายองค์ความรตู้ าม
พระธรรมวินัยให้แกก่ นั มาในปัจจุบัน การศึกษาพระธรรมวินยั ในช่วงเขา้ พรรษาในประเทศไทยก็ยงั จดั เป็นกิจ
ส่าคญั ของพระสงฆ์ โดยพระสงฆท์ ีอปุ สมบททุกรูป แม้จะอุปสมบทเพยี งเพือชวั เข้าพรรษาสามเดอื น กจ็ ะต้องศึกษา
พระธรรมวนิ ยั เพิมเตมิ ปจั จุบันพระธรรมวินัยถูกจดั เปน็ หลักสูตรของคณะสงฆ์ ในหลักสูตร พระธรรม จะเรียกวา่
ธรรมวภิ าค พระวินัย เรียกวา่ วินัยมุข รวมเรยี กวา่ "นักธรรม" ชน้ั ตา่ ง ๆ โดยจะมกี ารสอบไล่ความรู้พระปรยิ ัติธรรม
ในชว่ งออกพรรษา เรยี กวา่ การสอบธรรมสนามหลวง ในช่วงวันขน้ึ ๙ – ๑๒ ค่า เดอื น ๑๑ (จดั สอบนักธรรมชน้ั ตรี
ส่าหรับพระภกิ ษุสามเณร) และช่วงวันแรม ๒ – ๕ คา่ เดือน ๑๒ (จัดสอบนกั ธรรมชน้ั โทและเอก สา่ หรบั พระภิกษุ
สามเณร) ปัจจบุ นั การศกึ ษาเฉพาะในชน้ั นักธรรมตรีส่าหรับพระนวกะ หรอื พระบวชใหม่ จะจัดสอบในชว่ งปลาย
ฤดูเข้าพรรษา เพอื อ่านวยความสะดวกให้แก่ผู้ทจี ะลาสกิ ขาบทหลังออกพรรษา จะไดต้ ัง้ ใจเรียนพระธรรมวินยั เพือ
สอบไลใ่ ห้ได้นกั ธรรมในชั้นนดี้ ้วย
การถือปฏบิ ตั ิประเพณีการบาเพ็ญกุศลเนือ่ งในเทศกาลเข้าพรรษาในประเทศไทย

การถือปฏบิ ัตปิ ระเพณีการบา่ เพญ็ กุศลเนอื งในเทศกาลเข้าพรรษาในประเทศไทย สนั นษิ ฐานว่าเริมมีมาแต่
แรกทรี ับพระพุทธศาสนาเถรวาทเข้ามาในดินแดนประเทศไทย ซึงอาจมปี ฏบิ ัตปิ ระเพณนี ี้มาตง้ั แตส่ มัยทวาราวดี
แตม่ าปรากฏหลักฐานชดั เจนวา่ ชาวไทยได้ถือปฏิบตั ิในการบา่ เพญ็ กศุ ลในเทศกาลเขา้ พรรษาในสมัยกรุงสโุ ขทยั เป็น
ราชธานี ดงั ปรากฏความในศิลาจารึกหลกั ที ๑ (ด้านที ๒) ดงั นี้

... คนในเมอื งสโุ ขทยั นี้ มักทาน มักทรงศีล มนั โอยทาน พ่อขุนรามคา่ แหงเจา้ เมืองสุโขทยั น้ี ทังชาวแมช่ าว
เจ้า ทว่ ยปั่วท่วยนาง ลูกเจ้าลกู ขนุ ท้ังส้นิ ทังหลายทังผูช้ ายผูญ้ ีง ฝูงทว่ ยมศี รัทธาในพระพุทธศาสน ทรงศีลเมือ
พรรษาทุกคน เมือโอกพรรษากรานกฐนิ เดือนณงื จีงแลว้ เมอื กรานกฐนิ มพี นมเบ้ีย มีพนมหมาก มีพนมดอกไม้ มี
หมอนนังหมอนโนน บรพิ ารกฐิน โอยทานแล่ปีแล้ญบิ ลา้ น ไปสูดญัตกฐินเถงิ อไรญิกพนู้ เมือจักเข้ามาเวียง เรียงกนั
แตอ่ ไรญกิ พู้นเทา้ หวั ลาน ดมบงั คมกลองดว้ ยเสยี งพาทยเ์ สียงพณี เสยี งเลื้อนเสยี งขบั ใครจกั มกั เล่น เลน่ ใครจักมกั
หัว หัว ใครจกั มกั เลื้อน เล้อื น เมอื งสโุ ขทัยน้ีมสี ีปากปตหู ลวง เทย้ี รยอ่ มคนเสยี ดกัน เขา้ มาดทู า่ นเผาเทียนท่านเล่น
ไฟ เมืองสโุ ขทัยน้ีมีดังจักแตก ...

20

คาอา่ นศลิ าจารึกพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ดา้ นท่ี ๒
นอกจากน้ีในหนังสือต่ารบั ท้าวศรีจฬุ าลักษณ์ยังไดก้ ลา่ วถึงการเทศกาลเขา้ พรรษาในสมัยสุโขทัยไวอ้ ีกว่า

"เมือถงึ วันขึน้ ๑๔ คา่ ทั้งทหารบก และทหารเรือก็จัดขบวนแหเ่ ทยี นจา่ นา่ พรรษา ทั้งใส่คานหาบไปและลงเรือ
ประดิษฐานอย่ใู นบษุ บกทองค่า ประดับ ธงทวิ ตกี ลอง เป่าแตรสังข์ แห่ไป ครนั้ ถงึ พระอารามแลว้ ก็ยกต้นเทยี นนัน้
เข้าไปถวายในพระอุโบสถ หอพระธรรมและพระวิหาร จุดตามใหส้ ว่างไสวในทนี ้ัน ๆ ตลอด ๓ เดือน ดงั นที้ ุกพระ
อาราม" ซงึ ต่ารบั ทา้ วศรจี ฬุ าลักษณ์นน้ั สันนิษฐานว่าแตง่ ข้นึ ในสมยั รัตนโกสินทรโ์ ดยมี ตามความทีสมเดจ็ กรมพระ
ยาด่ารงราชานุภาพ ได้ทรงอธิบายเกยี วกับเค้าโครงของหนังสือน้วี า่ แมม้ เี คา้ โครงมาจากสมัยสโุ ขทัย แตร่ ายละเอียด
มีการแตง่ เสรมิ กันขึ้นมาในสมัยอยุธยาหรือรตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น

ประเพณเี นือ่ งดว้ ยการเข้าพรรษาในประเทศไทย

ในประเทศไทยมปี ระเพณมี ากมายทีเกียวข้องกับการเข้าจา่ พรรษาของพระสงฆ์ไทยมาชา้ นาน ดงั ปรากฏ
ประเพณมี ากมายทีเกียวกับการเขา้ จ่าพรรษา เชน่ ประเพณีถวายเทียนพรรษา แกพ่ ระสงฆ์เพือจุดบชู าตามอาราม
และเพือถวายให้พระสงฆส์ ามเณรน่าไปจุดเพืออา่ นคัมภีรท์ างพระพุทธศาสนาในระหวา่ งเขา้ จ่าพรรษา ประเพณี
การถวายผา้ อาบนา่้ ฝน หรอื ผ้าวสั สกิ สาฏก แกพ่ ระสงฆ์ก่อนเขา้ พรรษา เพือให้พระสงฆ์น่าไปใชส้ รงน่า้ ฝนในพรรษา
และโดยเฉพาะอย่างยิงงานทีพทุ ธศาสนิกชนไทยถือว่าเป็นงานบุญใหญป่ ระจ่าปคี ือ ประเพณีถวายผ้ากฐิน ทจี ดั หลงั
พระสงฆ์ปวารณาออกพรรษา เพอื ถวายผา้ กฐนิ แก่พระสงฆ์ทีจา่ ครบพรรษาจะได้กรานและไดร้ บั อานิสงสก์ ฐนิ เปน็
ตน้

ประเพณีถวายเทียนพรรษา

เทียนพรรษาในปัจจุบันใช้ประโยชน์เพียงจุดบูชาพระพุทธปฏิมา ไม่ได้ใช้ประโยชน์ในการศึกษาพระธรรม
เหมือนในอดีตอีกแล้ว จึงท่าให้ในปัจจุบันเริมมีชาวพุทธน่าอุปกรณ์ไฟฟ้าทีให้แสงสว่างไปถวายแก่พระสงฆ์แทน
เทียนพรรษาซึงจะให้ประโยชน์มากกว่าใช้จุดบูชาเท่านั้น มีประเพณีหนึงทีเนืองด้วยวันเข้าพรรษาและจัดเป็น
ประเพณีทีส่าคัญและสืบทอดกันเรือยมา ก็คือ ประเพณีหล่อเทียนพรรษา ส่าหรับให้พระภิกษุและพุทธศาสนิกชน
ทัวไปได้จุดบูชาพระประธานในโบสถ์ซึงเทียนพรรษาสามารถอยู่ได้ตลอด ๓ เดือน และเป็นกุศลทานอย่างหนึงใน
การใหท้ านด้วยแสงสว่าง ซึงในปัจจุบนั ได้พัฒนามาเป็นงานประเพณี "ประกวดเทียนพรรษา" ของแตล่ ะจงั หวัดโดย
จั ด เ ป็ น ข บ ว น แ ห่ ทั้ ง ท า ง บ ก แ ล ะ ท า ง น่้ า

การถวายเทยี นเพือจุดตามประทปี เป็นพทุ ธบูชานั้น มาจากอานิสงส์การถวายเทยี นเพือจุดเป็นพุทธบชู า ที
ปรากฏความในพระไตรปิฎก และในคัมภีร์อรรถกถา ว่าพระอนุรุทธะเถระ เคยถวายเทียนบูชาทา่ ให้ได้รับอานิสงส์
มากมาย รวมถึงได้เป็นผู้มีจักษุทิพย์ (ตาทิพย์) ด้วย ด้วยการพรรณาอานิสงส์ดังกล่าว อาจท่าให้ชาวพุทธนิยมจุด
ประทีปเป็นพุทธบูชามานานแล้ว แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าการท่าเทยี นพรรษาในประเทศไทยถวายเริมมมี าแต่สมัย
ใด แต่ปรากฏความในต่ารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ทีพรรณาการบ่าเพ็ญกุศลในช่วงเข้าพรรษาว่ามีการถวายเทียน
พรรษาด้วย ในประเทศไทย การถวายเทยี นเขา้ พรรษาจัดเป็นพิธใี หญ่มาตัง้ แตส่ มัยสุโขทยั ในสมยั รัตนโกสินทรก์ าร

21

ถวายเทียนเข้าพรรษาถือเป็นพระราชกรณียกิจส่าคัญ โดยจะเรียกว่าพุ่มเทียน มีการพระราชทานถวายพุ่มเทียน
รวมพงึ โคมเพอื จุดบชู าตามอารามต่าง ๆ ทง้ั ในพระนครและหัวเมือง ซงึ พธิ ีนี้ยงั คงมีมาจนปัจจบุ นั

การถวายเทียนพรรษาโดยแกะสลักเป็นลวดลายต่าง ๆ น้ัน มีมาแต่โบราณ เดิมเป็นประเพณีราชส่านัก
ดงั ทีปรากฏในเทียนรุ่งเทียนหลวงตามพระอารามต่าง ๆ ส่าหรับเทียนแกะสลักทีปรากฏว่ามีการจัดท่าประกวดกัน
เปน็ เรืองราวใหญ่โตในปัจจบุ ันนนั้ พงึ เริมมเี มือปี พ.ศ. ๒๔๘๓ ในจังหวัดอุบลราชธานี โดยนายโพธ์ิ สง่ ศรี ได้เริมท่า
แม่พิมพ์ปูนซีเมนต์เพือหล่อขี้ผ้ึงเป็นท่าลวดลายไทยไปประดับติดพิมพ์บนเทียนพรรษา นับเป็นการจัดท่าเทียน
พรรษาแกะสลักของช่างราษฏร์เป็นคร้ังแรก และนายสวน คูณผล ได้ท่าลวดลายนูนสลับสีต่าง ๆ เข้าประกวดจน
ชนะเลิศ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๙๗ จึงเริมมีการท่าเทียนพรรษาติดพิมพ์ประกวดแบบพิสดารโดยนายประดับ ก้อน
แก้ว คือท่าเป็นรปู พุทธประวัติติดพิมพ์จนได้รบั รางวัลชนะเลิศติดต่อกันมาหลายปี จนปี พ.ศ. ๒๕๐๒ นายค่าหมา
แสงงาม ช่างแกะสลัก ได้ท่าเทียนพรรษาแบบแกะสลักมาประกวดเป็นครั้งแรกจนได้รับรางวัลชนะเลิศ จากน้ันจึง
ได้มีการแยกประเภทการประกวดต้นเทียนเป็นสองแบบคือ ประเภทติดพมิ พ์ และประเภทแกะสลกั จนในชว่ งหลัง
ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ นายอุตสาห์ และนายสมัย แสงวิจิตร ได้เริมมีการจัดท่าเทียนพรรษาขนาดใหญ่โต ท่าเป็นหุ่นและ
เรอื งราวต่าง ๆ ซึงเปน็ ลักษณะของเทียนพรรษาขนาดใหญ่ทปี รากฏในปัจจุบัน

ในอดตี การหลอ่ เทียนเข้าพรรษาถือเป็นพิธีสา่ คัญทีชาวพุทธจะมารวมตัวกันน่าขี้ผึง้ มาหลอมรวมเป็นแท่ง
เทียนเพือถวายแก่พระสงฆ์ แต่ในปัจจุบันชาวพุทธส่วนใหญ่จะนิยมการซื้อหาเทียนพรรษาจากร้านสังฆภัณฑ์ โดย
บางส่วนมีการปรับเปลียนไปซื้ออุปกรณ์ไฟฟ้าทีให้แสงสว่างถวายแก่พระสงฆ์แทนด้วย ซงึ นับเปน็ การปรับเปลียนที
ได้ประโยชน์แก่พระสงฆ์โดยตรง เพราะปัจจุบันไม่ได้มีการน่าเทียนมาจุดเพืออ่านหนังสืออีกแล้ว พระสงฆ์คงน่า
เทยี นไปจุดบชู าตามอุโบสถวิหารเท่านัน้

ประเพณถี วายผา้ อาบนาฝน (ก่อนเขา้ พรรษา)

ผ้าอาบน่้าฝน หรือ ผ้าวัสสิกสาฏก คอื ผ้าเปลียนส่าหรับสรงน้่าฝนของพระสงฆ์ เป็นผ้าลกั ษณะเดยี วกับผ้า
สบง โดยปรกติเครืองใช้สอยของพระภิกษุตามพุทธานุญาตทีให้มีประจ่าตัวนั้น มีเพียง อัฏฐบริขาร ซึงได้แก่ สบง
จีวร สังฆาฏิ เข็ม บาตร รัดประคด หม้อกรองน่้า และมีดโกน แต่ช่วงหน้าฝนของการจ่าพรรษาในสมั ยก่อนนั้น
พระสงฆ์ทีมีเพียงสบงผืนเดียวจะอาบน่้าฝนจ่าเป็นต้องเปลือยกาย ท่าให้ดูไม่งามและเหมือนนักบวชนอกศาสนา
นางวิสาขามหาอุบาสิกาจึงคิดถวาย "ผ้าวัสสิกสาฏก" หรือทีเรียกกันโดยทัวไปว่า ผ้าอาบน่้าฝน เพือให้พระสงฆ์ได้
ผลัดเปลียนกับผ้าสบงปกติ จนเป็นประเพณีท่าบุญสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน โดยปรากฏสาเหตุความเป็นมาของ
การถวายผ้าอาบน้่าฝนในพระไตรปิฎกดังนี้ ครั้งหนึงสมัยพุทธกาล พระศาสดาประทับ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
นางวิสาขาได้มาฟังธรรม แล้วทูลอาราธนาพระศาสดาและหมู่สงฆ์ไปฉันทีบ้านของนางในวันรุ่งขึ้น เช้าวันนั้น เกิด
ฝนตกครั้งใหญ่ ตกในทวีปทง้ั ๔ พระศาสดาจึงรับสังให้ภิกษุทั้งหลายสรงสนานกาย พระสงฆ์ท้ังหลายทีไม่มีผ้าอาบ
น้่ า ฝ น จึ ง อ อ ก ม า ส ร ง น่้ า ฝ น โ ด ย ร่ า ง เ ป ลื อ ย ก า ย อ ยู่
พอดีกับนางวิสาขามหาอุบสิกาสังให้นางทาสีไปนิมนต์ภิกษุมารับภัตตาหารทีบ้านของตน เมือนางทาสีไปถึงทีวัด
เหน็ ภกิ ษเุ ปลื้องผ้าสรงสนานกาย กเ็ ขา้ ใจวา่ ในอารามมแี ต่พวกชีเปลือย (อาชีวกนอกพระพุทธศาสนา) ไมม่ ีภิกษุอยู่

22

จึงกลับบ้าน ส่วนนางวิสาขานั้นเป็นสตรีทีฉลาดรู้แจ้งในเหตุการณ์ท้ังปวง เมือถวายภัตตาหารแก่พระสงฆ์มี
พระพุทธเจา้ เป็นประมขุ ในวันนั้นแล้ว จึงได้โอกาสอันควรทูลขอพร ๘ ประการตอ่ พระศาสดา

พระศาสดาทรงอนญุ าตพร ๘ ประการคือ

๑.ขอถวายผ้าวสั สิกสาฎก (ผ้าอาบนา่้ ) แกพ่ ระสงฆเ์ พือปกปิดความเปลือยกาย
๒.ขอถวายภตั แต่พระอาคันตุกะ เนืองจากพระอาคันตกุ ะไม่ช่านาญหนทาง
๓.ขอถวายคมิกภตั แก่พระผเู้ ตรียมตัวเดนิ ทาง เพือจะได้ไม่พลดั จากหมู่เกวียน
๔.ขอถวายคลิ านภตั แกพ่ ระอาพาธ เพือไม่ใหอ้ าการอาพาธก่าเริบ
๕.ขอถวายภตั แก่พระผู้พยาบาลพระอาพาธ เพือใหท้ ่านน่าคิลานภตั ไปถวายพระอาพาธไดต้ ามเวลา และ
พระผู้พยาบาลจะได้ไมอ่ ดอาหาร
๖.ขอถวายคลิ านเภสชั แก่พระอาพาธ เพือให้อาการอาพาธทุเลาลง
๗.ขอถวายยาคเู ป็นประจา่ แก่สงฆ์
๘.ขอถวายผา้ อุทกสาฎก (ผ้าอาบนา่้ ) แกภ่ กิ ษุณสี งฆ์เพือปกปดิ ความไม่งามและไม่ใหถ้ ูกเย้ยยนั
โดยนางวิสาขาได้ให้เหตุผลการถวายผา้ อาบน่า้ ฝนว่า เพือให้ใช้ปกปิดความเปลือยกายในเวลาสรงน่้าฝนของ
พระสงฆท์ ดี ูไมง่ ามดังกลา่ ว ดังนั้น นางวสิ าขาจงึ เป็นอบุ าสิกาคนแรกทีได้รบั อนุญาตให้ถวายผ้าอาบน้่าฝน (วัส
สิกสาฏก) แก่พระสงฆ์

ผา้ อาบนาฝน จึงถือเปน็ บรขิ ารพเิ ศษทพี ระพุทธเจา้ อนญุ าตใหพ้ ระสงฆ์ได้ใช้ ดังนน้ั จึงจา่ เป็นต้องทา่ ให้ถูกต้องตาม
พระวนิ ัยปิฎก มิเช่นน้ันพระสงฆ์จะต้องอาบัตินคิ สัคคิยปาจิตตีย์ คอื ต้องทา่ ผา้ กวา้ งยาวให้ถกู ขนาดตามพระวินยั
คือ ยาว ๖ คบื พระสคุ ต กว้าง ๒ คืบครึง ตามมาตราปัจจุบันคือ ยาว ๔ ศอก ๓ กระเบียด กว้าง ๑ ศอก ๑ คืบ ๔
นิ้ว ๑ กระเบียดเศษ ถา้ หากมีขนาดใหญ่กว่านี้ พระสงฆต์ อ้ งตัดใหไ้ ด้ขนาด จึงจะปลงอาบัติไดน้ อกจากน้ี
พระพุทธเจา้ ไดท้ รงวางกรอบเวลาในการแสวงหาผ้าอาบน่้าฝนไวด้ ว้ ย หากพระสงฆ์แสวงหาผ้าอาบนา่้ ฝนมาได้
ภายนอกก่าหนดเวลาดังกล่าว จะตอ้ งอาบัติ โดยพระพุทธเจ้ายังไดท้ รงวางกรอบเวลาในการแสวงหาผา้ อาบน่า้ ฝน
ไว้วา่ หากพระสงฆ์แสวงหาผา้ อาบน้า่ ฝนมาใช้ไดภ้ ายนอกก่าหนดเวลาดังกล่าว จะต้องอาบัตนิ ิสสคั คยิ ปาจิตตีย์
กล่าวคอื ทรงวางกรอบเวลาหรอื เขตกาลไว้ ๓ เขตกาลคือ

เขตกาลทีจะแสวงหา ช่วงปลายฤดูรอ้ น ต้งั แต่แรม ๑ ค่า เดือน ๗ ถงึ วนั เพ็ญเดอื น ๘ รวมเวลา ๑ เดอื น
เขตกาลทีจะทา่ นงุ่ ห่ม ชว่ งกึงเดอื นปลายฤดูร้อน ตัง้ แต่ขน้ึ ๑ ค่า เดือน ๘ ถึงวันเพ็ญเดือน ๘ รวมเวลา
ประมาณ ๑๕ วัน
เขตกาลทีจะอธิษฐานใชส้ อย ช่วงเข้าพรรษา ตัง้ แตแ่ รม ๑ คา่ เดอื น ๘ ถงึ วันเพญ็ เดือน ๑๒ รวมเวลา ๔
เดอื นด้วยกรอบพระพุทธานญุ าตและกรอบเวลาตามพระวินัยดงั กล่าว เมือถึงเวลาทีพระสงฆต์ ้องแสวงหาผ้าอาบ
น้่าฝน พุทธศานกิ ชนจึงถอื โอกาสบ่าเพ็ญกศุ ลดว้ ยการจดั หาผ้าอาบน้่าฝนมาถวายแก่พระสงฆ์ จนเป็นประเพณี
สา่ คญั เนืองในเทศกาลเข้าพรรษามาจนปจั จุบัน

ประเพณถี วายผ้าจานาพรรษา (หลงั ออกพรรษา)

23

ผ้าจ่าน่าพรรษา หรอื ผา้ วัสสาวาสกิ สาฎก เป็นผา้ ไตรจวี รทีถวายแก่พระสงฆท์ ีอยจู่ ่าพรรษาครบ ๓เดือน ที
ผ่านวันปวารณาไปแล้ว หรือทผี า่ นวันปวารณาและไดก้ รานและอนุโมทนากฐินแลว้ ซึงผ้าจา่ น่าพรรษานี้พระสงฆ์
สามารถรบั ได้ภายในกา่ หนด ๕ เดอื น ทเี ปน็ เขตอานิสงส์กฐิน คือ ต้ังแต่แรม ๑ คา่ เดือน ๑๑ ถงึ ขน้ึ ๑๕ ค่า เดอื น
๔ แตส่ า่ หรบั พระสงฆ์ทจี ่าพรรษาครบ ๓ เดอื น และผา่ นวันปวารณาไปแลว้ ซึงไมไ่ ด้กรานและอนุโมทนากฐนิ ก็
สามารถรบั และใชผ้ า้ จา่ น่าพรรษาไดเ้ ชน่ กนั แต่สามารถรบั ได้ในช่วงกา่ หนดเพียง ๑ เดอื น ในเขตจีวรกาลสา่ หรับผู้
ไม่ได้กรานกฐินเท่านัน้ การถวายผา้ จา่ นา่ พรรษาในชว่ งดงั กลา่ ว เพืออนุเคราะห์แก่พระสงฆท์ ตี ้องการจีวรมาเปลียน
ของเกา่ ทีชา่ รดุ พุทธศาสนกิ ชนจงึ นิยมถวายผ้าจ่านา่ พรรษามาตัง้ แต่สมยั พทุ ธกาล ในประเทศไทยก็ปรากฏวา่ มี
พระราชประเพณกี ารถวายผ้าจา่ น่าพรรษาแก่พระสงฆม์ าตงั้ แต่สมยั รชั กาลที 4 ตามความทีปรากฏในหนงั สอื พระ
ราชนพิ นธ์พระราชพธิ ี 12 เดือน ซงึ ปจั จุบันแม้ทางราชสา่ นักไดง้ ดประเพณนี ้ีไปแล้ว แตป่ ระเพณนี กี้ ย็ ังคงมีอยู่
สา่ หรบั ชาวบ้านทวั ไป โดยนิยมถวายเป็นผา้ ไตรแก่พระสงฆ์หลงั พธิ ีงานกฐิน แตเ่ ป็นทสี งั เกตว่าปัจจบุ นั จะเข้าใจผดิ
ว่าผ้าจ่านา่ พรรษาคือผ้าอาบน่้าฝน ซึงความจริงแลว้ มคี วามเปน็ มาและพระวินยั ทีแตกต่างกนั สิ้นเชงิ ประเพณีถวาย
ผา้ อจั เจกจีวร (ระหว่างเขา้ พรรษา)
ผา้ อัจเจกจวี ร แปลว่า จีวรรบี รอ้ น หรือผา้ ดว่ น คอื ผ้าจ่าน่าพรรษาทีถวายลว่ งหน้าในชว่ งเขา้ พรรษา ก่อนก่าหนด
จวี รกาลปกติ ดว้ ยเหตุรีบรอ้ นของผถู้ วาย เช่น ผถู้ วายจะไปรบทพั หรือเจ็บไข้ไม่ไว้ใจวา่ จะมีชวี ิตรอดหรือไมช่ ีวิต
หรือเปน็ บุคคลทีพงึ เกดิ ศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา ควรรบั ไว้ฉลองศรัทธา
อัจเจกจวี รเช่นนี้ พระวินยั อนุญาตให้พระสงฆ์รับเก็บไว้ได้ แตต่ อ้ งรบั ก่อนวนั ปวารณาไมเ่ กิน ๑๐ วัน (คือตั้งแต่ขน้ึ
๖ คา่ ถึง ๑๕ คา่ เดือน ๑๑) และต้องน่ามาใชภ้ ายในช่วงจวี รกาล ผา้ อจั เจกจีวรนี้ เปน็ ผา้ ทมี ีความมงุ่ หมายเดยี วกบั
ผา้ จา่ น่าพรรษา เพียงแต่ถวายก่อนฤดูจีวรกาลด้วยวตั ถปุ ระสงคร์ บี ดว่ นดว้ ยความไม่แนใ่ จในชวี ิต ซงึ ประเพณีนีค้ งมี
สืบมาแตส่ มัยพทุ ธกาล ปจั จบุ ันไมป่ รากฏเป็นพธิ ใี หญ่ เพราะเปน็ การถวายด้วยสาเหตสุ ่วนตวั เฉพาะรายไป
ส่วนมากจะมีเจ้าภาพผู้ถวายเพียงคนเดยี วและเปน็ คนปว่ ยหนกั ทมี คี วามศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า

การประกอบพิธที างศาสนาในชว่ งพรรษากาลในประเทศไทย

แม้การเข้าพรรษาจะเป็นเรอื งของภิกษุ แต่พทุ ธศาสนิกชนก็ถอื เป็นโอกาสดีทีจะได้ทา่ บุญ รักษาศีล และช่าระจิตใจ
ให้ผ่องใส โดยการจัดเตรียมสิงของเพือน่าไปถวายแก่พระสงฆ์ทีจะจ่าพรรษา การตั้งใจรักษาศีล 5 หรือศีล 8 และ
ตง้ั ใจบา่ เพ็ญความดี เข้าวัดฟังธรรมตลอดพรรษากาล ซึงไม่เฉพาะแตช่ าวบ้านทัวไปเท่าน้ัน สถาบนั พระมหากษัตริย์
ก็ให้ความสา่ คญั กบั การเข้าพรรษาของพระสงฆเ์ ปน็ อย่างมากเชน่ กนั

พระราชพิธี

การพระราชพธิ ีบ่าเพ็ญพระราชกุศลเนอื งในวันเขา้ พรรษาน้ีมชี อื เรียกเป็นทางการวา่ พระราชพธิ ีทรง
บ่าเพญ็ พระราชกุศล เนืองในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเขา้ พรรษา ซงึ เดมิ กอ่ น พ.ศ. ๒๕๐๑ เรียกเพยี ง การ
พระราชพธิ ที รงบ่าเพ็ญพระราชกุศล เนอื งในวันเข้าพรรษา แต่หลงั จากทีทางคณะสงฆม์ ีการกา่ หนดให้เพิมวนั
อาสาฬหบูชาเป็นวันส่าคัญทางพระพุทธศาสนาอีกวันหนึง (กอ่ นหน้าวนั เข้าพรรษา ๑ วัน) ในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ แลว้
ส่านักพระราชวังจงึ ไดก้ ่าหนดเพิมการบ่าเพ็ญพระราชกุศลในวันอาสาฬหบูชาเพิมเติมขึ้นมาดว้ ยอกี วันหนงึ รวมเป็น
สองวัน

24

การพระราชพธิ นี ้โี ดยปกตมิ ี พระมหากษตั ริย์ไทยเป็นองค์ประธานในการพระราชพธิ บี า่ เพ็ญพระราชกุศลและ
บางครงั้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระบรมวงศานุวงศเ์ สด็จแทน โดยสถานทีประกอบพระราชพิธีหลักจะจัดใน
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดบวรนิเวศราชวรวหิ าร และภายในพระบรมมหาราชวงั การส่าคญั ของพระราชพิธคี ือ
การถวายพุ่มเทยี นเครืองบูชาแก่พระพุทธปฏมิ าและพระราชาคณะ รวมท้ังการพระราชทานภตั ตาหารแก่พระราชา
คณะ ฐานานุกรม เปรยี ญ ซึงรบั อาราธนามารับบิณฑบาตในพระบรมมหาราชวังจา่ นวน 150 รปู ในวนั เข้าพรรษา
ทุกปีเป็นตน้ ซงึ การพระราชพิธีนีเ้ ป็นการแสดงออกถึงพระราชศรทั ธาอันแนน่ แฟ้นในพระพทุ ธศาสนา ขององค์
พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยผู้ทรงเป็นเอกอัครพทุ ธศาสนูปถัมภก์มาตง้ั แต่อดีตจนถงึ ปัจจุบนั

พิธีสามัญ
ประเพณีแห่เทยี นพรรษา อบุ ลราชธานี

เมอื ถึงวนั เข้าพรรษา พุทธศาสนกิ ชนนยิ มไปท่าบุญตกั บาตร ถวายเทียนพรรษา ถวายผา้ อาบน่้าฝน โดย
มักจะจดั เครอื งสักการะเช่น ดอกไม้ ธปู เทยี น เครืองใช้ เช่น สบู่ ยาสฟี ัน เปน็ ตน้ มาถวายพระภิกษุ สามเณร หรือมี
การช่วยพระท่าความสะอาดเสนาสนะ ซ่อมแซมกฏุ ิวิหารและอนื ๆ โดยนิยมไปรว่ มทา่ บุญตักบาตร ฟังเทศน์ ฟัง
ธรรมและรักษาอุโบสถศลี กนั ทวี ดั บางคนอาจตงั้ ใจงดเวน้ อบายมุขตา่ งๆ เป็นกรณีพิเศษ เช่น งดเสพสรุ า งดฆ่าสัตว์
เป็นตน้ ซึงพอสรปุ กจิ ทีพทุ ธศาสนกิ ชนพงึ ปฏิบัติในพรรษากาลได้ดังน้ี

๑.ร่วมกจิ กรรมท่าเทียนพรรษาหรือหลอดไฟถวายแก่พระสงฆ์
๒.ร่วมกจิ กรรมถวายผ้าอาบน้่าฝน และจตปุ จั จยั แก่ภกิ ษุสามเณร
๓.ร่วมท่าบญุ ตกั บาตร ฟงั พระธรรมเทศนา รักษาอโุ บสถศีล ตลอดพรรษากาล
๔.อธิษฐานตงั้ ใจท่าความดี หรืองดการทา่ ชวั อย่างหนงึ อยา่ งใด เช่น งดเว้นอบายมุขต่าง ๆ เปน็ ตน้

วันเข้าพรรษาในประเทศอ่ืน ๆ

ในปจั จบุ ัน มพี ระสงฆ์จากประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะพระสงฆ์จากประเทศไทย พม่า ศรีลังกา และบางส่วน
ของญีปุ่น จะไปท่าพิธีวันเข้าพรรษาทีประเทศอินเดียและประเทศเนปาล ในสถานทีต่าง ๆ เช่น พุทธคยา เมือง
ราชคฤห์ สารนาถ เมืองกุสินารา สวนลุมพินี เมืองกบิลพัสดุ์ เมืองสาวัตถี และกรุงนิวเดลี เป็นต้นขณะเดียวกันใน
ส่วนอืน ๆ ของประเทศอินเดีย ต่างก็ถือว่าวันเข้าพรรษาเป็นวันเริมต้นการถือศีลและปฏิบัติธรรมไปจนครบ 3
เดือน และก่าหนดให้วันเข้าพรรษาให้เป็นวันเริมการท่าความดีเช่นเดียวกัน ส่าหรับในประเทศอินเดียน้ัน ไม่ได้
ก่าหนดให้วันเข้าพรรษาและวันอาสาฬหบูชาเป็นวันหยุดราชการทัวประเทศเหมือนกับวันวิสาขบูชาส่วนประเทศ
อืน ๆ นอกจากน้ี กไ็ มไ่ ดใ้ หค้ วามสา่ คญั กับวันเขา้ พรรษาและวนั อาสาฬหบชู าใหเ้ ทา่ เทียมกับวันวสิ าขบูชาดว้ ย


Click to View FlipBook Version